โครงการ "ป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในสถานศึกษา"
ส่วนที่ 1 หน่วยงานที่รับผิดชอบ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ » มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร
ส่วนที่ 2 สรุปผลการดำเนินการ
ปัญหายาเสพติดที่มีการแพร่ระบาดในทุกพื้นที่ของประเทศไทย ได้ทวีความรุนแรงมากขึ้นทุกขณะ ส่งผลกระทบต่อการพัฒนาประเทศทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคมและสิ่งแวดล้อม รวมทั้งทางด้านการเมือง และความมั่นคงของประเทศ ประกอบกับกลุ่มเด็กและเยาวชนเป็นวัยที่อยากรู้อยากลอง จึงถูกชักจูงให้ใช้สิ่งเสพติดได้ง่าย จากปัญหา ทางด้านเศรษฐกิจ สังคม ความเปลี่ยนแปลงในด้านต่างๆ ทำให้คนเกิดอารมณ์เครียด มีปัญหาทางด้านจิตใจ จึง หันไปใช้สิ่งเสพติดเพื่อลดความเครียดของจิตใจลง มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพรเป็นส่วนหนึ่งของชุมชนและสังคม นอกจากให้ความรู้ในด้านต่าง ๆ แก่นักศึกษาแล้วยังต้องมี หน้าที่รับผิดชอบดูแลสุขภาพพลานามัยให้สมบูรณ์อยู่เสมอ แต่ในสภาพปัจจุบันปัญหายาเสพติดซึ่งมาในรูปแบบ และวิธีการต่าง ๆ แพร่หลายเข้าไปสู่เยาวชนและสถานศึกษา ต่าง ๆ มากยิ่งขึ้น ทางมหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร จึงมีความจำเป็น ที่จะหาแนวทางป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดดังกล่าวมิให้เกิดขึ้นในมหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร
งานกิจการนักศึกษามหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพรได้ตระหนักและเล็งเห็นถึงความสำคัญของการเสริมสร้างภูมิคุ้มกันยาเสพติดให้กับนักศึกษาและเยาวชน จึงได้จัดทำโครงการฝึกอบรมให้ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับยาเสพติดแก่นักศึกษาและเยาวชน ให้ตระหนักถึงโทษและพิษภัยของยาเสพติด เสริมสร้างทักษะชีวิตเพื่อหลีกเลี่ยงยาเสพติดจากปัจจัยยั่วยุต่างๆอันจะเกิดประโยชน์ต่อตนเองตลอดจนแนะนำผู้อื่นต่อไป
ส่วนที่ 3 ความสำเร็จตามวัตถุประสงค์โครงการ
ลำดับวัตถุประสงค์ความสำเร็จ
1 1.เพื่อสร้างสภาวะการเป็นผู้นำด้านการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด สร้างเครือข่ายนักศึกษาทำงานด้านการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดมหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร สร้างสภาวะการเป็นผู้นำด้านการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด สร้างเครือข่ายนักศึกษาทำงานด้านการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดมหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร
2 2. เพื่อให้นักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการได้รับทราบและสามารถหลีกเลี่ยงจากปัญหายาเสพติด ให้นักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการได้รับทราบและสามารถหลีกเลี่ยงจากปัญหายาเสพติด
ส่วนที่ 4 รายงานผลความสำเร็จตามเป้าหมายตัวชี้วัด
ผลผลิตที่ 1 : นักศึกษาสามารถเป็นผู้นำด้านการป้องกันปัญหาจากยาเสพติดได้ และเป็นการสร้างเครือข่ายนักศึกษาช่วยทำงานด้านการป้องกันยาเสพติดในมหาวิทยาลัยได้
ตัวชี้วัดประเภทหน่วยนับเป้าหมายผลลัพธ์ความสำเร็จ
1. การบรรลุวัตถุประสงค์ของโครงการ
เชิงคุณภาพ ร้อยละ 80 0.00
2. ร้อยละความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการ
เชิงคุณภาพ ร้อยละ 80 0.00
3. ร้อยละโครงการแล้วเสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
เชิงเวลา ร้อยละ 80 0.00
4. จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
เชิงปริมาณ คน 50 0.00
รวม      0.00
ร้อยละความสำเร็จของการดำเนินโครงการตามตัวชี้วัดมีค่าเท่ากับ 0.00
ส่วนที่ 5 ช่วงวันที่ดำเนินงาน
ช่วงเวลาตามแผน ช่วงเวลาดำเนินงานตามจริง
01/12/2564  - 30/09/2565 09/03/2565  - 09/03/2565
ส่วนที่ 6 ภาพประกอบการทำโครงการ