โครงการเศรษฐศาสตร์สืบสานศิลปวัฒนธรรม ประจำปี 2562
ส่วนที่ 1 หน่วยงานที่รับผิดชอบ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ » คณะเศรษฐศาสตร์
ส่วนที่ 2 สรุปผลการดำเนินการ
คณะเศรษฐศาสตร์ได้จัดโครงการเศรษฐศาสตร์สืบสานศิลปวัฒนธรรม ประจำปี 2562 ขึ้น
ในวันที่ 14 กันยายน 2562 ณ เทศบาลนครเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่
เพื่อนำนักศึกษานั่งรถรางเยี่ยมชมวิถีชีวิตรอบเมืองเชียงใหม่ ร่วมกิจกรรมฐานเรียนรู้โบราณสถาน และฝึกทักษะศิลปะล้านนา

โดยมีกำหนดการดังนี้
09.00 – 09.30 น. นักศึกษาลงทะเบียน
09.30 – 12.00 น. ฐานเรียนรู้พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติเชียงใหม่ ประกอบไปด้วย ส่วนจัดแสดงที่ 1 ภูมิหลังแผ่นดินล้านนา , ส่วนจัดแสดงที่ 2 เรื่องราวประวัติศาสตร์ราชอาณาจักรล้านนา , ส่วนจัดแสดงที่ 3 เรื่องราวของนครเชียงใหม่ใต้ร่วมอาณาจักรสยาม , ส่วนจัดแสดงที่ 4 เรื่องราวการค้าและเศรษฐกิจ
ส่วนจัดแสดงที่ 5 เรื่องราวการดำรงชีวิตและพัฒนาการทางสังคม , ส่วนจัดแสดงที่ 6 วิวัฒนาการของศิลปกรรมล้านนาและศิลปะ
12.00 – 13.00 น. พักรับประทานอาหารกลางวัน
13.00 – 14.00 น. ฐานเรียนรู้ฝึกทักษะศิลปะล้านนา เยี่ยมชมวิถีชิวิตชุมชนพวกแต้มช่างคัวตองแห่งล้านนา
14.00 – 15.00 น. เยี่ยมชมวัดพวกแต้มและวัดศรีสุพรรณ พระอุโบสถเงินแห่งล้านนา
15.00 – 16.00 น. ศูนย์สถาปัตยกรรมล้านนา คุ้มเจ้าบุรีรัตน์ (มหาอินทร์) สถาปัตยกรรมแบบล้านนาประยุกต์ของเชื้อพระวงศ์ผู้ครองนครเชียงใหม่

นักศึกษาได้มีจิตสำนึกในคุณค่าของศิลปะและวัฒนธรรมล้านนา ในกิจกรรมฐานเรียนรู้พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติเชียงใหม่ ได้รับการถ่ายทอดความรู้เกี่ยวกับ ภูมิหลังแผ่นดินล้านนา , เรื่องราวประวัติศาสตร์ราชอาณาจักรล้านนา , เรื่องราวของนครเชียงใหม่ใต้ร่วมอาณาจักรสยาม , เรื่องราวการค้าและเศรษฐกิจ , เรื่องราวการดำรงชีวิตและพัฒนาการทางสังคม , วิวัฒนาการของศิลปกรรมล้านนาและศิลปะ และกิจกรรมฐานเรียนรู้ศูนย์สถาปัตยกรรมล้านนา คุ้มเจ้าบุรีรัตน์ (มหาอินทร์) สถาปัตยกรรมแบบล้านนาประยุกต์ของเชื้อพระวงศ์ผู้ครองนครเชียงใหม่ และนักศึกษาได้มีทักษะด้านศิลปะ วัฒนธรรมและประเพณีล้านนา ในกิจกรรมฐานเรียนรู้ศิลปะวัฒนธรรมและประเพณีชุมชนพวกแต้มช่างคัวตองแห่งล้านนา และกิจกรรมฐานเรียนรู้วัดพวกแต้มและวัดศรีสุพรรณ พระอุโบสถเงินแห่งล้านนา
ส่วนที่ 3 ความสำเร็จตามวัตถุประสงค์โครงการ
ลำดับวัตถุประสงค์ความสำเร็จ
1 เพื่อปลุกจิตสำนึกในคุณค่าของศิลปะและวัฒนธรรมล้านนา นักศึกษาได้มีจิตสำนึกในคุณค่าของศิลปะและวัฒนธรรมล้านนา ในกิจกรรมฐานเรียนรู้พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติเชียงใหม่ และกิจกรรมฐานเรียนรู้ศูนย์สถาปัตยกรรมล้านนา คุ้มเจ้าบุรีรัตน์ (มหาอินทร์) สถาปัตยกรรมแบบล้านนาประยุกต์ของเชื้อพระวงศ์ผู้ครองนครเชียงใหม่
2 เพื่อเสริมสร้างทักษะด้านศิลปะ วัฒนธรรมและประเพณีล้านนา นักศึกษาได้มีทักษะด้านศิลปะ วัฒนธรรมและประเพณีล้านนา ในกิจกรรมฐานเรียนรู้ศิลปะวัฒนธรรมและประเพณีชุมชนพวกแต้มช่างคัวตองแห่งล้านนา และกิจกรรมฐานเรียนรู้วัดพวกแต้มและวัดศรีสุพรรณ พระอุโบสถเงินแห่งล้านนา
ส่วนที่ 4 รายงานผลความสำเร็จตามเป้าหมายตัวชี้วัด
ผลผลิตที่ 1 : นักศึกษาได้เห็นคุณค่าของศิลปะวัฒนธรรมล้านนา และมีทักษะด้านศิลปะ วัฒนธรรมและประเพณีล้านนา
ตัวชี้วัดประเภทหน่วยนับเป้าหมายผลลัพธ์ความสำเร็จ
1. ระดับความสำเร็จของการเสริมสร้างทักษะด้านศิลปะ วัฒนธรรมและประเพณีล้านนา เชิงคุณภาพ ระดับ 3.51 0.00
2. ร้อยละของจำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ (200 คน) เชิงปริมาณ ร้อยละ 80 0.00
3. ระดับความสำเร็จของการปลุกจิตสำนึกในคุณค่าของศิลปะและวัฒนธรรมล้านนา เชิงคุณภาพ ระดับ 3.51 0.00
รวม      0.00
ร้อยละความสำเร็จของการดำเนินโครงการตามตัวชี้วัดมีค่าเท่ากับ 0.00
ส่วนที่ 5 ช่วงวันที่ดำเนินงาน
ช่วงเวลาตามแผน ช่วงเวลาดำเนินงานตามจริง
14/09/2562  - 14/09/2562 14/09/2562  - 14/09/2562
ส่วนที่ 6 ภาพประกอบการทำโครงการ