โครงการแนะแนวอาชีพ (ToBiz Career)
ส่วนที่ 1 หน่วยงานที่รับผิดชอบ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ » คณะพัฒนาการท่องเที่ยว
ส่วนที่ 2 สรุปผลการดำเนินการ
หลักสูตรฯ จึงได้มีการจัดกิจกรรมเพื่อเสริมสร้างทักษะและสมรรถนะการเป็นผู้ประกอบในอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวและบริการ โดยการแนะแนวอาชีพให้กับนักศึกษาตลอดทั้ง 4 ชั้นปี เพื่อให้นักศึกษาค้นหาตัวเอง ค้นหาอาชีพ และค้นพบเป้าหมายในชีวิตของตัวเอง และส่งเสริมให้เกิดการมีงานทำของนักศึกษาในอนาคต รายงานผลโครงการที่แนบมาพร้อมนี้
ส่วนที่ 3 ความสำเร็จตามวัตถุประสงค์โครงการ
ลำดับวัตถุประสงค์ความสำเร็จ
1 เพื่อส่งเสริมและสร้างความสัมพันธ์ระหว่างมหาวิทยาลัยกับสถานประกอบการ ได้ส่งเสริมและสร้างความสัมพันธ์ระหว่างมหาวิทยาลัยกับสถานประกอบการ ผ่านการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ
ส่วนที่ 4 รายงานผลความสำเร็จตามเป้าหมายตัวชี้วัด
ผลผลิตที่ 1 : นักศึกษาได้รับคำชี้แนะสำหรับการฝึกประสบการณ์การทำงานและมีโอกาสในการได้งานทำหลังสำเร็จการศึกษาเพิ่มขึ้น ตลอดจนหลักสูตรมีความสัมพันธ์อันดีกับสถานประกอบการ
ตัวชี้วัดประเภทหน่วยนับเป้าหมายผลลัพธ์ความสำเร็จ
1. ความพึงพอใจระดับ "ดี" ของนักศึกษาที่มีต่อกิจกรรม (กิจกรรม 4.1 ทดสอบสมรรถนะมาตรฐานฝีมือแรงงานของนักศึกษา)
เชิงคุณภาพ ร้อยละ 80 0.00
2. การเข้าร่วมของนักศึกษา (กิจกรรม 4.3.2 สัมมนาฝึกประสบการณ์วิชาชีพและปัจฉิมนิเทศก์)
เชิงปริมาณ ร้อยละ 80 0.00
3. ความพึงพอใจระดับ "ดี" ของนักศึกษาที่มีต่อกิจกรรม (กิจกรรม 4.4 เสวนาการเป็นผู้ประกอบการ vs ผู้ปฏิบัติงานในอุตสาหกรรมท่องเที่ยวและบริการ
เชิงคุณภาพ ร้อยละ 80 0.00
4. นักศึกษาได้ประยุกต์ใช้ความรู้จากหลักสูตรเพื่อการแข่งขัน (กิจกรรม 4.2 เข้าร่วมแข่งขันทักษะที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจท่องเที่ยวและบริการ)
เชิงคุณภาพ ร้อยละ 70 0.00
5. คณาจารย์นิเทศก์งานนักศึกษา ณ สถานประกอบการ (กิจกรรม 4.3.1 นิเทศก์งานนักศึกษา)
เชิงคุณภาพ ร้อยละ 80 0.00
6. นักศึกษาผ่านการทดสอบ (กิจกรรม 4.1 ทดสอบสมรรถนะมาตรฐานฝีมือแรงงานของนักศึกษา)
เชิงคุณภาพ ร้อยละ 70 0.00
7. ความพึงพอใจระดับ "ดี" ของนักศึกษาที่มีต่อกิจกรรม (กิจกรรม 4.3.2 สัมมนาฝึกประสบการณ์วิชาชีพและปัจฉิมนิเทศก์)
เชิงคุณภาพ ร้อยละ 80 0.00
8. ความพึงพอใจระดับ "ดี" ของนักศึกษาที่มีต่อกิจกรรม (กิจกรรม 4.2 เข้าร่วมแข่งขันทักษะที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจท่องเที่ยวและบริการ)
เชิงคุณภาพ ร้อยละ 80 0.00
9. การเข้าร่วมของนักศึกษา (กิจกรรม 4.4 เสวนาการเป็นผู้ประกอบการ vs ผู้ปฏิบัติงานในอุตสาหกรรมท่องเที่ยวและบริการ
เชิงปริมาณ ร้อยละ 80 0.00
10. ความพึงพอใจระดับ "ดี" ของนักศึกษาที่มีต่อกิจกรรม (กิจกรรม 4.3.1 นิเทศก์งานนักศึกษา)
เชิงคุณภาพ ร้อยละ 80 0.00
รวม      0.00
ร้อยละความสำเร็จของการดำเนินโครงการตามตัวชี้วัดมีค่าเท่ากับ 0.00
ส่วนที่ 5 ช่วงวันที่ดำเนินงาน
ช่วงเวลาตามแผน ช่วงเวลาดำเนินงานตามจริง
05/02/2567  - 30/09/2567 10/07/2567  - 04/09/2567
ส่วนที่ 6 ภาพประกอบการทำโครงการ