MAGLEAD#3 : ขับเคลื่อนยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย Well-being @ Chumphon
ส่วนที่ 1 หน่วยงานที่รับผิดชอบ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ » มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร
ส่วนที่ 2 สรุปผลการดำเนินการ
จากแผนความเป็นเลิศของมหาวิทยาลัยแม่โจ้ 2566-2570 ที่มุ่งสู่การพัฒนาเทคโนโลยีและสิ่งเสริมการสร้างนวัตกรรมเกษตรสมัยใหม่ ผนวกกับยุทธศาสตร์จังหวัดชุมพรในประเด็น “เมืองแห่งความมั่งคั่ง ฐานเกษตร ท่องเที่ยวเชิงสุขภาวะ ศูนย์รวบรวมการกระจายสินค้าเกษตร การขนส่งอันดามันอ่าวไทย” มหาวิทยาลัยแม่โจ้ – ชุมพรจึงกำหนดทิศทาง ยุทธศาสตร์ในการมุ่งสู่เกษตรสุขภาวะ Wellbeing at Chumphon (WBC) ภายใต้กรอบการพัฒนาทิศทางใน 3 มิติ (ภาพที่ 1) ประกอบด้วย
-เกษตรสุขภาวะและนวัตกรรม (กินดี Organic)
-สังคมสุขภาวะและการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน (มีสุข ECO)
-สิ่งแวดล้อมและทรัพยากรทางทะเล (อยู่ดี Green)
ส่วนที่ 3 ความสำเร็จตามวัตถุประสงค์โครงการ
ลำดับวัตถุประสงค์ความสำเร็จ
1 เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมในการพัฒนามหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร คุณภาพทางการศึกษา และคุณภาพชีวิต สร้างการมีส่วนร่วมในการพัฒนามหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร คุณภาพทางการศึกษา และคุณภาพชีวิต
2 เพื่อสร้างการรับรู้ถึงศักยภาพและทิศทางในการพัฒนามหาวิทยาลัยแม่โจ้และมหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร แก่ภาคส่วนต่างๆ สร้างการรับรู้ถึงศักยภาพและทิศทางในการพัฒนามหาวิทยาลัยแม่โจ้และมหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร แก่ภาคส่วนต่างๆ
3 เพื่อเกิดแผนพัฒนามหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร ในลักษณะบูรณาการ เกิดแผนพัฒนามหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร ในลักษณะบูรณาการ
4 เพื่อกำหนดทิศทางการดำเนินงานอย่างมีประสิทธิภาพ กำหนดทิศทางการดำเนินงานอย่างมีประสิทธิภาพ
ส่วนที่ 4 รายงานผลความสำเร็จตามเป้าหมายตัวชี้วัด
ผลผลิตที่ 1 : รายละเอียดเนื้อหาหลักสูตร MAGLEAD#3: Well-being @ Chumphon ที่สอดคล้องกับทิศทางการพัฒนามหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร
ตัวชี้วัดประเภทหน่วยนับเป้าหมายผลลัพธ์ความสำเร็จ
1. ทิศทางการพัฒนามหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร
เชิงปริมาณ ฉบับ 1 0.00
2. ความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมการสัมมนา Pre MAGLEAD#3: Well-being @ Chumphon
เชิงคุณภาพ ระดับ 4 0.00
3. หลักสูตรการฝึกอบรม MAGLEAD#3: Well-being @ Chumphon
เชิงปริมาณ ฉบับ 1 0.00
4. จำนวนผู้เข้าร่วมการสัมมนา Pre MAGLEAD#3: Well-being @ Chumphon
เชิงปริมาณ คน 100 0.00
รวม      0.00
ผลผลิตที่ 2 : การฝึกอบรมหลักสูตร MAGLEAD#3: Well-being @ Chumphon
ตัวชี้วัดประเภทหน่วยนับเป้าหมายผลลัพธ์ความสำเร็จ
1. ความพึงพอใจของผุ้เข้าร่วมการอบรมหลักสูตร MAGLEAD#3: Well-being @ Chumphon
เชิงคุณภาพ ระดับ 4 0.00
2. จำนวนผู้เข้าร่วมการสัมมนา MAGLEAD#3: Well-being @ Chumphon
เชิงปริมาณ คน 100 0.00
3. รายงานแผนงาน/โครงการพัฒนามหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร ที่สอดคล้องกับทิศทางการพัฒนาด้านต่างๆ (เกษตร อาหาร การประมง การท่องเที่ยว ฯลฯ)
เชิงปริมาณ ฉบับ 4 0.00
รวม      0.00
ร้อยละความสำเร็จของการดำเนินโครงการตามตัวชี้วัดมีค่าเท่ากับ 0.00
ส่วนที่ 5 ช่วงวันที่ดำเนินงาน
ช่วงเวลาตามแผน ช่วงเวลาดำเนินงานตามจริง
21/07/2566  - 30/12/2566 21/07/2566  - 30/12/2566
ส่วนที่ 6 ภาพประกอบการทำโครงการ