โครงการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ และแลกเปลี่ยนเรียนรู้นอกสถานที่ ระหว่างนักศึกษา หลักสูตร และเครือข่ายผู้ประกอบการ เพื่อพัฒนาการเรียนการสอน การบริการวิชาการ และพัฒนาผู้ประกอบการรุ่นใหม่ ภายใต้ โครงการพลิกโฉมมหาวิทยาลัยแม่โจ้สู่มหาวิทยาลัยที่เชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยีและนวัตกรรมการเกษตรสมัยใหม่ MJU Reinventing: Smart & Modern Agricultural Technology Innovation (SMATI) (65-4.1.5)
ส่วนที่ 1 หน่วยงานที่รับผิดชอบ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ » คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบสิ่งแวดล้อม
ส่วนที่ 2 สรุปผลการดำเนินการ
คณะได้เป็นส่วนหนึ่งในการดำเนินโครงการ ด้านการพัฒนามหาวิทยาลัยแม่โจ้สู่ความเป็นเลิศด้านเทคโนโลยีและนวัตกรรมการเกษตรสมัยใหม่ ด้านการพัฒนาระบบบริหารจัดการมหาวิทยาลัยให้มีความพร้อมและศักยภาพสู่ในการเป็นมหาวิทยาลัยกลุ่ม 2 ด้านการผลิตกำลังคนด้านเทคโนโลยีและนวัตกรรมเกษตรสมัยใหม่เพื่อตอบสนองการพัฒนาอุตสาหกรรมเป้าหมายของประเทศ (S-Curve) ด้านการพัฒนาและยกระดับผู้ประกอบการใหม่ นักศึกษา บัณฑิตผู้ประกอบการ และวิสาหกิจชุมชนด้วยเทคโนโลยีและนวัตกรรมเกษตรอัจฉริยะ ด้านการสร้างเครือข่ายในการต่อยอดด้านเทคโนโลยีและนวัตกรรมระดับนานาชาติ และด้านการยกระดับและเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์ผู้ประกอบการ/SMEs ด้วยเทคโนโลยีและนวัตกรรมเกษตรสมัยใหม่เข้าสู่ตลาด
ส่วนที่ 3 ความสำเร็จตามวัตถุประสงค์โครงการ
ลำดับวัตถุประสงค์ความสำเร็จ
1 เพื่อพัฒนามหาวิทยาลัยแม่โจ้สู่ความเป็นเลิศด้านเทคโนโลยีและนวัตกรรมการเกษตรสมัยใหม่ คณะได้เป็นส่วนหนึ่งในการดำเนินโครงการพัฒนามหาวิทยาลัยแม่โจ้สู่ความเป็นเลิศด้านเทคโนโลยีและนวัตกรรมการเกษตรสมัยใหม่
2 เพื่อพัฒนาระบบบริหารจัดการมหาวิทยาลัยให้มีความพร้อมและศักยภาพสู่ในการเป็นมหาวิทยาลัยกลุ่ม 2 คณะได้เป็นส่วนหนึ่งในการดำเนินโครงการพัฒนาระบบบริหารจัดการมหาวิทยาลัยให้มีความพร้อมและศักยภาพสู่ในการเป็นมหาวิทยาลัยกลุ่ม 2
3 เพื่อผลิตกำลังคนด้านเทคโนโลยีและนวัตกรรมเกษตรสมัยใหม่เพื่อตอบสนองการพัฒนาอุตสาหกรรมเป้าหมายของประเทศ (S-Curve) คณะได้เป็นส่วนหนึ่งในการดำเนินโครงการด้านการผลิตกำลังคนด้านเทคโนโลยีและนวัตกรรมเกษตรสมัยใหม่เพื่อตอบสนองการพัฒนาอุตสาหกรรมเป้าหมายของประเทศ (S-Curve)
4 เพื่อพัฒนาและยกระดับผู้ประกอบการใหม่ นักศึกษา บัณฑิตผู้ประกอบการ และวิสาหกิจชุมชนด้วยเทคโนโลยีและนวัตกรรมเกษตรอัจฉริยะ คณะได้เป็นส่วนหนึ่งในการดำเนินโครงการพัฒนาและยกระดับผู้ประกอบการใหม่ นักศึกษา บัณฑิตผู้ประกอบการ และวิสาหกิจชุมชนด้วยเทคโนโลยีและนวัตกรรมเกษตรอัจฉริยะ
5 เพื่อสร้างเครือข่ายในการต่อยอดด้านเทคโนโลยีและนวัตกรรมระดับนานาชาติ คณะได้เป็นส่วนหนึ่งในการดำเนินโครงการสร้างเครือข่ายในการต่อยอดด้านเทคโนโลยีและนวัตกรรมระดับนานาชาติ
6 เพื่อยกระดับและเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์ผู้ประกอบการ/SMEs ด้วยเทคโนโลยีและนวัตกรรมเกษตรสมัยใหม่เข้าสู่ตลาด คณะได้เป็นส่วนหนึ่งในการดำเนินโครงการยกระดับและเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์ผู้ประกอบการ/SMEs ด้วยเทคโนโลยีและนวัตกรรมเกษตรสมัยใหม่เข้าสู่ตลาด
ส่วนที่ 4 รายงานผลความสำเร็จตามเป้าหมายตัวชี้วัด
ผลผลิตที่ 1 : ผลการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ และแลกเปลี่ยนเรียนรู้นอกสถานที่ ระหว่างนักศึกษา หลักสูตร และเครือข่ายผู้ประกอบการ เพื่อพัฒนาการเรียนการสอน การบริการวิชาการ และพัฒนาผู้ประกอบการรุ่นใหม่
ตัวชี้วัดประเภทหน่วยนับเป้าหมายผลลัพธ์ความสำเร็จ
1. ความร่วมมือเพื่อพัฒนาผู้ประกอบการและส่งเสริมการสร้างนวัตกรรมกับภาคธุรกิจ/อุตสาหกรรม
เอกสารประกอบตัวชี้วัด
- รายงานผล ตชว-65
เชิงปริมาณ ความร่วมมือ 1 0.00
2. หลักสูตร/โปรแกรมเฉพาะที่ใช้เทคโนโลยี/ นวัตกรรมเพื่อพัฒนาความเป็นผู้ประกอบการ
เอกสารประกอบตัวชี้วัด
- รายงานผล ตชว-65
เชิงปริมาณ หลักสูตร 4 0.00
3. รางวัลด้านผู้ประกอบการ (Startup Awards)
เอกสารประกอบตัวชี้วัด
- รายงานผล ตชว-65
เชิงปริมาณ รางวัล 1 0.00
4. บุคลากรสถาบันอุดมศึกษาและนักศึกษาที่แลกเปลี่ยน ความรู้สู่ภาคธุรกิจ/อุตสาหกรรม
เอกสารประกอบตัวชี้วัด
- รายงานผล ตชว-65
เชิงปริมาณ คน 2 0.00
5. งบประมาณการพัฒนาเทคโนโลยี/นวัตกรรมเพื่อพัฒนาความเป็นผู้ประกอบการ
เอกสารประกอบตัวชี้วัด
- รายงานผล ตชว-65
เชิงปริมาณ บาท 100000 0.00
6. นักศึกษาและบัณฑิตผู้ประกอบการ หรือผู้ที่ได้รับการพัฒนาเป็นผู้ประกอบการ
เอกสารประกอบตัวชี้วัด
- รายงานผล ตชว-65
เชิงปริมาณ คน 30 0.00
7. ระบบนิเวศด้านเทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อเร่งพัฒนา ผู้ประกอบการ
เอกสารประกอบตัวชี้วัด
- รายงานผล ตชว-65
เชิงปริมาณ ระบบ 4 0.00
รวม      0.00
ร้อยละความสำเร็จของการดำเนินโครงการตามตัวชี้วัดมีค่าเท่ากับ 0.00
ส่วนที่ 5 ช่วงวันที่ดำเนินงาน
ช่วงเวลาตามแผน ช่วงเวลาดำเนินงานตามจริง
11/07/2565  - 30/09/2565 05/08/2565  - 31/08/2565
ส่วนที่ 6 ภาพประกอบการทำโครงการ