ส่วนที่ 1 หน่วยงานที่รับผิดชอบ
ส่วนที่ 2 สรุปผลการดำเนินการ
ผลการดำเนินงานเป็นไปตามวัตถุประสงค์และกรอบเวลาที่กำหนด นักศึกษากลุ่มเป้าหมายได้รับทราบและการกระตุ้นเตือนเกี่ยวกับพิษภัยของยาเสพติดและอบายมุข และผู้นำนักศึกษาได้มีบทบาทและส่วนร่วมในดำเนินงานด้านการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในสถานศึกษาเป็นอย่างดี โดยมีการเชื่อมโยงและประสานความร่วมมือกับหน่วยงานของมหาวิทยาลัยที่เกี่ยวข้องได้เป็นอย่างดียิ่ง
ส่วนที่ 3 ความสำเร็จตามวัตถุประสงค์โครงการ
1
|
1. เพื่อให้นักศึกษาได้รับการกระตุ้นเตือนให้ตระหนักในโทษหรือพิษภัยของยาเสพติดและอบายมุขต่าง ๆ ป้องปรามไม่ให้นักศึกษาเข้าไปยุ่งเกี่ยวหรือห่างไกลจากยาเสพติดและอบายมุข
|
นักศึกษาได้รับการกระตุ้นเตือนให้ตระหนักในโทษหรือพิษภัยของยาเสพติดและอบายมุขต่าง ๆ ป้องปรามไม่ให้นักศึกษาเข้าไปยุ่งเกี่ยวหรือห่างไกลจากยาเสพติดและอบายมุข
|
2
|
2. เพื่อส่งเสริมให้เครือข่ายผู้นำนักศึกษาได้มีบทบาทในการมีส่วนร่วมด้านการป้องกัน เฝ้าระวัง และแก้ไขปัญหายาเสพติดที่ทำงานเชื่อมโยงกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องภายในมหาวิทยาลัย (กองพัฒนานักศึกษา)
|
เครือข่ายผู้นำนักศึกษาได้มีบทบาทในการมีส่วนร่วมด้านการป้องกัน เฝ้าระวัง และแก้ไขปัญหายาเสพติด ที่ทำงานเชื่อมโยงกับงานพัฒนาวินัยนักศึกษา กองพัฒนานักศึกษา
|
ส่วนที่ 4 รายงานผลความสำเร็จตามเป้าหมายตัวชี้วัด
ผลผลิตที่ 1 :
1. นักศึกษาได้รับทราบเกี่ยวกับการรณรงค์ป้องกันปัญหายาเสพติด และรับรู้เกี่ยวกับการป้องปรามให้นักศึกษาห่างไกลจากยาเสพติดและอบายมุข
1.
ร้อยละของนักศึกษาที่ได้รับทราบเกี่ยวกับการรณรงค์ป้องกันปัญหายาเสพติด และสามารถรับรู้เกี่ยวกับการป้องปรามให้นักศึกษาห่างไกลจากยาเสพติดและอบายมุข
|
เชิงคุณภาพ
|
ร้อยละ
|
80
|
|
0.00
|
2.
ร้อยละของนักศึกษาจากผู้เข้าร่วมโครงการ
|
เชิงปริมาณ
|
ร้อยละ
|
80
|
|
0.00
|
|
ผลผลิตที่ 2 :
2. ผู้นำนักศึกษาได้มีส่วนร่วมในการทำงานด้านการเฝ้าระวัง ป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดภายในมหาวิทยาลัยตามบริบทของเครือข่ายผู้นำนักศึกษา
1.
ร้อยละของเครือข่ายผู้นักศึกษาที่มาร่วมปฏิบัติงานมีความคาดหวังว่าจะสามารถเป็นส่วนหนึ่งในการพัฒนางานด้านการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดภายในมหาวิทยาลัย
|
เชิงคุณภาพ
|
ร้อยละ
|
80
|
|
0.00
|
|
ส่วนที่ 5 ช่วงวันที่ดำเนินงาน
01/09/2565
-
30/11/2565
|
08/11/2565
-
24/12/2565
|
ส่วนที่ 6 ภาพประกอบการทำโครงการ