โครงการตลาดนัดความสุข
ส่วนที่ 1 หน่วยงานที่รับผิดชอบ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ » มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ
ส่วนที่ 2 สรุปผลการดำเนินการ
สรุปผลแบบประเมินโครงการตลาดนัดความสุข
มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ
วันที่ 21 กันยายน 2565
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
ปรากฏตามตารางที่ 1
ตารางที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
ข้อมูลทั่วไป จำนวน(n=100) ร้อยละ
1.เพศ
-ชาย
-หญิง
36
64
36
64
2.สถานะ
-บุคลากร
-นักศึกษา
16
84
16
84

จากตารางที่ 1 พบว่าผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง จำนวน 64 คน คิดเป็นร้อยละ 64 และส่วนใหญ่เป็นนักศึกษา จำนวน 84 คน คิดเป็นร้อยละ 84
ส่วนที่ 2 ความพึงพอใจต่อโครงการ
ความหมายระดับของการประเมิน
เกณฑ์การประเมินความพึงพอใจแยกออกเป็น 5 ระดับ และคิดช่วงคะแนนโดยคำนวณจากสูตร
ช่วงคะแนน = คะแนนสูงสุด-คะแนนต่ำสุด จำนวนอันตรภาคชั้น
= 5-1/5
= 0.80
ดังนั้น ช่วงคะแนน 1.00-1.80 หมายถึง พอใจน้อยที่สุด
ช่วงคะแนน 1.81-2.60 หมายถึง พอใจน้อย
ช่วงคะแนน 2.61-3.40 หมายถึง พอใจ
ช่วงคะแนน 3.41-4.20 หมายถึง พอใจมาก
ช่วงคะแนน 4.21-5.00 หมายถึง พอใจมากที่สุด
ตารางที่ 2 ความพึงพอใจต่อโครงการ ความหมายระดับของการประเมิน
รายละเอียดการประเมิน ค่าเฉี่ย SD แปลผล
กระบวนการขั้นตอนของกิจกรรม
1.การประชาสัมพันธ์โครงการให้รับทราบก่อนเริ่มโครงการ 4.41 0.85 พอใจมากที่สุด
2.ความเหมาะสมของสถานที่ 4.31 0.70 พอใจมากที่สุด
3.ความเหมาะสมของระยะเวลา 4.33 0.67 พอใจมากที่สุด
4.การจัดลำดับขั้นตอนของกิจกรรม 4.27 0.74 พอใจมากที่สุด
การอำนวยความสะดวก
5.โสตทัศนูปกรณ์ 4.12 0.76 พอใจมาก
6.เจ้าหน้าที่สนับสนุนกิจกรรม 4.21 0.77 พอใจมากที่สุด
คุณภาพของโครงการ
7.กิจกรรมสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของโครงการ 4.33 0.67 พอใจมากที่สุด
8.ความพึงพอใจที่เพิ่มขึ้นหลังเสร็จสิ้นกิจกรรม 4.37 0.71 พอใจมากที่สุด
9.ประโยชน์ที่เข้าร่วมกิจกรรมนี้ต่อท่าน 4.35 0.72 พอใจมากที่สุด
10.ความตั้งการให้มีกิจกรรมนี้อีกในอนาคต 4.35 0.67 พอใจมากที่สุด

สรุปผลระดับความพึงพอใจ คะแนนความพึงพอใจด้านประชาสัมพันธ์โครงการ ให้ได้รับทราบก่อนเริ่มโครงการอยู่ในระดับความพอใจมากที่สุด (มีค่าเฉลี่ย = 4.41) รองลงมา คือ ความพึงพอใจที่เพิ่มขึ้นหลังเสร็จสิ้นกิจกรรมอยู่ในระดับความพอใจมากที่สุด (มีค่าเฉลี่ย = 4.37 ) และด้านโสตทัศนูปกรณ์มีผลการประเมินต่ำสุดอยู่ในระดับความพอใจมาก (มีค่าเฉลี่ย = 4.12)
ส่วนที่ 3 ความสำเร็จตามวัตถุประสงค์โครงการ
ลำดับวัตถุประสงค์ความสำเร็จ
1 1. เพื่อสร้างนักศึกษาให้เป็นผู้ประกอบการ สร้างนักศึกษาให้เป็นผู้ประกอบการ
2 2. เพื่อให้นักศึกษาให้มีความสมบูรณ์พร้อม ทั้งความรู้ด้านวิชาการ วิชาชีพ และวิชาชีวิตสามารถอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข นักศึกษามีความสมบูรณ์พร้อม ทั้งความรู้ด้านวิชาการ วิชาชีพ และวิชาชีวิตสามารถอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข
ส่วนที่ 4 รายงานผลความสำเร็จตามเป้าหมายตัวชี้วัด
ผลผลิตที่ 1 : โครงการตลาดนัดความสุข
ตัวชี้วัดประเภทหน่วยนับเป้าหมายผลลัพธ์ความสำเร็จ
1. จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
เอกสารประกอบตัวชี้วัด
- รายชื่อตลาดนัดความสุข
เชิงปริมาณ คน 200 0.00
2. ร้อยละความสำเร็จของโครงการ
เอกสารประกอบตัวชี้วัด
- สรุปผลตลาดนัด
เชิงคุณภาพ ร้อยละ 80 0.00
รวม      0.00
ร้อยละความสำเร็จของการดำเนินโครงการตามตัวชี้วัดมีค่าเท่ากับ 0.00
ส่วนที่ 5 ช่วงวันที่ดำเนินงาน
ช่วงเวลาตามแผน ช่วงเวลาดำเนินงานตามจริง
09/09/2565  - 30/09/2565 21/09/2565  - 21/09/2565
ส่วนที่ 6 ภาพประกอบการทำโครงการ