โครงการขับเคลื่อนการดำเนินงานมหาวิทยาลัยสีเขียว MJU Green University 2024 สู่ความยั่งยืน
ส่วนที่ 1 หน่วยงานที่รับผิดชอบ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ » สำนักงานมหาวิทยาลัย » กองกายภาพและสิ่งแวดล้อม
ส่วนที่ 2 สรุปผลการดำเนินการ
ยังไม่มีข้อมูล
ส่วนที่ 3 ความสำเร็จตามวัตถุประสงค์โครงการ
ลำดับวัตถุประสงค์ความสำเร็จ
1 1. เพื่อขับเคลื่อนการดำเนินงานมหาวิทยาลัยสีเขียว (Green University) ของมหาวิทยาลัยแม่โจ้ และสนับสนุนการดำเนินงาน โดยให้มีคะแนนการจัดอันดับ Green University Ranking สูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง ตามเป้าหมายที่กำหนด ยังไม่มีข้อมูล
2 2. เพื่อส่งเสริม สนับสนุนให้ทุกส่วนงานมีส่วนร่วมในการขับเคลื่อนการดำเนินงานมหาวิทาลัยสีเขียว (Green University) ตามบริบทของส่วนงาน ยังไม่มีข้อมูล
3 3. เพื่อดำเนินการจัดเก็บข้อมูล การรายงานข้อมูลการประเมินมหาวิทยาลัยสีเขียว ประจำปี 2567 ยังไม่มีข้อมูล
ส่วนที่ 4 รายงานผลความสำเร็จตามเป้าหมายตัวชี้วัด
ผลผลิตที่ 1 : 1. คะแนนการจัดอันดับ Green University สูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง
ตัวชี้วัดประเภทหน่วยนับเป้าหมายผลลัพธ์ความสำเร็จ
1. กิจกรรมขับเคลื่อน MJU สู่ zero waste community และ SDG13 2024 (WS1, WS2, WS4 และ SDG13) กิจกรรมย่อย : การประกวดสื่อประชาสัมพันธ์ของนักศึกษาในการรณรงค์เรื่องการจัดการขยะในมหาวิทยาลัย ตัวชี้วัด สื่อประชาสัมพันธ์
เชิงปริมาณ ชิ้น 20 0.00
2. กิจกรรม : ปรับปรุงจุดทิ้งขยะให้ถูกสุขอนามัย และส่งเสริม สนับสนุนการคัดแยกขยะตั้งแต่ต้นทาง (WS4 และ WS5) ตัวชี้วัด ร้อยละของแหล่งกำเนิดขยะอันตราย มีการคัดแยกขยะอันตรายอย่างถูกประเภท เชิงคุณภาพ ร้อยละ 85 0.00
3. กิจกรรม : บริหารจัดการระบบสำรองน้ำทิ้งและการนำไปใช้ประโยชน์ (WS6) ตัวชี้วัด จำนวนจุดนำน้ำเสียกลับมาใช้ประโยชน์ภายในมหาวิทยาลัย
เชิงปริมาณ จุด 3 0.00
4. กิจกรรมขับเคลื่อน MJU สู่ zero waste community และ SDG13 2024 กิจกรรมย่อย : การประกวดสื่อประชาสัมพันธ์ของนักศึกษาในการรณรงค์เรื่องการจัดการขยะในมหาวิทยาลัย (WS1, WS2, WS4 และ SDG13) ตัวชี้วัด ปริมาณขยะแยกได้และนำกลับมารีไซเคิลเพิ่มขึ้น
เชิงปริมาณ ร้อยละ 5 0.00
5. กิจกรรมขับเคลื่อน MJU สู่ zero waste community และ SDG13 2024 กิจกรรมย่อย : การเสวนารูปแบบ hybrid แบบ onsite ผสม online (WS1, WS2, WS4 และ SDG13) ตัวชี้วัด จำนวนบุคลากรและนักศึกษาเข้าร่วมโครงการ
เชิงปริมาณ คน 200 0.00
6. กิจกรรม : การติดตามผล ประมวลผล การสื่อสาร และสรุปการดำเนินงาน MJU Green University (ED7) ตัวชี้วัด ข้อมูลรายงานการดำเนินงาน Green University ปี 2024
เชิงปริมาณ ชุด 1 0.00
7. กิจกรรมขับเคลื่อน MJU สู่ zero waste community และ SDG13 2024 กิจกรรมย่อย : การประกวดสื่อประชาสัมพันธ์ของนักศึกษาในการรณรงค์เรื่องการจัดการขยะในมหาวิทยาลัย (WS1, WS2, WS4 และ SDG13) ตัวชี้วัด ความพึงพอใจของนักศึกษาและบุคลากรในการใช้งาน recycle station
เชิงคุณภาพ ร้อยละ 70 0.00
8. กิจกรรมขับเคลื่อน MJU สู่ zero waste community และ SDG13 2024 กิจกรรมย่อย : การประกวดสื่อประชาสัมพันธ์ของนักศึกษาในการรณรงค์เรื่องการจัดการขยะในมหาวิทยาลัย (WS1, WS2, WS4 และ SDG13) ตัวชี้วัด จำนวนนักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการ
เชิงปริมาณ คน 20 0.00
9. กิจกรรม : ทดลองเดินระบบการจัดการขยะมูลฝอยแบบครบวงจร อาคารเรียนและปฏิบัติการเทคโนโลยีจัดการขยะมูลฝอย (WS3, WS4 และ WS5) ตัวชี้วัด ข้อมูลรายงานการจัดการขยะมูลฝอยของมหาวิทยาลัยแม่โจ้แบบครบวงจร เชิงปริมาณ ชุด 1 0.00
10. กิจกรรม : บริหารจัดการระบบสำรองน้ำทิ้งและการนำไปใช้ประโยชน์ (WR2) ตัวชี้วัด ร้อยละของการนำน้ำทิ้งไปใช้ประโยชน์ในเชิงเกษตรกรรม เชิงคุณภาพ ร้อยละ 85 0.00
11. กิจกรรม : การติดตามผล ประมวลผล การสื่อสาร และสรุปการดำเนินงาน MJU Green University (ED7) ตัวชี้วัด ร้อยละความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมการสรุปการดำเนินงาน และแลกเปลี่ยนเรียนรู้เกี่ยวกับ Green University ประจำปี 2023
เชิงคุณภาพ ร้อยละ 80 0.00
12. กิจกรรมขับเคลื่อน MJU สู่ zero waste community และ SDG13 2024 กิจกรรมย่อย : การเสวนารูปแบบ hybrid แบบ onsite ผสม online (WS1, WS2, WS4 และ SDG13) ตัวชี้วัด ร้อยละของบุคลากรและนักศึกษาที่มีความเข้าใจเกี่ยวกับ zero waste และ SDG13 เพิ่มขึ้นหรือในระดับดี
เชิงคุณภาพ ร้อยละ 70 0.00
13. กิจกรรมขับเคลื่อน MJU สู่ zero waste community และ SDG13 2024 กิจกรรมย่อย : การประกวดสื่อประชาสัมพันธ์ของนักศึกษาในการรณรงค์เรื่องการจัดการขยะในมหาวิทยาลัย (WS1, WS2, WS4 และ SDG13)ตัวชี้วัด จำนวนผู้ติดตาม จำนวนผู้เข้าชม
เชิงปริมาณ กลุ่ม 20 0.00
14. กิจกรรม : ทดลองเดินระบบการจัดการขยะมูลฝอยแบบครบวงจร อาคารเรียนและปฏิบัติการเทคโนโลยีจัดการขยะมูลฝอย (WS3, WS4 และ WS5) ตัวชี้วัด ร้อยละของการจัดการขยะมูลฝอยของมหาวิทยาลัยแม่โจ้แบบครบวงจร และถูกต้องตามหลักวิชาการ
เชิงคุณภาพ ร้อยละ 85 0.00
15. กิจกรรม : ปรับปรุงจุดทิ้งขยะให้ถูกสุขอนามัย และส่งเสริม สนับสนุนการคัดแยกขยะตั้งแต่ต้นทาง (WS4 และ WS5) ตัวชี้วัด ร้อยละของความเพียงพอในการรองรับขยะอันตรายภายในมหาวิทยาลัย เชิงปริมาณ ร้อยละ 95 0.00
รวม      0.00
ผลผลิตที่ 2 : 2. ทุกส่วนงานมีส่วนร่วมขับเคลื่อนการดำเนินงาน Green University ของมหาวิทยาลัย
ตัวชี้วัดประเภทหน่วยนับเป้าหมายผลลัพธ์ความสำเร็จ
1. กิจกรรม : ปั่น ลดคาร์บอน (TR3) ตัวชี้วัด จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม
เอกสารประกอบตัวชี้วัด
- ปั่นลดคาร์บอน.pdf
เชิงปริมาณ คน 300 0.00
รวม      0.00
ร้อยละความสำเร็จของการดำเนินโครงการตามตัวชี้วัดมีค่าเท่ากับ 0.00
ส่วนที่ 5 ช่วงวันที่ดำเนินงาน
ช่วงเวลาตามแผน ช่วงเวลาดำเนินงานตามจริง
01/08/2567  - 31/03/2568 ยังไม่มีข้อมูล  - ยังไม่มีข้อมูล
ส่วนที่ 6 ภาพประกอบการทำโครงการ