โครงการเตรียมทางเดิน เติมความพร้อม สู่การเป็นนักพัฒนาการท่องเที่ยว
ส่วนที่ 1 หน่วยงานที่รับผิดชอบ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ » คณะพัฒนาการท่องเที่ยว
ส่วนที่ 2 สรุปผลการดำเนินการ
โครงการเตรียมทางเดิน เติมความพร้อม สู่การเป็นนักพัฒนาการท่องเที่ยว จัดขึ้นในวันที่ 3 สิงหาคม 2566 ซึ่งกลุ่มเป้าหมายของกิจกรรมครั้งนี้คือ นักศึกษา 4 ปี ชั้นปีที่ 1 นักศึกษา 2 ปีเทียบเรียน ชั้นปีที่ 3 นักศึกษารุ่นพี่ชั้นปีที่ 2-4 คณะพัฒนาการท่องเที่ยว คณาจารย์และบุคลากร จำนวน 400 คน ซึ่งมีผู้เข้าร่วม
โครงการในครั้งนี้รวม 400 คน ในการจัดโครงการดังกล่าวเป็นการบรรยายจากคณาจารย์ บุคลากร และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในด้านการเรียนการสอนและการทำกิจจกรรมจากคณาจารย์และรุ่นพี่สู่รุ่นน้อง (ศิษย์ปัจจุบัน) เพื่อเป็นข้อมูลนำมาสู่การเตรียมความพร้อมในการศึกษาใกับนักศึกษาใหม่ อีกทั้งทำให้นักศึกษาได้
มีความรู้ ความเข้าใจในผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับหลักสูตร (PLOs) และรายละเอียดวิชาต่างๆในสาขาพัฒนาการท่องเที่ยว การจัดเรียนการสอนและกิจกรรมภาคบังคับ การเตรียมความพร้อมในการศึกษา ความรู้เกี่ยวกับทักษะที่จำเป็นในสายอาชีพการท่องเที่ยว การใช้ชีวิต การปรับตัวสู่ชีวิตนักศึกษาในรั้วมหาวิทยาลัย รวมถึงสร้างความสัมพันธ์ระหว่างคณาจารย์และรุ่นพี่สู่รุ่นน้อง (ศิษย์ปัจจุบัน) ให้แน่นแฟ้นยิ่งขึ้น
ส่วนที่ 3 ความสำเร็จตามวัตถุประสงค์โครงการ
ลำดับวัตถุประสงค์ความสำเร็จ
1 เพื่อให้นักศึกษามีความเข้าใจเกี่ยวกับผลการเรียนรู้ระดับหลักสูตร (PLOs) นักศึกษาเข้าใจเกี่ยวกับผลการเรียนรู้ระดับหลักสูตร (PLOs)
2 เพื่อให้นักศึกษาใหม่ได้ทราบถึงบันไดอาชีพ และตำแหน่งงานในสาขาวิชาชีพการท่องเที่ยว (TPQI) นักศึกษาใหม่ได้ทราบถึงบันไดอาชีพ และตำแหน่งงานในสาขาวิชาชีพการท่องเที่ยว (TPQI)
3 เพื่อให้นักศึกษามีความเข้าใจเกี่ยวกับกิจกรรมในหลักสูตรและกิจกรรมภาคบังคับของหลักสูตร นักศึกษามีความเข้าใจเกี่ยวกับกิจกรรมในหลักสูตร และกิจกรรมภาคบังคับของหลักสูตร
4 เพื่อให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในด้านการเรียนการสอนและการทำกิจจกรรมจากคณาจารย์และรุ่นพี่สู่รุ่นน้อง (ศิษย์ปัจจุบัน) นักศึกษาปัจจุบันได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ในด้านการเรียนการสอนและการทำกิจกรรมจากคณาจารย์และรุ่นพี่สู่รุ่นน้อง (ศิษย์ปัจจุบัน)
ส่วนที่ 4 รายงานผลความสำเร็จตามเป้าหมายตัวชี้วัด
ผลผลิตที่ 1 : นักศึกษามีความพร้อมสำหรับการศึกษาในสาขาวิชาพัฒนาการท่องเที่ยว และเข้าใจเกี่ยวกับผลการเรียนรู้ระดับหลักสูตร (PLOs)
ตัวชี้วัดประเภทหน่วยนับเป้าหมายผลลัพธ์ความสำเร็จ
1. ร้อยละของนักศึกษาผู้เข้าร่วมอบรมจากจำนวนนักศึกษากลุ่มเป้าหมาย
เชิงปริมาณ ร้อยละ 80 0.00
2. นักศึกษาที่เข้าร่วมกิจกรรมมีความรู้ ความเข้าใจสำหรับการศึกษาในสาขาวิชาพัฒนาการท่องเที่ยว
เชิงคุณภาพ ร้อยละ 80 0.00
3. นักศึกษาได้รับความรู้ในด้านการเรียน และการทำงานจากการถ่ายทอดประสบการณ์จากนักศึกษารุ่นพี่
เชิงคุณภาพ ร้อยละ 80 0.00
รวม      0.00
ร้อยละความสำเร็จของการดำเนินโครงการตามตัวชี้วัดมีค่าเท่ากับ 0.00
ส่วนที่ 5 ช่วงวันที่ดำเนินงาน
ช่วงเวลาตามแผน ช่วงเวลาดำเนินงานตามจริง
26/07/2566  - 26/07/2566 26/07/2566  - 26/07/2566
ส่วนที่ 6 ภาพประกอบการทำโครงการ