โครงการไหว้ครูดนตรีไทยและนาฏศิลป์ ประจำปี 2568
ส่วนที่ 1 หน่วยงานที่รับผิดชอบ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ » สำนักงานมหาวิทยาลัย » กองส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม
ส่วนที่ 2 สรุปผลการดำเนินการ
27 กุมภาพันธ์ 2568 งานอนุรักษ์สืบสานศิลปวัฒนธรรม กองส่งเสริมศิลปวัฒนธรรมจัดพิธีไหว้ครูดนตรีและนาฏศิลป์ ประจำปี 2568 ณ อาคารเรือนชีวะ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ โดยมีผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ประภากร ธาราฉาย รักษาการแทนรองอธิการบดี เป็นประธานในพิธี พร้อมด้วยผู้อำนวยการกองส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม หัวหน้างาน บุคลากร นักศึกษา ร่วมพิธีทางศาสนา พระสงฆ์เทศนาธรรมปารมีปันจั๊น 1 กันฑ์ โดยท่านพระครูจันทสรการ เจ้าอาวาสวัดทุ่งหมื่นน้อย ต.หนองหาร อ.สันทราย จ.เชียงใหม่ และพิธีบวงสรวงแบบพื้นเมืองล้านนาโดยครูอาทิตย์ วงศ์สว่าง ถวายเครื่องเซ่นไหว้ประกอบพิธีไหว้ครูดนตรี-นาฏศิลป์และสล่าล้านนาพร้อมแสดงและรำถวายและเจิมหน้าผากบรรดาลูกศิษย์เป็นลำดับ

พิธีไหว้ครูดนตรีไทยและนาฏศิลป์จัดขึ้นทุกปีเพื่อเป็นการขอขมาลาโทษและยังเป็นการแสดงถึงความกตัญญูกตเวทีแก่ครูบาอาจารย์ที่ได้มอบวิชาความรู้ได้ไปใช้ในการประกอบอาชีพหรือการแสดงอีกทั้งยังเป็นการพบปะกันระหว่างครูบาอาจารย์ ศิษย์เก่า และศิษย์ปัจจุบัน ได้พูดคุยแลกเปลี่ยนทักษะการแสดงเพื่อพัฒนาทักษะฝีมือศิลปะทางด้านการแสดงตนเองต่อไป
ส่วนที่ 3 ความสำเร็จตามวัตถุประสงค์โครงการ
ลำดับวัตถุประสงค์ความสำเร็จ
1 ได้ยกย่อง อนุรักษ์ และรักษา ประเพณีอันเป็นวัฒนธรรมอันดีของไทยไว้ให้ยืนยงต่อไป ได้ยกย่อง อนุรักษ์ และรักษา ประเพณีอันเป็นวัฒนธรรมอันดีของไทยไว้ให้ยืนยงต่อไป
2 เพื่อเปิดโอกาสให้นักศึกษา ประชาชนที่สนใจที่จะเรียนรู้ฝึกหัดดนตรีไทยและนาฏศิลป์ได้เข้าร่วมพิธีไหวค้รูตามขนบธรรมเนียมประเพณีที่ได้ปฏิบติกันมา ได้เปิดโอกาสให้นักศึกษา ประชาชนที่สนใจที่จะเรียนรู้ฝึกหัดดนตรีไทยและนาฏศิลป์ได้เข้าร่วมพิธีไหวค้รูตามขนบธรรมเนียมประเพณีที่ได้ปฏิบติกันมา
3 เพื่อสร้างความเป็นน้ำหน่ึงใจเดียวกันระหว่างนักศึกษา ที่มีความสามารถหรือสนใจด้านดนตรีไทยนาฏศิลป์ ได้สร้างความเป็นน้ำหน่ึงใจเดียวกันระหว่างนักศึกษา ที่มีความสามารถหรือสนใจด้านดนตรีไทยนาฏศิลป์
ส่วนที่ 4 รายงานผลความสำเร็จตามเป้าหมายตัวชี้วัด
ผลผลิตที่ 1 : โครงการไหว้ครูดนตรีไทยและนาฏศิลป์ ประจำปี 2568
ตัวชี้วัดประเภทหน่วยนับเป้าหมายผลลัพธ์ความสำเร็จ
1. จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
เชิงปริมาณ คน 70 0.00
2. ระดับความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมกิจกรรมต่อการแสดงออกในทางสร้างสรรค์และเผยแพร่ศิลปวัฒนธรรม เชิงคุณภาพ ระดับ 3 0.00
3. จำนวนองค์ความรู้ด้านศิลปและวัฒนธรรมที่ได้เผยแพร่
เชิงคุณภาพ องค์ความรู้ 2 0.00
รวม      0.00
ร้อยละความสำเร็จของการดำเนินโครงการตามตัวชี้วัดมีค่าเท่ากับ 0.00
ส่วนที่ 5 ช่วงวันที่ดำเนินงาน
ช่วงเวลาตามแผน ช่วงเวลาดำเนินงานตามจริง
20/02/2568  - 31/03/2568 27/02/2568  - 27/02/2568
ส่วนที่ 6 ภาพประกอบการทำโครงการ