โครงการเตรียมความพร้อมและส่งเสริมการจัดกิจกรรมของนักศึกษาเพื่อก้าวสู่หลักสูตรวิชาชีพทางด้านเทคโนโลยีภูมิทัศน์ในศตวรรษที่ 21 (65-2.1.2)
ส่วนที่ 1 หน่วยงานที่รับผิดชอบ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ » คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบสิ่งแวดล้อม
ส่วนที่ 2 สรุปผลการดำเนินการ
ยังไม่มีข้อมูล
ส่วนที่ 3 ความสำเร็จตามวัตถุประสงค์โครงการ
ลำดับวัตถุประสงค์ความสำเร็จ
1 เพื่อการพัฒนาศักยภาพนักศึกษาเพื่อเตรียมตวามพร้อมการเข้าสู่หลักสูตรวิชาชีพโดยมุ่งสร้างเครือข่ายศิษย์เก่า ชุมชน องค์กรส่วนท้องถิ่น เครือข่ายวิชาชีพเทคโนโลยีภูมิทัศน์ ยังไม่มีข้อมูล
2 เพื่อบูรณาการ การเรียนการสอน งานด้านวิชาการ ร่วมกับกิจกรรม งานวิจัยและงานบริการวิชาการ หรืองานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม ยังไม่มีข้อมูล
3 เพื่อให้นักศึกษาของหลักสูตรเทคโนโลยีภูมิทัศน์ได้รับการพัฒนาทักษะเพื่อเตรียมความพร้อมในการ ก้าวสู่หลักสูตรวิชาชีพในศตวรรษที่ 21 (โดยผ่านกระบวนการเรียนการสอน โครงการกิจกรรม งานวิจัยและบริการวิชาการ และกิจกรรมร่วมกับเครือข่ายทุกภาคส่วน) ยังไม่มีข้อมูล
4 เพื่อส่งเสริมประสบการณ์การเรียนรู้ให้แก่ผู้เรียนได้มีกิจกรรมเสริมด้านการพัฒนาด้านวิชาชีพ ด้าน การเรียนรู้บูรณาการ รูปแบบการเรียนรู้ จากแหล่งเรียนรู้ที่เหมาะสม คำนึงถึงความสามารถเฉพาะของนักศึกษา โดยเน้นปลูกฝังการตระหนักถึงนิเวศน์สิ่งแวดล้อมและการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน ยังไม่มีข้อมูล
5 เพื่อพัฒนาคุณภาพของผู้เรียนและบัณฑิตตามกรอมมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ ด้าน หารให้มีความคิดสร้างสรรค์และวิสัยทัศน์ที่กว้างไกล ตามคุณสมบัติบัณฑิตพังประสงค์ โดยเน้นประสบการณ์ด้านสิ่งแวดล้อม ภูมิทัศน์ ผังพื้นที่ ผังเมือง ภูมิสถาปัตยกรรม วัฒนธรรม สถาปัยกรรม ด้วยการเรียนรู้จากบริบทสภาพพื้นที่ ยังไม่มีข้อมูล
6 เพื่อศักยภาพของนักศึกษาและบัณฑิตของหลักสูตรเทคโนโลยีภูมิทัศน์ให้ดียิ่งขึ้นและสอดคล้องความ ต้องการทางวิชาชีพ ยังไม่มีข้อมูล
ส่วนที่ 4 รายงานผลความสำเร็จตามเป้าหมายตัวชี้วัด
ผลผลิตที่ 1 : ผลการเตรียมความพร้อมและส่งเสริมการจัดกิจกรรมของนักศึกษาเพื่อก้าวสู่หลักสูตรวิชาชีพทางด้านเทคโนโลยีภูมิทัศน์ในศตวรรษที่ 21
ตัวชี้วัดประเภทหน่วยนับเป้าหมายผลลัพธ์ความสำเร็จ
1. ผลการประเมินงานออกแบบภูมิทัศน์ คณาจารย์และนักศึกษาที่ร่วมบูรณาการ ร่วมงานวิจัย บูรณาบริการวิชาการ หรือการทำนุบำรุงศิลปะวัฒนธรรม
เชิงคุณภาพ ร้อยละ 80 0.00
2. จำนวนนักศึกษาได้ฝึกปฏิบัติการ บริการบริการวิชาการร่วมชุมชน องค์กร เครือข่ายวิชาชีพ
เชิงปริมาณ คน 30 0.00
3. จำนวนผลงานออกแบบนักศึกษาที่ส่งเข้าประกวด
เชิงปริมาณ ผลงาน 2 0.00
4. จำนวนกิจกรรมด้านการเรียนการสอนที่บูรณาการงานวิจัย บริการวิชาการ หรือการทำนุบำรุงศิลปะวัฒนธรรม
เชิงปริมาณ ผลงาน 3 0.00
5. ผลประเมินจากองค์กรร่วม เครือข่ายวิชาชีพ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทางวิชาชีพ นักศึกษาได้พัฒนาศักยภาพร่วมกับภาคีเครือข่าย ศิษย์เก่า ชุมชน เครือข่ายทางวิชาการ วิชาชีพ
เชิงคุณภาพ ร้อยละ 80 0.00
6. จำนวนกิจกรรมพัฒนาหลักสูตรร่วมกับเครือข่ายศิษย์เก่า
เชิงปริมาณ คน 30 0.00
7. นักศึกษาที่ได้รับการพัฒนาตามเกณฑ์การเรียนรู้ศตวรรษที่ 21 (การเรียนการสอน ร่วมงานวิจัย Workshop ร่วมเครือข่าย)
เชิงคุณภาพ ร้อยละ 80 0.00
รวม      0.00
ร้อยละความสำเร็จของการดำเนินโครงการตามตัวชี้วัดมีค่าเท่ากับ 0.00
ส่วนที่ 5 ช่วงวันที่ดำเนินงาน
ช่วงเวลาตามแผน ช่วงเวลาดำเนินงานตามจริง
22/11/2564  - 30/09/2565 24/11/2564  - 28/09/2565
ส่วนที่ 6 ภาพประกอบการทำโครงการ