โครงการขับเคลื่อนการดำเนินงานมหาวิทยาลัยสีเขียว MJU Green University
ส่วนที่ 1 หน่วยงานที่รับผิดชอบ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ » สำนักงานมหาวิทยาลัย » กองกายภาพและสิ่งแวดล้อม
ส่วนที่ 2 สรุปผลการดำเนินการ
กองกายภาพและสิ่งแวดล้อม ได้ดำเนินโครงการร่วมกับคณะกรรมการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การเป็นมหาวิทยาลัยสีเขียว (Green University) มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ภายในวงเงินที่ได้รับจัดสรร ซึ่งมีบางกิจกรรมที่ไม่ได้ดำเนินการ เนื่องจากเป็นกิจกรรมที่สามารถชะลอไปก่อนได้ เพื่อประหยัดงบประมาณ และกิจกรรมที่ได้ดำเนินการไปแล้ว จำนวน 9 กิจกรรม เป็นการดำเนินกิจกรรมที่ช่วยขับเคลื่อน Green University ให้มีคะแนนการประเมิน Green University Rakings มีคะแนนที่สูงขึ้น โดยในปี 2564 ได้ 7,650 คะแนน และปี 2565 ได้ 7,825 คะแนน จากคะแนนเต็ม 10,000 คะแนน
รายละเอียดการจัดอันดับ Green University ของมหาวิทยาลัยแม่โจ้ ประจำปี 2565 ดังนี้
1) ระดับโลก ได้อันดับที่ 157 จาก 1,050 มหาวิทยาลัยทั่วโลก
2) ระดับประเทศ ได้อันดับที่ 11 จาก 47 มหาวิทยาลัยไทย

ส่วนที่ 3 ความสำเร็จตามวัตถุประสงค์โครงการ
ลำดับวัตถุประสงค์ความสำเร็จ
1 เพื่อขับเคลื่อนการดำเนินงานมหาวิทยาลัยสีเขียวของมหาวิทยาลัย และสนับสนุนการดำเนินงานของคณะกรรมการทั้ง 7 ด้าน ดำเนินการขับเคลื่อนการดำเนินงานมหาวิทยาลัยสีเขียวของมหาวิทยาลัย และสนับสนุนการดำเนินงานของคณะกรรมการทั้ง 7 ด้าน
2 เพื่อดำเนินการจัดเก็บข้อมูล การรายงานข้อมูลการประเมินมหาวิทยาลัยสีเขียว ประจำปี 2565 และคะแนนที่สูงขึ้น ดำเนินการจัดเก็บข้อมูล และรายงานข้อมูลการประเมินมหาวิทยาลัยสีเขียว ประจำปี 2565 เพื่อคะแนนที่สูงขึ้น
3 เพื่อให้ความรู้ สร้างความเข้าใจ ผลักดันให้เกิดความร่วมมือของบุคลากรและนักศึกษาในการจัดการของเสียอย่างยั่งยืน ดำเนินการให้ความรู้ สร้างความเข้าใจ ผลักดันให้เกิดความร่วมมือของบุคลากรและนักศึกษาในการจัดการของเสียของมหาวิทยาลัย
4 เพื่อพัฒนาระบบรวบรวมและกำจัดขยะเศษอาหารอย่างถูกวิธี เพิ่มประสิทธิภาพการจัดการขยะอินทรีย์ประเภทเศษอาหารแบบครบวงจร และพัฒนาโมเดลการกำจัดขยะอินทรีย์ประเภทเศษอาหาร โดยแปรสภาพเป็นผลิตภัณฑ์มูลค่าเพิ่ม พัฒนาระบบรวบรวมและกำจัดขยะเศษอาหารอย่างถูกวิธี เพิ่มประสิทธิภาพการจัดการขยะอินทรีย์ประเภทเศษอาหารแบบครบวงจร และพัฒนาโมเดลการกำจัดขยะอินทรีย์ประเภทเศษอาหาร โดยแปรสภาพเป็นผลิตภัณฑ์มูลค่าเพิ่ม
5 เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจการเป็นมหาวิทยาลัยสีเขียวในกลุ่มนักศึกษา จัดกิจกรรมสร้างความรู้ความเข้าใจการเป็นมหาวิทยาลัยสีเขียวในกลุ่มนักศึกษา
ส่วนที่ 4 รายงานผลความสำเร็จตามเป้าหมายตัวชี้วัด
ผลผลิตที่ 1 : 1.ข้อมูลประเภทและปริมาณของเสียจากห้องปฏิบัติการ และนำส่งไปกำจัดอย่างถูกวิธี (เกณฑ์ UI WS5 ค่าเป้าหมาย UI 225 คะแนน จาก 150)
ตัวชี้วัดประเภทหน่วยนับเป้าหมายผลลัพธ์ความสำเร็จ
1. ร้อยละของเจ้าหน้าที่ประจำห้องปฏิบัติการมีความรู้ ความเข้าใจในการบันทึกข้อมูลของเสียจากห้องปฏิบัติการ
เอกสารประกอบตัวชี้วัด
- รายงานโครงการ หมวดของเสีย ปี 65.pdf
เชิงคุณภาพ ร้อยละ 85 0.00
2. ร้อยละของปริมาณของเสียจากห้องปฏิบัติการที่ถูกนำไปกำจัดอย่างถูกวิธี
เอกสารประกอบตัวชี้วัด
- รายงานโครงการ หมวดของเสีย ปี 65.pdf
เชิงปริมาณ ร้อยละ 95 0.00
รวม      0.00
ผลผลิตที่ 2 : 2.บุคลากรและนักศึกษาแยกขยะได้ถูกต้องและมีแนวคิดในการต่อยอดสร้างมูลค่าให้กับขยะ (เกณฑ์ UI WS1, WS2)
ตัวชี้วัดประเภทหน่วยนับเป้าหมายผลลัพธ์ความสำเร็จ
1. จำนวนขยะพลาสติกที่แยกได้ อย่างน้อย 1 กิโลกรัมต่อหน่วยงาน (WS1 ค่าเป้าหมาย UI 225 คะแนน จาก 150)
เอกสารประกอบตัวชี้วัด
- รายงานโครงการ 65 DIY (อ.มุจลินทร์).pdf
เชิงปริมาณ กิโลกรัม 10 0.00
2. จำนวนนักศึกษาที่เข้าร่วม อย่างน้อย (WS1 ค่าเป้าหมาย UI 225 คะแนน จาก 150)
เอกสารประกอบตัวชี้วัด
- รายงานโครงการ 65 DIY (อ.มุจลินทร์).pdf
เชิงปริมาณ คน 20 0.00
3. ร้อยละความเข้าใจของบุคลากรและนักศึกษาเกี่ยวกับ zero waste
เอกสารประกอบตัวชี้วัด
- รายงานโครงการ 65 DIY (อ.มุจลินทร์).pdf
เชิงคุณภาพ ร้อยละ 85 0.00
4. ร้อยละความพึงพอใจของผู้เข้าร่วม
เอกสารประกอบตัวชี้วัด
- รายงานโครงการ 65 DIY (อ.มุจลินทร์).pdf
เชิงคุณภาพ ร้อยละ 85 0.00
5. จำนวนกระถางที่ผลิตได้จากขยะพลาสติก อย่างน้อย 1 ชิ้นงานต่อหน่วยงาน (WS2 ค่าเป้าหมาย UI 300 คะแนน)
เอกสารประกอบตัวชี้วัด
- รายงานโครงการ 65 DIY (อ.มุจลินทร์).pdf
เชิงปริมาณ ชิ้นงาน 10 0.00
6. จำนวนส่วนงานที่เข้าร่วม (WS 1 ค่าเป้าหมาย UI 225 คะแนน จาก 150) อย่างน้อย
เชิงปริมาณ หน่วยงาน 10 0.00
รวม      0.00
ผลผลิตที่ 3 : 3.บุคลากรและนักศึกษามีความเข้าใจและเกิดความตระหนักในการจัดการขยะภายในมหาวิทยาลัย เพื่อนำไปสู่สังคมปลอดขยะ (เกณฑ์ UI WS1, WS2)
ตัวชี้วัดประเภทหน่วยนับเป้าหมายผลลัพธ์ความสำเร็จ
1. กิจกรรมที่ช่วยรณรงค์และส่งเสริมการจัดการของเสียในมหาวิทยาลัยแม่โจ้ (WS2 ค่าเป้าหมาย UI 225 300 คะแนน จาก 300)
เอกสารประกอบตัวชี้วัด
- รายงานโครงการ MJU to ZERO Waste (อ.มุจลินทร์).pdf
เชิงปริมาณ กิจกรรม 2 0.00
2. ร้อยละของบุคลากรและนักศึกษาที่มีความเข้าใจเกี่ยวกับ zero waste เพิ่มขึ้นหรือในระดับดี มากกว่า (WS1 ค่าเป้าหมาย UI 225 คะแนน จาก150 และ WS2 300 คะแนน จาก300)
เอกสารประกอบตัวชี้วัด
- รายงานโครงการ MJU to ZERO Waste (อ.มุจลินทร์).pdf
เชิงปริมาณ ร้อยละ 70 0.00
3. จำนวนบุคลากรและนักศึกษาเข้าร่วมโครงการ อย่างน้อย 200 คน (onsite 50 ออนไลน์ 150 คน) (WS1 ค่าเป้าหมาย UI 225 คะแนน จาก 150)
เอกสารประกอบตัวชี้วัด
- รายงานโครงการ MJU to ZERO Waste (อ.มุจลินทร์).pdf
เชิงคุณภาพ คน 200 0.00
รวม      0.00
ผลผลิตที่ 4 : 4.ปริมาณขยะเศษอาหารที่สามารถกำจัดได้อย่างมีประสิทธิภาพและแปรสภาพเป็นผลิตภัณฑ์ที่มีมูลค่าเพิ่ม (เกณฑ์ UI WS3)
ตัวชี้วัดประเภทหน่วยนับเป้าหมายผลลัพธ์ความสำเร็จ
1. ปริมาณปุ๋ยที่ผลิตได้ 1 kg/ปริมาณขยะ 5 kg (WS3 ค่าเป้าหมาย UI 300 คะแนน จาก 225) เชิงปริมาณ กิโลกรัม 300 0.00
2. ศูนย์การจัดการขยะอินทรีย์จากหนอนแมลงวัน เชิงปริมาณ ศูนย์ 1 0.00
3. ประสิทธิภาพการกำจัดขยะเศษอาหาร มากกว่า เชิงปริมาณ ร้อยละ 80 0.00
4. ปริมาณหนอนแมลงวันที่ผลิตได้ 1 kg/ปริมาณขยะ 5 kg เชิงปริมาณ กิโลกรัม 300 0.00
รวม      0.00
ผลผลิตที่ 5 : 5.ข้อมูลและการจัดทำรายงาน การจัดกิจกรรม Green University ของมหาวิทยาลัย (เกณฑ์ UI ทุกข้อ)
ตัวชี้วัดประเภทหน่วยนับเป้าหมายผลลัพธ์ความสำเร็จ
1. ข้อมูลรายงานการดำเนินงาน Green University (ED7 ค่าเป้าหมาย UI 100 คะแนน จาก 100) เชิงปริมาณ ชุด 1 0.00
2. สื่อประชาสัมพันธ์ (เกณฑ์ทุกข้อของ UI)
เอกสารประกอบตัวชี้วัด
- รายงาน-กิจกรรมประกวดคลิป ปี 65.pdf
เชิงปริมาณ เรื่อง 1 0.00
3. คะแนนการจัดอันดับ Green University Ranking (KPI แผนมหาวิทยาลัย ปี 2565) (เกณฑ์ทุกข้อของ UI)
เอกสารประกอบตัวชี้วัด
- mju_ac_th_factfile_2022_full.pdf
เชิงปริมาณ คะแนน 7200 0.00
4. การอัพเดทข้อมูล MJU Green University และที่เกี่ยวข้อง (เว็บไซต์ green and sustainable (ED6) ค่าเป้าหมาย UI 200 คะแนน จาก 200)
เอกสารประกอบตัวชี้วัด
- mju_ac_th_factfile_2022_full.pdf
เชิงปริมาณ เวบไซต์ 1 0.00
รวม      0.00
ผลผลิตที่ 6 : 6.เกิดแกนนำนักศึกษาในการร่วมดำเนินกิจกรรมมหาวิทยาลัยสีเขียว
ตัวชี้วัดประเภทหน่วยนับเป้าหมายผลลัพธ์ความสำเร็จ
1. ร้อยละความรู้ความเข้าใจของนักศึกษาเกี่ยวกับมหาวิทยาลัยสีเขียว เชิงคุณภาพ ร้อยละ 80 0.00
2. จำนวนนักศึกษาเข้าร่วมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้กิจกรรมมหาวิทยาลัยสีเขียว เชิงปริมาณ คน 3000 0.00
3. สื่อประชาสัมพันธ์ เชิงปริมาณ เรื่อง 1 0.00
รวม      0.00
ผลผลิตที่ 7 : 7.ติดตั้งหลอดไฟฟ้าประหยัดพลังงาน ค่าใช้จ่ายไฟฟ้าที่ลดลง และคะแนนการประเมินมหาวิทยาลัยสีเขียว (เกณฑ์ UI EC1)
ตัวชี้วัดประเภทหน่วยนับเป้าหมายผลลัพธ์ความสำเร็จ
1. กิจกรรมการเปลี่ยนหลอดไฟฟ้าเป็นหลอดไฟฟ้าประหยัดพลังงาน (EC1 ค่าเป้าหมาย UI 150 คะแนน จาก 100) เชิงปริมาณ กิจกรรม 1 0.00
2. จำนวนหลอดไฟฟ้าแบบประหยัดพลังงาน
เอกสารประกอบตัวชี้วัด
- ใบเสนอซื้อ-หลอด LED T8-28500.pdf
เชิงปริมาณ ชุด 300 0.00
3. ข้อมูลการเปลี่ยนหลอดไฟฟ้า เชิงปริมาณ ชุด 1 0.00
รวม      0.00
ผลผลิตที่ 8 : 8.ฐานข้อมูลเครื่องใช้ไฟฟ้า ข้อมูลอาคารสีเขียว อาคารอัจฉริยะ และครุภัณฑ์ประหยัดพลังงาน (เกณฑ์ UI EC6, EC7)
ตัวชี้วัดประเภทหน่วยนับเป้าหมายผลลัพธ์ความสำเร็จ
1. ชุดข้อมูลสำรวจอาคารและครุภัณฑ์ประหยัดพลังงาน (EC6 ค่าเป้าหมาย UI 200 คะแนน จาก 200)
เชิงปริมาณ ชุด 1 0.00
2. กิจกรรมสำรวจอาคารและครุภัณฑ์ประหยัดพลังงาน (EC7 ค่าเป้าหมาย UI 150 คะแนน จาก 150)
เชิงปริมาณ กิจกรรม 1 0.00
รวม      0.00
ผลผลิตที่ 9 : 9.ข้อมูลพื้นที่ การใช้พื้นที่และอาคารของมหาวิทยาลัย (เกณฑ์ UI SI1-5, EC2, EC6 , TR5)
ตัวชี้วัดประเภทหน่วยนับเป้าหมายผลลัพธ์ความสำเร็จ
1. ข้อมูลพื้นที่ การใช้พื้นที่และอาคารของมหาวิทยาลัยแม่โจ้ จังหวัดเชียงใหม่ (SI คะแนนรวม 1,400 คะแนน จากเดิม 1,250) เชิงปริมาณ ชุด 1 0.00
รวม      0.00
ผลผลิตที่ 10 : 10.ติดตั้งอ่างล้างมืออาคารส่วนกลาง จำนวน 10 จุด (เกณฑ์ UI SI7, WR5)
ตัวชี้วัดประเภทหน่วยนับเป้าหมายผลลัพธ์ความสำเร็จ
1. ติดตั้งอ่างล้างมือ (SI 7 ค่าเป้าหมาย UI 50 คะแนน จากเดิม 25)
เชิงปริมาณ จุด 10 0.00
2. การติดตั้งอ่างล้างมือตามแบบที่กำหนด (WR5 ค่าเป้าหมาย UI 150 คะแนน จากเดิม 100)
เชิงคุณภาพ ร้อยละ 85 0.00
รวม      0.00
ผลผลิตที่ 11 : 11.ปรับปรุงผิวถนนทางเข้าฐานเรียนรู้ 35 ไร่ จำนวน 1 เส้น (เกณฑ์ UI SI)
ตัวชี้วัดประเภทหน่วยนับเป้าหมายผลลัพธ์ความสำเร็จ
1. การปรับปรุงผิวถนนทางเข้าฐานเรียนรู้ 35 ไร่ แล้วเสร็จ
เชิงปริมาณ รายการ 1 0.00
รวม      0.00
ร้อยละความสำเร็จของการดำเนินโครงการตามตัวชี้วัดมีค่าเท่ากับ 0.00
ส่วนที่ 5 ช่วงวันที่ดำเนินงาน
ช่วงเวลาตามแผน ช่วงเวลาดำเนินงานตามจริง
21/06/2565  - 31/12/2565 21/06/2565  - 31/12/2565
ส่วนที่ 6 ภาพประกอบการทำโครงการ