ทำบุญวันคล้ายวันสถาปนาคณะบริหารธุรกิจ
ส่วนที่ 1 หน่วยงานที่รับผิดชอบ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ » คณะบริหารธุรกิจ
ส่วนที่ 2 สรุปผลการดำเนินการ
การทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม, ประเพณีที่ดีงามของท้องถิ่นและอนุรักษ์ไว้ซึ่งทรัพยากรธรรมชาติ ถือเป็นพันธกิจสำคัญประการหนึ่งของคณะบริหารธุรกิจ ดังนั้น คณะฯ จึงต้องมีระบบและกลไกควบคุมการดำเนินงานด้านนี้ให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ และคุณภาพ เพื่อให้เกิดการพัฒนามาตรฐานการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม 5 ด้าน ได้แก่ มาตรฐานด้านนโยบาย ด้านการส่งเสริม ด้านการสนับสนุนด้านการสร้างมาตรฐาน และด้านการเผยแพร่ศิลปวัฒนธรรม และเชื่อมโยงความรู้ท้องถิ่นสู่สากล อันจะเป็นกลไกในการฟื้นฟู อนุรักษ์ สืบสาน พัฒนา เผยแพร่ศิลปวัฒนธรรม รวมทั้งสร้างสรรค์ส่งเสริมภูมิปัญญาไทยให้เป็นรากฐานการพัฒนาองค์ความรู้ที่ดีขึ้น

การทำบุญวันคล้ายวันสถาปนาคณะบริหารธุรกิจ เป็นโครงการที่จัดเป็นประจำทุกปี เพื่อสร้างความเป็นสิริมงคล เป็นที่ยึดเหนียวจิตใจในการทำงานร่วมกันของบุคลากรและนักศึกษา คณะบริหารธุรกิจ และเป็นการช่วยส่งเสริมศิลปวัฒนธรรมและศาสนาต่อไป

ภายในงานยังมีการร่วมมือร่วมใจของแต่ละสาขาวิชาที่ได้นำของหวาน อาหารคาว ในการสมทบทุนในกิจกรรมในครั้งนี้ และได้รับความร่วมมือจากอาจารย์ บุคลากรในคณะเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันในการจัดโครงการในครั้งนี้ เพื่อสร้างความเป็นสิริมงคลและความร่มเย็นเป็นสุขให้แก่ชาวคณะบริหารธุรกิจต่อไป
ส่วนที่ 3 ความสำเร็จตามวัตถุประสงค์โครงการ
ลำดับวัตถุประสงค์ความสำเร็จ
1 เพื่อให้นักศึกษา บุคลากร ศิษย์เก่า และบุคคลภายนอกมีความรู้ข้อมูลเรื่องภูมิปัญญา ท้องถิ่นของล้านนาไทย นักศึกษา บุคลากร ศิษย์เก่า และบุคคลภายนอกมีความรู้ข้อมูลเรื่องภูมิปัญญา ท้องถิ่นของล้านนาไทย
2 เพื่อให้นักศึกษา บุคลากร ศิษย์เก่า และบุคคลภายนอกปลูกฝังการทำนุบำรุงศิลปะ และวัฒนธรรมอันดี นักศึกษา บุคลากร ศิษย์เก่า และบุคคลภายนอกปลูกฝังการทำนุบำรุงศิลปะ และวัฒนธรรมอันดี
3 เพื่อให้นักศึกษา บุคลากร ศิษย์เก่า และบุคคลภายนอกได้มีส่วนร่วมในประเพณีของไทย นักศึกษา บุคลากร ศิษย์เก่า และบุคคลภายนอกได้มีส่วนร่วมในประเพณีของไทย
ส่วนที่ 4 รายงานผลความสำเร็จตามเป้าหมายตัวชี้วัด
ผลผลิตที่ 1 : นักศึกษา บุคลากร บุคคลภายนอก ศิษย์เก่า มีส่วนร่วมในกิจกรรมทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม ซึ่งเป็นการเสริมสร้างคุณธรรม ปลูกฝังการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรมอันดี
ตัวชี้วัดประเภทหน่วยนับเป้าหมายผลลัพธ์ความสำเร็จ
1. ความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมกิจกรรม (แบบสอบถาม)
เชิงคุณภาพ ระดับ 3.51 0.00
2. ระดับความรู้ความเข้าใจผู้เข้าร่วมกิจกรรม หลังการเข้าร่วมกิจกรรม
เชิงคุณภาพ ระดับ 3.51 0.00
3. จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมกิจกรรม
เชิงปริมาณ คน 100 0.00
รวม      0.00
ร้อยละความสำเร็จของการดำเนินโครงการตามตัวชี้วัดมีค่าเท่ากับ 0.00
ส่วนที่ 5 ช่วงวันที่ดำเนินงาน
ช่วงเวลาตามแผน ช่วงเวลาดำเนินงานตามจริง
13/03/2567  - 30/04/2567 28/03/2567  - 28/03/2567
ส่วนที่ 6 ภาพประกอบการทำโครงการ