โครงการมหาวิทยาลัยแม่โจ้มุ่งสู่มหาวิทยาลัยสีเขียว (Green University)
ส่วนที่ 1 หน่วยงานที่รับผิดชอบ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ » สำนักงานมหาวิทยาลัย » กองกายภาพและสิ่งแวดล้อม
ส่วนที่ 2 สรุปผลการดำเนินการ
ยังไม่มีข้อมูล
ส่วนที่ 3 ความสำเร็จตามวัตถุประสงค์โครงการ
ลำดับวัตถุประสงค์ความสำเร็จ
1 เพื่อพัฒนามหาวิทยาลัยแม่โจ้การเป็นมหาวิทยาลัยสีเขียว (Green University) โดยกระบวนการจัดกิจกรรมที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ลดการใช้พลังงานไฟฟ้า การใช้ทรัพยากรอย่างรู้คุณค่า ลดการเกิดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม มีการพัฒนามหาวิทยาลัยแม่โจ้การเป็นมหาวิทยาลัยสีเขียว (Green University) โดยกระบวนการจัดกิจกรรมที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ลดการใช้พลังงานไฟฟ้า การใช้ทรัพยากรอย่างรู้คุณค่า ลดการเกิดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
2 เพื่อจัดตั้งศูนย์บริหารจัดการขยะมหาวิทยาลัยแม่โจ้ มีการบริหารจัดการขยะที่มีประสิทธิภาพและครบวงจร มีการจัดตั้งศูนย์บริหารจัดการขยะมหาวิทยาลัยแม่โจ้ มีการบริหารจัดการขยะที่มีประสิทธิภาพและครบวงจร โดยในระยะแรกได้มีการปรับปรุงโรงพักขยะ และจ้างเหมาเจ้าหน้าที่โครงการ เพื่อผลิตปุ๋ยหมักจากเศษใบไม้ สำหรับใช้ในมหาวิทยาลัย และแจกจ่ายให้กับบุคลากร
3 เพื่อสนับสนุนและส่งเสริมการพัฒนามหาวิทยาลัยให้ได้รับการรับรอง และมีผลคะแนนการดำเนินการมหาวิทยาลัยสีเขียว (Green University) เพิ่มขึ้นจากปี 2562 ดำเนินการสนับสนุนและส่งเสริมการพัฒนามหาวิทยาลัยให้ได้รับการรับรอง และโดยมีผลคะแนนการดำเนินการมหาวิทยาลัยสีเขียว (Green University) เพิ่มขึ้นจากปี 2562
4 เพื่อสร้างผลงานวิจัย/ฐานข้อมูลเกี่ยวกับการจัดการของเสียและขยะ สำหรับนำมาใช้ประโยชน์ในการพัฒนาการดำเนินการจัดการของเสียและขยะของมหาวิทยาลัย มีการสร้างผลงานวิจัย/ฐานข้อมูลเกี่ยวกับการจัดการของเสียและขยะ สำหรับนำมาใช้ประโยชน์ในการพัฒนาการดำเนินการจัดการของเสียและขยะของมหาวิทยาลัย
ส่วนที่ 4 รายงานผลความสำเร็จตามเป้าหมายตัวชี้วัด
ผลผลิตที่ 1 : มหาวิทยาลัยแม่โจ้เป็นมหาวิทยาลัยสีเขียว (Green University) มีการดำเนินกิจกรรมที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ลดการใช้พลังงานไฟฟ้า มีการใช้ทรัพยากรอย่างรู้คุณค่า ลดการเกิดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
ตัวชี้วัดประเภทหน่วยนับเป้าหมายผลลัพธ์ความสำเร็จ
1. การมีส่วนร่วมในการดำเนินกิจกรรม นักศึกษา และบุคลากร
เชิงคุณภาพ ร้อยละ 80 0.00
2. ร้อยละของโครงการที่แล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
เชิงเวลา ร้อยละ 80 0.00
3. ความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม
เชิงคุณภาพ ร้อยละ 80 0.00
4. ความพึงพอใจเกี่ยวกับการจัดสภาพแวดล้อมและการรักษาสิ่งแวดล้อมของมหาวิทยาลัย
เชิงคุณภาพ ร้อยละ 80 0.00
5. จำนวนกิจกรรมที่ดำเนินการ
เชิงปริมาณ กิจกรรม 21 0.00
6. ค่าใช้จ่ายค่าใช้ไฟฟ้าของมหาวิทยาลัยลดลง
เชิงคุณภาพ ร้อยละ 10 0.00
รวม      0.00
ผลผลิตที่ 2 : มหาวิทยาลัยมีกระบวนการจัดการขยะที่มีประสิทธิภาพและครบวงจร
ตัวชี้วัดประเภทหน่วยนับเป้าหมายผลลัพธ์ความสำเร็จ
1. ปริมาณปุ๋ยอินทรีย์ที่ได้หลังการดำเนินโครงการ
เชิงปริมาณ กก. 36000 0.00
2. ศูนย์บริหารจัดการขยะมหาวิทยาลัยแม่โจ้
เชิงปริมาณ ศูนย์ 1 0.00
3. ลดปริมาณขยะมูลฝอยที่ต้องกำจัดด้วยการฝังกลบ
เชิงปริมาณ กก. 30000 0.00
รวม      0.00
ผลผลิตที่ 3 : มหาวิทยาลัยได้รับการรับรองการเป็นมหาวิทยาลัยสีเขียว (Green University) โดยมีผลคะแนนการดำเนินการมหาวิทยาลัยสีเขียว (Green University) เพิ่มขึ้นจากปี 2562
ตัวชี้วัดประเภทหน่วยนับเป้าหมายผลลัพธ์ความสำเร็จ
1. จำนวนงานวิจัยหรือการศึกษาข้อมูลที่เกี่ยวข้องหรือสอดคล้องกับ Green University
เชิงปริมาณ เรื่อง 4 0.00
2. แบบผังแนวคิดภูมิทัศน์การเพิ่มพื้นที่สีเขียวองค์กร
เชิงปริมาณ หน่วยงาน 5 0.00
3. คะแนนในการเข้ารับการประเมินมหาวิทยาลัยสีเขียว (Green University)
เชิงปริมาณ คะแนน 6500 0.00
4. เว็บไซต์มหาวิทยาลัยสีเขียว
เชิงปริมาณ เว็บไซต์ 1 0.00
รวม      0.00
ผลผลิตที่ 4 : ผลงานวิจัย/ฐานข้อมูลเกี่ยวกับการจัดการของเสียและขยะ และนำมาใช้ประโยชน์ในการพัฒนาการดำเนินการจัดการของเสียและขยะของมหาวิทยาลัย
ตัวชี้วัดประเภทหน่วยนับเป้าหมายผลลัพธ์ความสำเร็จ
1. แอปพลิเคชันในการส่งเสริมการคัดแยกขยะ
เชิงปริมาณ ระบบ 1 0.00
2. ข้อมูลการทิ้งและคัดแยกขยะรีไซเคิล อย่างน้อย 50% ของปริมาณถังทั้งหมด
เชิงคุณภาพ ร้อยละ 100 0.00
รวม      0.00
ร้อยละความสำเร็จของการดำเนินโครงการตามตัวชี้วัดมีค่าเท่ากับ 0.00
ส่วนที่ 5 ช่วงวันที่ดำเนินงาน
ช่วงเวลาตามแผน ช่วงเวลาดำเนินงานตามจริง
05/05/2563  - 31/12/2563 ยังไม่มีข้อมูล  - ยังไม่มีข้อมูล
ส่วนที่ 6 ภาพประกอบการทำโครงการ