โครงการการแข่งขันกีฬาเชื่อมความสัมพันธ์ภายในมหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร "คาวบอยเกมส์ ครั้งที่ 20"
ส่วนที่ 1 หน่วยงานที่รับผิดชอบ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ » มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร
ส่วนที่ 2 สรุปผลการดำเนินการ
สรุปผลการดำเนินโครงการตามตัวชี้วัดโครงการ/กิจกรรม
ในการดำเนินการจัดโครงการการแข่งขันกีฬาเชื่อมความสัมพันธ์ภายในมหาวิทยาลัยแม่โจ้ - ชุมพร "คาวบอยเกมส์ ครั้งที่ 20" ประจำปีการศึกษา 2565 นี้ ผู้ดำเนินกิจกรรมมีการประเมินผลการดำเนินกิจกรรมโดยการใช้แบบสอบถาม (ดังภาคผนวก) เพื่อเก็บรวบรวมข้อมูลจากนักศึกษาและบุคลากรที่เข้าร่วมกิจกรรมและตอบแบบประเมิน จำนวน 250 คน จากนักศึกษาและบุคลากร ทั้งสิ้น 250 คน จากกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ 250 คน ซึ่งมีผลการประเมินดังนี้

ตอนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม
เป็นการสรุปข้อมูลเบื้องต้นของผู้ประเมิน โดยแยกตามเพศ ซึ่งสามารถสรุปผลการประเมินได้
ดังนี้ พบว่าผู้ตอบแบบสอบถาม เป็นนักศึกษาและบุคลากรหญิงร้อยละ ...56.0... และเป็นนักศึกษาและบุคลากรชายร้อยละ ..........44.0......

ส่วนที่ 2 ประเด็นการประเมินความพึงพอใจ
เป็นการประเมินความพึงพอใจในการดำเนินการจัดกิจกรรมโดยแยกระดับความพึงพอใจ ออกเป็น 5 ระดับ คือ พึงพอใจมากที่สุด (5) พึงพอใจมาก (4) พึงพอใจปานกลาง (3) พึงพอใจน้อย (2) และพึงพอใจน้อยที่สุด (1) ซึ่งสามารถสรุปผลการประเมินได้ดังนี้
แสดงจำนวนผู้ตอบแบบสอบถามแยกตามระดับความพึงพอใจ และ แสดงร้อยละของผู้ตอบแบบสอบถามแยกตามระดับความพึงพอใจ
พบว่านักศึกษาและบุคลากร มีระดับความพึงพอใจมากที่สุด ต่อ ความเหมาะสมของสถานที่ในการจัดกิจกรรม จำนวน 220 คน คิดเป็นร้อยละ 88.0 และรองลงมาคือ ความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมโดยภาพรวม จำนวน 211 คน คิดเป็นร้อยละ 84.4 มีระดับความพึงพอใจต่อบรรยากาศในกิจกรรมจำนวน 200 คน คิดเป็นร้อยละ 80.0 มีระดับความพึงพอใจ ต่อ ระยะเวลาในการดำเนินโครงการ/กิจกรรม จำนวน 190 คน คิดเป็นร้อยละ 76.0 มีระดับความพึงพอใจ ต่อ ความน่าสนใจของกิจกรรม จำนวน 180 คน คิดเป็นร้อยละ 72.0 ตามลำดับ

แสดงค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานระดับความพึงพอใจ
พบว่านักศึกษาและบุคลากร มีความพึงพอใจสูงที่สุด 3 ลำดับ คือ นักศึกษาและบุคลากรมีระดับความพึงพอใจมากที่สุด ต่อ ระยะเวลาในการดำเนินโครงการ/กิจกรรม อยู่ในระดับมากที่สุด (4.74) และรองลงมา คือ มีระดับความพึงพอใจมากที่สุด ความเหมาะสมของสถานที่ในการจัดกิจกรรม อยู่ในระดับมากที่สุด (4.68) และรองลงมา คือ มีระดับความพึงพอใจมากที่สุด ความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมโดยภาพรวม อยู่ในระดับมากที่สุด (4.64) และรองลงมา คือ มีระดับความพึงพอใจมากที่สุด บรรยากาศในกิจกรรม อยู่ในระดับมากที่สุด (4.60) ตามลำดับ และมีระดับความพึงพอใจเฉลี่ยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด (4.54)




ส่วนที่ 3 ความสำเร็จตามวัตถุประสงค์โครงการ
ลำดับวัตถุประสงค์ความสำเร็จ
1 1.เพื่อให้นักศึกษาได้มีการพัฒนาทางด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ และสังคม 1.นักศึกษาได้มีการแสดงออกทางพัฒนาการ ร่างกาย อารมณ์ จิตใจ และสังคม
2 2.เพื่อให้นักศึกษาได้สามารถแสดงออกถึงกิจกรรมกีฬาที่ตนเองชอบและถนัด 2.นักศึกษาได้มีส่วนร่วมในการแข่งขันกีฬา และเล่นกีฬาในประเภทที่ตนเองถนัด
3 3.เพื่อให้นักศึกษาได้แสดงออกถึงความสำคัญเป็นหมู่คณะ มีระเบียบวินัย รู้แพ้ รู้ชนะ รู้อภัย 3.นักศึกษาได้มีความรัก ความสามัคคี การแสดงออกถึง ความมีน้ำใจของนักกีฬา รู้แพ้ รู้ชนะ รู้อภัย
ส่วนที่ 4 รายงานผลความสำเร็จตามเป้าหมายตัวชี้วัด
ผลผลิตที่ 1 : นักศึกษาในแต่ละชั้นปีและบุคลากรเกิดความร่วมมือร่วมใจในการทำกิจกรรม ช่วยให้นักศึกษาได้มีความกล้าแสดงออกในด้านต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นด้านกีฬาหรือด้านการสร้างมนุษย์สัมพันธ์ที่ดีต่อคนรอบข้าง
ตัวชี้วัดประเภทหน่วยนับเป้าหมายผลลัพธ์ความสำเร็จ
1. ร้อยละความพึงพอใจของการเข้าร่วมโครงการ
เอกสารประกอบตัวชี้วัด
- รายงานโครงการ
เชิงคุณภาพ ร้อยละ 80 0.00
2. ค่าใช้จ่ายในการจัดโครงการ เชิงต้นทุน บาท 50000 0.00
3. ร้อยละโครงการเสร็จแล้วภายในเวลาี่กำหนด
เอกสารประกอบตัวชี้วัด
- รายงานโครงการ
เชิงเวลา ร้อยละ 80 0.00
4. จำนวนผู้เข้าร่วม
เอกสารประกอบตัวชี้วัด
- รายชื่อผู้เข้าร่วมกิจกรรม
เชิงปริมาณ คน 250 0.00
รวม      0.00
ร้อยละความสำเร็จของการดำเนินโครงการตามตัวชี้วัดมีค่าเท่ากับ 0.00
ส่วนที่ 5 ช่วงวันที่ดำเนินงาน
ช่วงเวลาตามแผน ช่วงเวลาดำเนินงานตามจริง
01/12/2565  - 31/03/2566 25/01/2566  - 28/01/2566
ส่วนที่ 6 ภาพประกอบการทำโครงการ