โครงการแห่เทียนพรรษา
ส่วนที่ 1 หน่วยงานที่รับผิดชอบ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ » มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ
ส่วนที่ 2 สรุปผลการดำเนินการ
สรุปผลแบบประเมินโครงการแห่เทียนพรรษา ประจำปี 2566
มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ
วันที่ 9 สิงหาคม 2566

ส่วนที่ 1
ข้อมูลทั่วไป
ตารางที่ 1 ข้อมูลทั่วไป

ข้อมูลทั่วไป จำนวน (n=100) ร้อยละ
1.เพศ
-ชาย
-หญิง
36
64
36
64
2.สถานะ
-อาจารย์ บุคลากร
-นักศึกษา
16
84
16
84

จากตารางที่ 1 พบว่าผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง จำนวน 64 คน คิดเป็นร้อยละ 64 และส่วนใหญ่เป็นนักศึกษา จำนวน 84 คน คิดเป็นร้อยละ 84
ส่วนที่ 2
ความพึงพอใจต่อโครงการ
ความหมายระดับของการประเมิน เกณฑ์การประเมินความพึงพอใจแยกออกเป็น 5 ระดับ และคิดช่วงคะแนนโดยคำนวณจากสูตร
ช่วงคะแนน = คะแนนสูงสุด-คะแนนต่ำสุด จำนวนอันตรภาคชั้น
= 5-1/5
= 0.80
ดังนั้น ช่วงคะแนน 1.00-1.80 หมายถึง พอใจน้อยที่สุด
ช่วงคะแนน 1.81-2.60 หมายถึง พอใจน้อย
ช่วงคะแนน 2.61-3.40 หมายถึง พอใจ
ช่วงคะแนน 3.41-4.20 หมายถึง พอใจมาก
ช่วงคะแนน 4.21-5.00 หมายถึง พอใจมากที่สุด
ตารางที่ 2 ความพึงพอใจต่อโครงการ
รายละเอียดการประเมิน ค่าเฉลี่ย SD แปลผล
กระบวนการขั้นตอนของกิจกรรม
1.การประชาสัมพันธ์โครงการให้รับทราบก่อนเริ่ม โครงการ 4.41 0.85 พอใจมากที่สุด
2.ความเหมาะสมของสถานที่ 4.31 0.70 พอใจมากที่สุด
3.ความเหมาะสมของระยะเวลา 4.33 0.67 พอใจมากที่สุด
4.การจัดลำดับขั้นตอนของกิจกรรม 4.27 0.74 พอใจมากที่สุด
การอำนวยความสะดวก
5.โสตทัศนูปกรณ์ 4.12 0.76 พอใจมาก
6.เจ้าหน้าที่สนับสนุนกิจกรรม 4.21 0.77 พอใจมากที่สุด
คุณภาพของโครงการ
7.กิจกรรมสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของโครงการ 4.33 0.67 พอใจมากที่สุด
8.ความพึงพอใจที่เพิ่มขึ้นหลังเสร็จสิ้นกิจกรรม 4.37 0.71 พอใจมากที่สุด
9.ประโยชน์ที่เข้าร่วมกิจกรรมนี้ต่อท่าน 4.35 0.72 พอใจมากที่สุด
10.ความต้องการให้มีกิจกรรมนี้อีกในอนาคต 4.35 0.67 พอใจมากที่สุด

สรุปผลระดับความพึงพอใจ คะแนนความพึงพอใจด้านประชาสัมพันธ์โครงการ ให้ได้รับทราบก่อนเริ่ม โครงการอยู่ในระดับความพอใจมากที่สุด (มีค่าเฉลี่ย = 4.41) รองลงมา คือ ความพึงพอใจที่เพิ่มขึ้น หลังเสร็จสิ้นกิจกรรมอยู่ในระดับความพอใจมากที่สุด (มีค่าเฉลี่ย = 4.37 ) และด้านโสตทัศนูปกรณ์มี ผลการประเมินต่ำสุดอยู่ในระดับความพอใจมาก (มีค่าเฉลี่ย = 4.12)
ส่วนที่ 3 ความสำเร็จตามวัตถุประสงค์โครงการ
ลำดับวัตถุประสงค์ความสำเร็จ
1 1. เพื่อส่งเสริมและรักษาไว้ซึ่งประเพณีการแห่เทียนเข้าพรรษาให้มีสืบต่อไป ส่งเสริมและรักษาไว้ซึ่งประเพณีการแห่เทียนเข้าพรรษาให้มีสืบต่อไป
2 2. เพื่อให้นักศึกษาทุกชั้นปี คณาจารย์และบุคลากร ในมหาวิทยาลัยได้ทำบุญแห่เทียนเข้าพรรษาร่วมกับชุมชนในท้องถิ่น นักศึกษาทุกชั้นปี คณาจารย์และบุคลากร ในมหาวิทยาลัยได้ทำบุญแห่เทียนเข้าพรรษาร่วมกับชุมชนในท้องถิ่น
3 3. เพื่อให้นักศึกษาเกิดความประทับใจและมีเจตคติที่ดีต่อมหาวิทยาลัย นักศึกษาเกิดความประทับใจและมีเจตคติที่ดีต่อมหาวิทยาลัย
ส่วนที่ 4 รายงานผลความสำเร็จตามเป้าหมายตัวชี้วัด
ผลผลิตที่ 1 : โครงการแห่เทียนพรรษา
ตัวชี้วัดประเภทหน่วยนับเป้าหมายผลลัพธ์ความสำเร็จ
1. จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
เอกสารประกอบตัวชี้วัด
- รายชื่อผู้เข้าร่วมโครงการ.pdf
เชิงปริมาณ คน 100 0.00
2. ร้อยละความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการ
เอกสารประกอบตัวชี้วัด
- สรุปแห่เทียน
เชิงคุณภาพ ร้อยละ 80 0.00
รวม      0.00
ร้อยละความสำเร็จของการดำเนินโครงการตามตัวชี้วัดมีค่าเท่ากับ 0.00
ส่วนที่ 5 ช่วงวันที่ดำเนินงาน
ช่วงเวลาตามแผน ช่วงเวลาดำเนินงานตามจริง
10/05/2566  - 30/09/2566 09/08/2566  - 09/08/2566
ส่วนที่ 6 ภาพประกอบการทำโครงการ