โครงการค่ายอนุรักษ์และพัฒนาสิ่งแวดล้อม
ส่วนที่ 1 หน่วยงานที่รับผิดชอบ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ » คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบสิ่งแวดล้อม
ส่วนที่ 2 สรุปผลการดำเนินการ
คณะได้ดำเนินการส่งเสริมให้เกิดการเรียนรู้จากการฝึกปฏิบัติจริงในการพัฒนาคุณภาพสิ่งแวดล้อม สร้างความสามัคคีและความเป็นเอกภาพในหมู่คณะของนักศึกษาคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ฯ ตลอดจนเสริมสร้างคุณลักษณะของบัณฑิตที่พึงประสงค์ด้านความตระหนักในเรื่องสิ่งแวดล้อม ดังนี้
1. นักศึกษาและศิษย์เก่า ได้มีการเพิ่มพูนความรู้และประสบการณ์จากการฝึกปฏิบัติจริงในการพัฒนาคุณภาพสิ่งแวดล้อม
2. นักศึกษาเกิดความตระหนักในเรื่องสิ่งแวดล้อม และการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
3. นักศึกษาสามารถนำเอาประสบการณ์การเรียนรู้ จากการศึกษาที่เน้นประสบการณ์ในพื้นที่จริงไปประยุกต์ใช้สำหรับวิชาชีพของตนเองได้ ทั้งในการออกแบบและวางผังพื้นที่ที่คำนึงถึงสิ่งแวดล้อมเป็นสำคัญ
4. เกิดการเรียนรู้แบบบูรณาการ รูปแบบกระบวนการเรียนรู้และแหล่งเรียนรู้นอกห้องเรียนที่เหมาะสม และยืดหยุ่น
5. นักศึกษามีคุณลักษณะของบัณฑิตที่พึงประสงค์ เก่ง ดี และมีความสุข ด้านความตระหนักในเรื่องการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
6. เกิดเครือข่ายและโอกาสในการเพิ่มพูนความรู้และประสบการณ์วิชาการและวิชาชีพ ระหว่างคณาจารย์และนักศึกษา คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ฯ เจ้าหน้าที่มูลนิธิไทยรักษ์ป่า ครูและนักเรียนโรงเรียนบ้านโป่งน้อย เจ้าหน้าที่อุทยานแห่งชาติดอยสุเทพ-ดอบปุย และอาสาสมัครชมรมสื่อความหมาย
7. นักศึกษาเกิดความสามัคคีและความเป็นเอกภาพในหมู่คณะของนักศึกษาคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ฯ
8. นักศึกษามีคุณลักษณะของบัณฑิตที่พึงประสงค์ เก่ง ดี และมีความสุข ด้านความตระหนักในเรื่องการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม อาสาพัฒนาและบำเพ็ญประโยชน์
9. นักศึกษามีทักษะชีวิต ทักษะทางสังคม มีปัญญา มีคุณธรรม และความเป็นผู้นำ

ส่วนที่ 3 ความสำเร็จตามวัตถุประสงค์โครงการ
ลำดับวัตถุประสงค์ความสำเร็จ
1 เพื่อเสริมสร้างคุณลักษณะของบัณฑิตที่พึงประสงค์ด้านความตระหนักในเรื่องสิ่งแวดล้อม คณะได้ดำเนินการเสริมสร้างคุณลักษณะของบัณฑิตที่พึงประสงค์ด้านความตระหนักในเรื่องสิ่งแวดล้อม
2 เพื่อสร้างความสามัคคีและความเป็นเอกภาพในหมู่คณะของนักศึกษาคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ฯ คณะได้ดำเนินการสร้างความสามัคคีและความเป็นเอกภาพในหมู่คณะของนักศึกษาคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ฯ
ส่วนที่ 4 รายงานผลความสำเร็จตามเป้าหมายตัวชี้วัด
ผลผลิตที่ 1 : ผลการจัดโครงการค่ายอนุรักษ์และพัฒนาสิ่งแวดล้อมบูรณาการ
ตัวชี้วัดประเภทหน่วยนับเป้าหมายผลลัพธ์ความสำเร็จ
1. ร้อยละความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมกิจกรรม เชิงคุณภาพ ร้อยละ 90 90 100
2. จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม เชิงปริมาณ คน 100 100 100
3. ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจและตระหนักในเรื่องสิ่งแวดล้อมเพิ่มขึ้น เชิงคุณภาพ ร้อยละ 80 80 100
รวม      100.00
ร้อยละความสำเร็จของการดำเนินโครงการตามตัวชี้วัดมีค่าเท่ากับ 100.00
ส่วนที่ 5 ช่วงวันที่ดำเนินงาน
ช่วงเวลาตามแผน ช่วงเวลาดำเนินงานตามจริง
03/06/2556  - 30/09/2556 22/06/2556  - 23/06/2556
ส่วนที่ 6 ภาพประกอบการทำโครงการ