โครงการ บ้านจันทร์ (The small farm) โครงการต่อเนื่องการเก็บรักษาเมล็ดพันธุ์และการปศุสัตว์
ส่วนที่ 1 หน่วยงานที่รับผิดชอบ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ » สำนักงานมหาวิทยาลัย » กองพัฒนานักศึกษา
ส่วนที่ 2 สรุปผลการดำเนินการ
ผลการดำเนินงานโครงการ บ้านจันทร์ (The small farm) โครงการต่อเนื่องการเก็บรักษาเมล็ดพันธุ์และการปศุสัตว์ ประจำปี 2556 โดยมีผู้เข้าร่วมกิจกรรม นักศึกษา มาร่วมกิจกรรม จำนวน 100 คน ทั้งนี้ผลที่เกิดขึ้นเป็นการสร้างผู้นำนักศึกษา และนักประชาสัมพันธ์ขององค์การนักศึกษา มหาวิทยาลัยแม่โจ้เพิ่มมากขึ้น
การประเมินความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการ คิดเป็นร้อยละ 77.53 เเละมีข้อเสนอเเนะเพิ่มเติม คือ การประชาสัมพันธ์โครงการน้อย ทำให้นักศึกษาบางคนไม่ทราบรายละเอียดโครงการเท่าที่ควร การบรรลุวัตถุประสงค์ของโครงการ ผู้เข้าร่วมโครงการและสมาชิกในชุมชนในพื้นที่อำเภอกัลยาณิวัฒนาได้เรียนรู้วิธีการทำงานเป็นหมู่คณะ และรู้จักการช่วยเหลือผู้อื่นในเรื่องของการบำเพ็ญประโยชน์และรักษาสิ่งแวดล้อม เป็นพื้นฐานส่งเสริมการเรียนรู้วิถีการเกษตรตามแนวพระราชดำริ ในพื้นที่อำเภอกัลยาณิวัฒนา เเละเพื่อเป็นการเผยแพร่ชื่อเสียงของมหาวิทยาลัยแม่โจ้ให้เป็นที่รู้จักในด้านการบำเพ็ญประโยชน์ และรักษาสิ่งเเวดล้อม อยู่ในระดับมาก คิดเป็นร้อยละ 82.78
ส่วนที่ 3 ความสำเร็จตามวัตถุประสงค์โครงการ
ลำดับวัตถุประสงค์ความสำเร็จ
1 เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการและสมาชิกในชุมชนในพื้นที่อำเภอกัลยาณิวัฒนาได้เรียนรู้วิธีการทำงานเป็นหมู่คณะและรู้จักการช่วยเหลือผู้อื่นในเรื่องของการบำเพ็ญประโยชน์และรักษาสิ่งแวดล้อม ผู้เข้าร่วมโครงการและสมาชิกในชุมชนในพื้นที่อำเภอกัลยาณิวัฒนาได้เรียนรู้วิธีการทำงานเป็นหมู่คณะ และรู้จักการช่วยเหลือผู้อื่นในเรื่องของการบำเพ็ญประโยชน์และรักษาสิ่งแวดล้อม คิดเป็นร้อยละ 67
2 เพื่อเป็นฐานส่งเสริมการเรียนรู้วิถีการเกษตรตามแนวพระราชดำริ ในพื้นที่อำเภอกัลยาณิวัฒนา เป็นพื้นฐานส่งเสริมการเรียนรู้วิถีการเกษตรตามแนวพระราชดำริ ในพื้นที่อำเภอกัลยาณิวัฒนา คิดเป็นร้อยละ 97.67
3 เพื่อเป็นการเผยแพร่ชื่อเสียงของมหาวิทยาลัยแม่โจ้ให้เป็นที่รู้จักในด้านการบำเพ็ญประโยชน์และรักษาสิ่งแวดล้อม เป็นการเผยแพร่ชื่อเสียงของมหาวิทยาลัยแม่โจ้ให้เป็นที่รู้จักในด้านการบำเพ็ญประโยชน์ และรักษาสิ่งเเวดล้อม คิดเป็นร้อยละ 83.67
ส่วนที่ 4 รายงานผลความสำเร็จตามเป้าหมายตัวชี้วัด
ผลผลิตที่ 1 : 1. นักศึกษามีการเรียนรู้วิธีการทำงานเป็นหมู่คณะและช่วยเหลือผู้อื่นด้านการบำเพ็ญประโยชน์ การอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมและรักษาสิ่งแวดล้อมแก่ชุมชน 2. มีฐานส่งเสริมการเรียนรู้วิถีการเกษตรตามแนวพระราชดำริ ในพื้นที่อำเภอกัลยาณิวัฒนา 3.นักศึกษามหาวิทยาลัยแม่โจ้เป็นที่ยอมรับของชุมชนในด้านการบำเพ็ญประโยชน์และรักษาสิ่งแวดล้อม
ตัวชี้วัดประเภทหน่วยนับเป้าหมายผลลัพธ์ความสำเร็จ
1. ค่าใช่จ่ายในการจัดโครงการ
เชิงต้นทุน บาท 70000 70000 100
2. ร้อยละโครงการแล้วเสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
เชิงเวลา ร้่อยละ 80 80 100
3. จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
เชิงปริมาณ ร้อยละ 100 100 100
4. ร้อยละความพึงพอใจของชุมชนในการทำงานของนักศึกษามหาวิทยาลัยแม่โจ้
เชิงคุณภาพ ร้่อยละ 80 80 100
5. ร้อยละความพึงพอใจในคุณภาพของฐานเรียนรู้ด้านการเกษตร
เชิงคุณภาพ ร้่อยละ 80 80 100
รวม      100.00
ร้อยละความสำเร็จของการดำเนินโครงการตามตัวชี้วัดมีค่าเท่ากับ 100.00
ส่วนที่ 5 ช่วงวันที่ดำเนินงาน
ช่วงเวลาตามแผน ช่วงเวลาดำเนินงานตามจริง
22/03/2556  - 30/06/2556 22/03/2556  - 30/06/2556
ส่วนที่ 6 ภาพประกอบการทำโครงการ