โครงการเสริมสร้างทักษะการให้คำปรึกษาและสังเกตอาการซึมเศร้า
ส่วนที่ 1 หน่วยงานที่รับผิดชอบ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ » สำนักงานมหาวิทยาลัย » กองพัฒนานักศึกษา
ส่วนที่ 2 สรุปผลการดำเนินการ
ได้เพิ่มทักษะและความรู้การดูแลการช่วยเหลือเบื้องต้นให้กับเครือข่ายเพื่อดูแลนักศึกษาในสังกัด และการได้แลกเปลี่ยนระหว่างสถาบันพร้อมได้ที่ปรึกษาในการทำระบบ การจัดการดูแล ป้องกัยช่วยเหลือและแก้ไขนักศึกษาที่มีปัญหาได้ทันเวลา
ส่วนที่ 3 ความสำเร็จตามวัตถุประสงค์โครงการ
ลำดับวัตถุประสงค์ความสำเร็จ
1 เพื่อให้นักศึกษาและบุคลากรได้รับทราบด้านทักษะการให้คำปรึกษา กระบวนการ การแก้ไขปัญหาด้านการเรียน และด้านคุณภาพชีวิตได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในการดำเนินชีวิตประจำวันได้ นักศึกษาและบุคลากรทอาจารย์ ได้รับช่องทาง กระบวนการแก้ไขได้อย่างถูกวิธี และนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้
2 เพื่อสร้างความร่วมมือและหาแนวทางในการพัฒนาศักยภาพของบุคลากร นักศึกษา ด้านการให้คำปรึกษา ให้เกิดความยั่งยืน ในระดับเครือข่ายของศูนย์การให้คำปรึกษา ได้เครือข่ายในการพัฒนากระบวนการด้านการให้คำปรึกษาให้เกิดความยั่งยืนและใช้ได้จริง
ส่วนที่ 4 รายงานผลความสำเร็จตามเป้าหมายตัวชี้วัด
ผลผลิตที่ 1 : นักศึกษาและบุคลากรได้รับความรู้และแนวทางการแก้ไขปัญหา และการส่งต่อ ด้านการเรียน และด้านคุณภาพชีวิตได้อย่างถูกต้องเหมาะสม สามารถนำไปประยุกต์ใช้ในการดำเนินชีวิตประจำวันได้
ตัวชี้วัดประเภทหน่วยนับเป้าหมายผลลัพธ์ความสำเร็จ
1. นักศึกษาและบุคลากรได้รับความรู้และแนวทางในการช่วยเหลือและแก้ไขปัญหาด้านการเรียนและด้านคุณภาพชีวิต
เชิงคุณภาพ ร้อยละ 80 0.00
2. จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
เชิงคุณภาพ ร้อยละ 80 0.00
รวม      0.00
ร้อยละความสำเร็จของการดำเนินโครงการตามตัวชี้วัดมีค่าเท่ากับ 0.00
ส่วนที่ 5 ช่วงวันที่ดำเนินงาน
ช่วงเวลาตามแผน ช่วงเวลาดำเนินงานตามจริง
08/06/2567  - 31/08/2567 01/08/2567  - 28/09/2567
ส่วนที่ 6 ภาพประกอบการทำโครงการ