โครงการเปิดบ้านแม่โจ้-ชุมพร เพื่อชุมชน
ส่วนที่ 1 หน่วยงานที่รับผิดชอบ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ » มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร
ส่วนที่ 2 สรุปผลการดำเนินการ
เกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการปลูกผักเหลียงแบบอินทรีย์
เกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการวิเคราะห์ดินเบื้องต้น
เกษตรกรสามารถนำความรู้ความเข้าใจการจัดอบรมการปลุกผักเหลียงอินทรีย์ไปต่อยอดเป็นอาชีพเสริมสร้างรายได้ให้แก่ครัวเรือน
ส่วนที่ 3 ความสำเร็จตามวัตถุประสงค์โครงการ
ลำดับวัตถุประสงค์ความสำเร็จ
1 เพื่อถ่ายทอดองค์ความรู้ด้านวิชาการเกษตรให้แก่ นักศึกษา บุคลากรและผู้สนใจ เกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการปลูกผักเหลียงแบบอินทรีย์
2 เพื่อบูรณาการองค์ความรู้ด้านการบริการวิชาการร่วมกับการเรียนการสอน และการบริการวิชาการแก่ชุมชนและสังคม สามารถนำองค์ความรู้ไปเผยแพร่ บริการวิชาการแก่เกษตรกรที่สนใจ

3 เพื่อประชาสัมพันธ์มหาวิทยาลัยและสาขาวิชาที่เปิดการเรียนการสอนในมหาวิทยาลัมแม่โจ้-ชุมพร ให้เป็นที่รู้จักมากขึ้น เป็นการประชาสัมพันธ์มหาวิทยาลัยและสาขาวิชาที่เปิดการเรียนการสอนในมหาวิทยาลัมแม่โจ้-ชุมพร ให้เป็นที่รู้จักมากขึ้น
4 เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้มีการนำความรู้ของอาจารย์และบุคลากรมาบูรณาการเข้ากับการเรียนการสอน การวิจัย และถ่ายทอดเป็น งานบริการวิชาการสู่เกษตรและชุมชน เป็นการส่งเสริมและสนับสนุนให้มีการนำความรู้ของอาจารย์และบุคลากรมาบูรณาการเข้ากับการเรียนการสอน การวิจัย และถ่ายทอดเป็น งานบริการวิชาการสู่เกษตรและชุมชน
5 เพื่อสนับสนุนโครงการ/กิจกรรมการให้บริการวิชาการแก่สังคม ให้เกิดความร่วมมือกับประชาชนทุกระดับและชุมชน โดยการถ่ายทอดองค์ ความรู้และเทคโนโลยีที่เหมาะสม เป็นการสนับสนุนโครงการ/กิจกรรมการให้บริการวิชาการแก่สังคม ให้เกิดความร่วมมือกับประชาชนทุกระดับและชุมชน โดยการถ่ายทอดองค์ ความรู้และเทคโนโลยีที่เหมาะสม
ส่วนที่ 4 รายงานผลความสำเร็จตามเป้าหมายตัวชี้วัด
ผลผลิตที่ 1 : มหาวิทยาลัยแม่โจ้ - ชุมพร เป็นแหล่งเรียนรู้และมีเครือข่ายความร่วมมือด้านการศึกษา ด้านการบริการวิชาการกับหน่วยงานภายนอก เป็นแหล่งถ่ายทอดองค์ความรู้สู่ชุมชน และมีพื้นที่การจัดกิจกรรมในการให้บริการวิชาการด้านต่างๆ
ตัวชี้วัดประเภทหน่วยนับเป้าหมายผลลัพธ์ความสำเร็จ
1. จำนวนผู้เข้ารับบริการ ที่มีความรู้เพิ่มขึ้น จากการเข้ารับบริการ
เชิงปริมาณ ร้อยละ 80 0.00
2. จำนวนผู้เข้ารับบริการ เชิงปริมาณ คน 340 0.00
3. ร้อยละความพึงพอใจของผู้เข้ารับบริการ หน่วยงาน องค์กร ที่ได้รับบริการวิชาการและวิชาชีพต่อประโยชน์จากการบริการ เชิงคุณภาพ ร้อยละ 80 0.00
รวม      0.00
ร้อยละความสำเร็จของการดำเนินโครงการตามตัวชี้วัดมีค่าเท่ากับ 0.00
ส่วนที่ 5 ช่วงวันที่ดำเนินงาน
ช่วงเวลาตามแผน ช่วงเวลาดำเนินงานตามจริง
01/12/2562  - 31/08/2563 01/12/2562  - 31/08/2563
ส่วนที่ 6 ภาพประกอบการทำโครงการ