โครงการถ่ายทอดเทคโนโลยีการปลูกพืชผัก/สมุนไพรตามระบบเกษตรปลอดภัย/อินทรีย์
ส่วนที่ 1 หน่วยงานที่รับผิดชอบ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ » มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ
ส่วนที่ 2 สรุปผลการดำเนินการ
โครงการถ่ายทอดเทคโนโลยีการปลูกพืชผัก/สมุนไพรตามระบบเกษตรปลอดภัย/อินทรีย์ หลักสูตร “เทคโนโลยีการปลูกพืชผัก/สมุนไพรตามระบบเกษตรปลอดภัย/อินทรีย์” จัดโครงการขึ้นในระหว่างวันที่ 28-30 กรกฎาคม 2566 ในพื้นที่ตำบลนาน้อย อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน
มีวัตถุประสงค์เพื่อถ่ายทอดเทคโนโลยีการปลูกพืชผัก/สมุนไพรตามระบบเกษตรปลอดภัย/อินทรีย์ ส่งเสริมให้มีการเพาะปลูกพืชผัก/สมุนไพรตามระบบเกษตรปลอดภัย/อินทรีย์ สร้างรายได้เสริมนอกเหนือจากการเพาะปลูกพืชเชิงเดี่ยว และเพื่อเสริมสร้างโอกาสให้นักศึกษาได้ลงพื้นที่ชุมชนเรียนรู้แนวทางและเพิ่มทักษะการทำเกษตรปลอดภัย/อินทรีย์ กระตุ้นให้เกษตรกร ประชาชน หรือกลุ่มวิสาหกิจชุมชนตระหนักถึงความสำคัญและคุณประโยชน์ของการทำเกษตรปลอดภัย/อินทรีย์ และมีการทำการเกษตรปลอดภัย/อินทรีย์ในพื้นที่เพิ่มมากขึ้น โดยมีผู้เข้าร่วมโครงการในครั้งนี้ จำนวน 25 คน เป็นกลุ่มเกษตรกรที่เพาะปลูกพืชผัก/สมุนไพรในพื้นที่ และสมาชิกกลุ่มวิสาหกิจชุมชนแปรรูปสมุนไพรบ้านนาราบ
ส่วนที่ 3 ความสำเร็จตามวัตถุประสงค์โครงการ
ลำดับวัตถุประสงค์ความสำเร็จ
1 1 เพื่อถ่ายทอดเทคโนโลยีการปลูกพืชผัก/สมุนไพรตามระบบเกษตรปลอดภัย/อินทรีย์ 1. ได้ถ่ายทอดเทคโนโลยีการปลูกพืชผัก/สมุนไพรตามระบบเกษตรปลอดภัย/อินทรีย์
2 2 เพื่อส่งเสริมให้มีการเพาะปลูกพืชผัก/สมุนไพรตามระบบเกษตรปลอดภัย/อินทรีย์ เพื่อสร้างรายได้เสริมนอกเหนือจากการเพาะปลูกพืชเชิงเดี่ยว 2. ได้ส่งเสริมให้มีการเพาะปลูกพืชผัก/สมุนไพรตามระบบเกษตรปลอดภัย/อินทรีย์ เพื่อสร้างรายได้เสริมนอกเหนือจากการเพาะปลูกพืชเชิงเดี่ยว
3 3 เพื่อเสริมสร้างโอกาสให้นักศึกษาได้ลงพื้นที่ชุมชนเรียนรู้แนวทางและเพิ่มทักษะการทำเกษตรปลอดภัย/อินทรีย์ 3. ได้เสริมสร้างโอกาสให้นักศึกษาได้ลงพื้นที่ชุมชนเรียนรู้แนวทางและเพิ่มทักษะการทำเกษตรปลอดภัย/อินทรีย์
ส่วนที่ 4 รายงานผลความสำเร็จตามเป้าหมายตัวชี้วัด
ผลผลิตที่ 1 : ผู้เข้ารับการอบรมมีการปลูกพืชผัก/สมุนไพรตามระบบเกษตรปลอดภัย/อินทรีย์
ตัวชี้วัดประเภทหน่วยนับเป้าหมายผลลัพธ์ความสำเร็จ
1. จำนวนผู้เข้าร่วมอบรม/ศึกษาดูงาน
เอกสารประกอบตัวชี้วัด
- รายชื่อผู้ข้าร่วมโครงการ.pdf
เชิงปริมาณ คน 25 0.00
2. ร้อยละรายได้ที่เพิ่มขึ้น
เชิงปริมาณ ร้อยละ 3 0.00
3. ร้อยละของโครงการที่แล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
เชิงเวลา ร้อยละ 100 0.00
4. ร้อยละของผู้รับบริการที่มีความรู้เพิ่มขึ้นจากการเข้ารับบริการ
เอกสารประกอบตัวชี้วัด
- สรุปร้อยละความพึงพอใจ.pdf
เชิงปริมาณ ร้อยละ 80 0.00
5. จำนวนเทคโนโลยีการปลูกพืชผักสมุนไพร ที่นำมาถ่ายทอด
เชิงปริมาณ เรื่อง 1 0.00
6. จำนวนครั้งในการจัดอบรม
เชิงปริมาณ ครั้ง 1 0.00
7. ร้อยละของความพึงพอใจของผู้รับบริการในกระบวนการให้บริการ
เอกสารประกอบตัวชี้วัด
- สรุปร้อยละความพึงพอใจ.pdf
เชิงคุณภาพ ร้อยละ 80 0.00
8. ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการ/หน่วยงาน/องค์กรที่ได้รับบริการวิชาการและวิชาชีพต่อประโยชน์จากการบริการ
เอกสารประกอบตัวชี้วัด
- สรุปร้อยละความพึงพอใจ.pdf
เชิงคุณภาพ ร้อยละ 80 0.00
9. ค่าใช้จ่ายของการให้บริการวิชาการตามงบประมาณที่ได้รับจัดสรร
เชิงต้นทุน ล้านบาท 0.05 0.00
10. จำนวนนักศึกษาที่ลงพื้นที่ชุมชนเพื่อเรียนรู้แนวทางและเพิ่มทักษะการทำเกษตรปลอดภัย/อินทรีย์
เชิงปริมาณ คน 25 0.00
11. ร้อยละของผู้รับบริการปลูกพืชผัก/สมุนไพรตามระบบเกษตรปลอดภัย/อินทรีย์เพิ่มขึ้น
เชิงปริมาณ ร้อยละ 10 0.00
12. ร้อยละของโครงการที่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
เชิงคุณภาพ ร้อยละ 80 0.00
รวม      0.00
ร้อยละความสำเร็จของการดำเนินโครงการตามตัวชี้วัดมีค่าเท่ากับ 0.00
ส่วนที่ 5 ช่วงวันที่ดำเนินงาน
ช่วงเวลาตามแผน ช่วงเวลาดำเนินงานตามจริง
01/11/2565  - 29/09/2566 28/07/2566  - 30/07/2566
ส่วนที่ 6 ภาพประกอบการทำโครงการ