โครงการครัวอิ่มอุ่น พี่เพื่อน้องแม่โจ้ ส่งเสริมทักษะชีวิตและการทำงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567
ส่วนที่ 1 หน่วยงานที่รับผิดชอบ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ » สำนักงานมหาวิทยาลัย » กองส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม
ส่วนที่ 2 สรุปผลการดำเนินการ
การดำเนินกิจกรรมภายใต้โครงการครัวอิ่มอุ่น พี่เพื่อน้องแม่โจ้ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 ภายใต้การกำกับดูแลของงานพิพิธภัณฑ์การเกษตรและวัฒนธรรมไทย ครัวอิ่มอุ่น พี่เพื่อน้องแม่โจ้ ได้เปิดให้บริการนักศึกษา เพื่อเป็นการช่วยเหลือนักศึกษาปัจจุบันที่มีฐานะยากจน ขัดสนและขาดแคลน ได้รับประทานอาหารบรรเทาความเดือดร้อน และช่วยเหลือแบ่งเบาภาระของผู้ปกครอง พร้อมนี้ยังสนับสนุนการดำเนินกิจกรรมต่าง ๆ ของมหาวิทยาลัย ระหว่างวันที่ 1 ตุลาคม 2566 – 30 กันยายน 2567 มีนักศึกษามาใช้บริการ จำนวนทั้งสิ้น 458 คน และได้ดำเนินจัดกิจกรรมภายใต้โครงการครัวอิ่มอุ่น พี่เพื่อน้องแม่โจ้ จำนวน 2 กิจกรรม ดังนี้ 1. ครัวอิ่มอุ่น พี่เพื่อน้องแม่โจ้ยินดีกับบัณฑิต “พี่และน้อง อิ่มท้องวันรับปริญญา” ประจำปี 2567 (ครั้งที่ 3) มีผู้เข้ารับบริการจำนวน 1,200 คน 2. กิจกรรมครัวอิ่มอุ่น พี่เพื่อน้องแม่โจ้ "รับขวัญน้อง อิ่มท้องสุขใจ" ประเพณีเดินวิ่ง แม่โจ้-สันทราย มีผู้เข้ารับบริการ จำนวน 2,500 คน
ส่วนที่ 3 ความสำเร็จตามวัตถุประสงค์โครงการ
ลำดับวัตถุประสงค์ความสำเร็จ
1 เพื่อเป็นการขับเคลื่อน MJU SDG 2 ZERO HUNGER ช่วยเหลือนักศึกษาขัดสน ขาดแคลนทุนทรัพย์ และประสบปัญหาครอบครัว ได้ช่วยแบ่งเบาภาระให้ผู้ปกครอง มีการขับเคลื่อน MJU SDG 2 ZERO HUNGER ช่วยเหลือนักศึกษาขัดสน ขาดแคลนทุนทรัพย์ และประสบปัญหาครอบครัว ได้ช่วยแบ่งเบาภาระให้ผู้ปกครอง
2 เพื่อสานสัมพันธ์อันดีและเสริมสร้างความร่วมมือระหว่างศิษย์เก่ากับมหาวิทยาลัยแสดงถึงอัตลักษณ์ลูกแม่โจ้ แสดงถึง "วัฒนธรรม" ที่มีรากเหง้าแห่งจิตวิญาณ เกิดการสานสัมพันธ์อันดีและเสริมสร้างความร่วมมือระหว่างศิษย์เก่ากับมหาวิทยาลัยแสดงถึงอัตลักษณ์ลูกแม่โจ้ แสดงถึง "วัฒนธรรม" ที่มีรากเหง้าแห่งจิตวิญาณ
3 เพื่อสนองยุทธศาสตร์และสนับสนุนมหาวิทยาลัยแม่โจ้สู่การเป็น มหาวิทยาลัยสีเขียว (Green University) และมหาวิทยาลัยชีวิต (Life University) สนองยุทธศาสตร์และสนับสนุนมหาวิทยาลัยแม่โจ้สู่การเป็น มหาวิทยาลัยสีเขียว (Green University) และมหาวิทยาลัยชีวิต (Life University)
4 ส่งเสริมนักศึกษาให้มีทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 ด้านการใช้ชีวิตและการทำงาน ได้ส่งเสริมให้นักศึกษามีทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 ด้านการใช้ชีวิตและการทำงาน
ส่วนที่ 4 รายงานผลความสำเร็จตามเป้าหมายตัวชี้วัด
ผลผลิตที่ 1 : ช่วยขจัดความหิวโหยนักศึกษาที่ขาดแคลนทุนทรัพย์ และสนับสนุนกิจกรรมของมหาวิทยาลัย
ตัวชี้วัดประเภทหน่วยนับเป้าหมายผลลัพธ์ความสำเร็จ
1. ความพึงพอใจของผู้ใช้บริการ
เชิงคุณภาพ ระดับ 4 0.00
2. จำนวนนักศึกษาที่มาใช้บริการ
เชิงปริมาณ คน 400 0.00
รวม      0.00
ร้อยละความสำเร็จของการดำเนินโครงการตามตัวชี้วัดมีค่าเท่ากับ 0.00
ส่วนที่ 5 ช่วงวันที่ดำเนินงาน
ช่วงเวลาตามแผน ช่วงเวลาดำเนินงานตามจริง
30/10/2566  - 30/09/2567 30/10/2567  - 30/09/2567
ส่วนที่ 6 ภาพประกอบการทำโครงการ