โครงการจิตอาสา ทำดีเพื่อแม่ ทำดีเพื่อแผ่นดิน
ส่วนที่ 1 หน่วยงานที่รับผิดชอบ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ » มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ
ส่วนที่ 2 สรุปผลการดำเนินการ
สรุปผลแบบประเมิน
โครงการจิตอาสา ทำดีเพื่อแม่ ทำดีเพื่อแผ่นดิน ประจำปี 2563
วันพุธที่ ๑๒ สิงหาคม 2563
ณ มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ
ผลประเมินประเมินความพึงพอใจการโครงการเสริมสร้างสมรรถนะการทำงานเป็นทีม แบ่งเป็น ๒ ส่วน ได้แก่
ส่วนที่ ๑ ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม
ส่วนที่ ๒ ความพึงพอใจต่อโครงการ ความหมายระดับของการประเมิน

ส่วนที่ ๑ ข้อมูลทั่วไป ปรากฎตามตารางที่ ๑
ตารางที่ ๑ ข้อมูลทั่วไป
ข้อมูลทั่วไป จำนวน
(n=101) ร้อยละ
๑. เพศ

- ชาย
- หญิง

๕๒
๗๑

๔๒.๒๘
57.72
๒. สถานะ

- บุคลากรสายวิชาการ
- บุคลากรสายสนับสนุนวิชาการ
- นักศึกษา

9
13
101

7.32
10.57
82.11

ผู้ตอบแบบประเมินส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง จำนวน 71 คน คิดเป็นร้อยละ 57.72 และส่วนใหญ่เป็นนักศึกษาจำนวน 101 คน คิดเป็นร้อยละ 82.11

ส่วนที่ ๒ ความพึงพอใจต่อโครงการ ความหมายระดับของการประเมิน
เกณฑ์การประเมินความพึงพอใจแยกเป็น ๕ ระดับ และคิดช่วงคะแนน โดยคำนวณจากสูตร
ช่วงคะแนน = คะแนนสูงสุด – คะแนนต่ำสุด
จำนวนอันตรภาคชั้น
= ๕-๑/๕
= ๐.๘๐
ดังนั้น ช่วงคะแนน ๑.๐๐-๑.๘๐ หมายถึง พอใจน้อยที่สุด
ช่วงคะแนน ๑.๘๑-๒.๖๐ หมายถึง พอใจน้อย
ช่วงคะแนน ๒.๖๑-๓.๔๐ หมายถึง พอใจ
ช่วงคะแนน ๓.๔๑-๔.๒๐ หมายถึง พอใจมาก
ช่วงคะแนน ๔.๒๑-๕.๐๐ หมายถึง พอใจมากที่สุด





ตารางที่ ๒ ความพึงพอใจต่อโครงการ ความหมายระดับของการประเมิน

x? SD แปลผล
กระบวนการ ขั้นตอนการของกิจกรรม
1. การประชาสัมพันธ์โครงการ ให้รับทราบก่อนเริ่มโครงการ 4.11 0.86 พอใจมาก
2. ความเหมาะสมของสถานที่ 4.16 0.75 พอใจมาก
3. ความเหมาะสมของระยะเวลา 4.10 0.77 พอใจมาก
4. การจัดลำดับขั้นตอนของกิจกรรม 4.02 0.80 พอใจมาก
การอำนวยความสะดวก
5. โสตทัศนูปกรณ์ 4.05 0.79 พอใจมาก
6. เจ้าหน้าที่สนับสนุนกิจกรรม 4.21 0.72 พอใจมากที่สุด
คุณภาพของโครงการ
8. กิจกรรมสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ ของโครงการ 4.28 0.68 พอใจมากที่สุด
9. ความพึงพอใจที่เพิ่มขึ้นหลังเสร็จสิ้นกิจกรรม 4.14 0.80 พอใจมาก
10. ประโยชน์ที่ได้เข้าร่วมกิจกรรมต่อท่าน 4.24 0.73 พอใจมากที่สุด
11. ความต้องการให้มีกิจกรรมนี้อีกในอนาคต 4.12 0.91 พอใจมาก
สรุปผลในภาพรวม 4.14 0.79 พอใจมาก


สรุปผลประเมินความพึงพอใจ
คะแนนความพึงพอใจด้านกิจกรรมสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของโครงการอยู่ในระดับพอใจมากที่สุด (มีค่าเฉลี่ย = 4.28, ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน = 0.68) รองลงมาคือ ประโยชน์ที่ได้เข้าร่วมกิจกรรมต่อท่าน มีผลการประเมินอยู่ในระดับ พอใจมากที่สุด(ค่าเฉลี่ย = 4.24, ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน =0.73) และด้านการจัดลำดับขั้นตอนของกิจกรรม มีผลการประเมินต่ำสุดอยู่ในระดับพอใจมาก (ค่าเฉลี่ย = 4.02, ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน =0.80)

ตารางที่ ๓ ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม
1. อยากให้มีการทำบุญตักบาตร
๒. เป็นกิจกรรมที่ดี
3. เป็นโครงการที่ยอดเยี่ยม
4. สถานที่เล็กเกินไป มีการแออัดกันมาก
5. ไม่ควรให้นักศึกษาปี 1 เดินไกลขนาดนั้น เกือบจะถึงหน้าทางเข้ามหาวิทยาลัยอยู่แล้ว
6. ทำไมไม่ให้น้องปี 1 เขาร่วมเพียงสาขาเดียว
7. การประสานงานของผู้จัดงานยังไม่เข้าใจกัน งานดูวุ่นวายมาก
8. ควรแจ้งกำหนดการที่ชัดเจน

ส่วนที่ 3 ความสำเร็จตามวัตถุประสงค์โครงการ
ลำดับวัตถุประสงค์ความสำเร็จ
1 1.เพื่อส่งเสริมและปลูกจิตสำนึกให้ผู้บริหาร บุคลากรและนักศึกษามหาวิทยาลัยแม่โจ้ ได้แสดงออกถึงความจงรักภักดีต่อสถาบันพระมหากษัตริย์ ส่งเสริมและปลูกจิตสำนึกให้ผู้บริหาร บุคลากรและนักศึกษามหาวิทยาลัยแม่โจ้ ได้แสดงออกถึงความจงรักภักดีต่อสถาบันพระมหากษัตริย์
2 2.เพื่อเป็นการเฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง เป็นการเฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง
3 3.เพื่อปลุกจิตสำนึกด้านจิตสาธารณะ ปลุกจิตสำนึกด้านจิตสาธารณะ
ส่วนที่ 4 รายงานผลความสำเร็จตามเป้าหมายตัวชี้วัด
ผลผลิตที่ 1 : โครงการจิตอาสา ทำดีเพื่อแม่ ทำดีเพื่อแผ่นดิน
ตัวชี้วัดประเภทหน่วยนับเป้าหมายผลลัพธ์ความสำเร็จ
1. ร้อยละความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการ
เอกสารประกอบตัวชี้วัด
- สรุปผลโครงการจิตอาสา
เชิงคุณภาพ ร้อยละ 80 0.00
2. จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
เอกสารประกอบตัวชี้วัด
- จิตอาสา จนท.
- จิตอาสา 62
- จิตอาสารุ่นพี่
เชิงปริมาณ คน 250 0.00
รวม      0.00
ร้อยละความสำเร็จของการดำเนินโครงการตามตัวชี้วัดมีค่าเท่ากับ 0.00
ส่วนที่ 5 ช่วงวันที่ดำเนินงาน
ช่วงเวลาตามแผน ช่วงเวลาดำเนินงานตามจริง
30/06/2563  - 30/09/2563 12/08/2563  - 12/08/2563
ส่วนที่ 6 ภาพประกอบการทำโครงการ