โครงการเพิ่มศักยภาพการเรียนรู้ และส่งเสริมการจัดกิจกรรมของนักศึกษาหลักสูตรสถาปัตยกรรม (67-2.1.3)
ส่วนที่ 1 หน่วยงานที่รับผิดชอบ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ » คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบสิ่งแวดล้อม
ส่วนที่ 2 สรุปผลการดำเนินการ
คณะได้จัดโครงการพัฒนาศักยภาพนักศึกษา ดังนี้
1.การพัฒนาศักยภาพนักศึกษาร่วมกับเครือข่ายศิษย์เก่า ชุมชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เครือข่ายวิชาการ วิชาชีพ ( Criterion-4 Teaching and Learning Approach -stakeholder engagement)
2.การบูรณาการ การเรียนการสอน ร่วมกับงานวิจัย บริการวิชาการ หรือการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมและเสริมทักษะ 4.0 บางประเด็น (Project based/Area based)
3.การพัฒนานักศึกษาระดับปริญญาตรีให้มีทักษะตามเกณฑ์ ศตวรรษที่ 21 (ผ่านกระบวนการเรียนการสอน / โครงการกิจกรรมระดับคณะ/ ร่วมบริการ)
4.การพัฒนาศักยภาพอาจารย์ประจำที่มีคุณสมบัติเป็นอาจารย์ประจำหลักสูตร(คุณวุฒิตรง / ผลงานวิชาการ) (Criterion-6 Academic Staff Quality/ MJU) ประกอบด้วย คณาจารย์ มีจำนวนผลงานวิจัย ผลงานสร้างสรรค์ผลงานออกแบบ ที่ได้รับรางวัล / การยกย่อง (Criteria-6 Academic Staff Quality / MJU-Incentive)
5.การสร้างผลงานการออกแบบและงานสร้างสรรค์ที่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ GO Eco U.
6.การส่งเสริมประสบการณ์เรียนรู้ให้แก่ผู้เรียนได้มีกิจกรรมเสริมการเรียนรู้ด้นวิชาชีพ ด้วยการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ รูปแบบกระบวนการเรียนรู้และแหล่งเรียนรู้ที่เหมาะสม ยืดหยุ่น และคำนึงถึงความสามารถเฉพาะตัวของนักศึกษาโดยมุ่งเน้นองค์ความรู้ด้านการตระหนักถึงนิเวศแวดล้อม และการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน
7.การพัฒนาคุณภาพของนักศึกษาและบัณฑิตทุกระดับการศึกษาตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ ด้านให้มีความคิดสร้างสรรค์ และวิสัยทัศน์ที่กว้างไกล ตามคุณลักษณะของบัณฑิตที่พึงประสงค์ (Good Designer) โดยเน้นประสบการณ์ด้านสิ่งแวดล้อม ผังเมือง ภูมิทัศน์ สถาปัตยกรรม วัฒนธรรม ด้วยการเรียนรู้จากสภาพความเป็นจริงในภูมิภาคต่าง ๆ
8.การพัฒนาคุณภาพของนักศึกษาและบัณฑิตของ ทุกหลักสูตร ให้ดียิ่งขึ้นและสอดคล้องกับความต้องการของตลาด
ส่วนที่ 3 ความสำเร็จตามวัตถุประสงค์โครงการ
ลำดับวัตถุประสงค์ความสำเร็จ
1 เพื่อพัฒนาศักยภาพนักศึกษาร่วมกับเครือข่ายศิษย์เก่า ชุมชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เครือข่ายวิชาการ วิชาชีพ ( Criterion-4 Teaching and Learning Approach -stakeholder engagement) คณะได้จัดโครงการพัฒนาศักยภาพนักศึกษาร่วมกับเครือข่ายศิษย์เก่า ชุมชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เครือข่ายวิชาการ วิชาชีพ ( Criterion-4 Teaching and Learning Approach -stakeholder engagement)
2 เพื่อบูรณาการ การเรียนการสอน ร่วมกับงานวิจัย บริการวิชาการ หรือการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมและเสริมทักษะ 4.0 บางประเด็น (Project based/Area based) คณะได้จัดโครงการบูรณาการ การเรียนการสอน ร่วมกับงานวิจัย บริการวิชาการ หรือการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมและเสริมทักษะ 4.0 บางประเด็น (Project based/Area based)
3 เพื่อพัฒนานักศึกษาระดับปริญญาตรีให้มีทักษะตามเกณฑ์ ศตวรรษที่ 21 (ผ่านกระบวนการเรียนการสอน / โครงการกิจกรรมระดับคณะ/ ร่วมบริการ) คณะได้จัดโครงการพัฒนานักศึกษาระดับปริญญาตรีให้มีทักษะตามเกณฑ์ ศตวรรษที่ 21 (ผ่านกระบวนการเรียนการสอน / โครงการกิจกรรมระดับคณะ/ ร่วมบริการ)
4 เพื่อพัฒนาศักยภาพอาจารย์ประจำที่มีคุณสมบัติเป็นอาจารย์ประจำหลักสูตร(คุณวุฒิตรง / ผลงานวิชาการ) (Criterion-6 Academic Staff Quality/ MJU) ประกอบด้วย คณาจารย์ มีจำนวนผลงานวิจัย ผลงานสร้างสรรค์ผลงานออกแบบ ที่ได้รับรางวัล / การยกย่อง (Criteria-6 Academic Staff Quality / MJU-Incentive) คณะได้จัดโครงการพัฒนาศักยภาพอาจารย์ประจำที่มีคุณสมบัติเป็นอาจารย์ประจำหลักสูตร(คุณวุฒิตรง / ผลงานวิชาการ) (Criterion-6 Academic Staff Quality/ MJU) ประกอบด้วย คณาจารย์ มีจำนวนผลงานวิจัย ผลงานสร้างสรรค์ผลงานออกแบบ ที่ได้รับรางวัล / การยกย่อง (Criteria-6 Academic Staff Quality / MJU-Incentive)
5 เพื่อบูรณาการ การเรียนการสอน ร่วมกับงานวิจัย บริการวิชาการ หรือการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมและเสริมทักษะ 4.0 บางประเด็น (Project Based / Area based) คณะได้จัดโครงการบูรณาการ การเรียนการสอน ร่วมกับงานวิจัย บริการวิชาการ หรือการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมและเสริมทักษะ 4.0 บางประเด็น (Project Based / Area based)
6 เพื่อสร้างผลงานการออกแบบและงานสร้างสรรค์ที่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ GO Eco U. คณะได้จัดโครงการสร้างผลงานการออกแบบและงานสร้างสรรค์ที่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ GO Eco U.
7 เพื่อส่งเสริมประสบการณ์เรียนรู้ให้แก่ผู้เรียนได้มีกิจกรรมเสริมการเรียนรู้ด้นวิชาชีพ ด้วยการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ รูปแบบกระบวนการเรียนรู้และแหล่งเรียนรู้ที่เหมาะสม ยืดหยุ่น และคำนึงถึงความสามารถเฉพาะตัวของนักศึกษาโดยมุ่งเน้นองค์ความรู้ด้านการตระหนักถึงนิเวศแวดล้อม และการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน คณะได้จัดโครงการส่งเสริมประสบการณ์เรียนรู้ให้แก่ผู้เรียนได้มีกิจกรรมเสริมการเรียนรู้ด้นวิชาชีพ ด้วยการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ รูปแบบกระบวนการเรียนรู้และแหล่งเรียนรู้ที่เหมาะสม ยืดหยุ่น และคำนึงถึงความสามารถเฉพาะตัวของนักศึกษาโดยมุ่งเน้นองค์ความรู้ด้านการตระหนักถึงนิเวศแวดล้อม และการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน
8 เพื่อพัฒนาคุณภาพของนักศึกษาและบัณฑิตทุกระดับการศึกษาตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ ด้านให้มีความคิดสร้างสรรค์ และวิสัยทัศน์ที่กว้างไกล ตามคุณลักษณะของบัณฑิตที่พึงประสงค์ (Good Designer) โดยเน้นประสบการณ์ด้านสิ่งแวดล้อม ผังเมือง ภูมิทัศน์ สถาปัตยกรรม วัฒนธรรม ด้วยการเรียนรู้จากสภาพความเป็นจริงในภูมิภาคต่าง ๆ คณะได้จัดโครงการพัฒนาคุณภาพของนักศึกษาและบัณฑิตทุกระดับการศึกษาตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ ด้านให้มีความคิดสร้างสรรค์ และวิสัยทัศน์ที่กว้างไกล ตามคุณลักษณะของบัณฑิตที่พึงประสงค์ (Good Designer) โดยเน้นประสบการณ์ด้านสิ่งแวดล้อม ผังเมือง ภูมิทัศน์ สถาปัตยกรรม วัฒนธรรม ด้วยการเรียนรู้จากสภาพความเป็นจริงในภูมิภาคต่าง ๆ
9 เพื่อพัฒนาคุณภาพของนักศึกษาและบัณฑิตของ ทุกหลักสูตร ให้ดียิ่งขึ้นและสอดคล้องกับความต้องการของตลาด เพื่อพัฒนาคุณภาพของนักศึกษาและบัณฑิตของ ทุกหลักสูตร ให้ดียิ่งขึ้นและสอดคล้องกับความต้องการของตลาด
ส่วนที่ 4 รายงานผลความสำเร็จตามเป้าหมายตัวชี้วัด
ผลผลิตที่ 1 : ผลการเพิ่มศักยภาพการเรียนรู้ และส่งเสริมการจัดกิจกรรมของนักศึกษาหลักสูตรสถาปัตยกรรม
ตัวชี้วัดประเภทหน่วยนับเป้าหมายผลลัพธ์ความสำเร็จ
1. จำนวนรางวัลด้านการออกแบบที่ได้รับ
เชิงปริมาณ รางวัล 5 0.00
2. จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
เชิงปริมาณ คน 30 0.00
3. ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้และประสบการณ์เพิ่มขึ้น
เชิงคุณภาพ ร้อยละ 80 0.00
4. จำนวนผลงานสร้างสรรค์ / บทความวิจัย / รางวัลแบบประกวดของนักศึกษาที่ได้รับ
เชิงปริมาณ ผลงาน 5 0.00
รวม      0.00
ร้อยละความสำเร็จของการดำเนินโครงการตามตัวชี้วัดมีค่าเท่ากับ 0.00
ส่วนที่ 5 ช่วงวันที่ดำเนินงาน
ช่วงเวลาตามแผน ช่วงเวลาดำเนินงานตามจริง
02/10/2566  - 30/09/2567 28/10/2566  - 23/09/2567
ส่วนที่ 6 ภาพประกอบการทำโครงการ