โครงการเพิ่มสมรรถนะศักยภาพทางวิชาชีพและศิษย์เก่าวิทยาลัยพลังงานทดแทน
ส่วนที่ 1 หน่วยงานที่รับผิดชอบ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ » วิทยาลัยพลังงานทดแทน
ส่วนที่ 2 สรุปผลการดำเนินการ
ผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัด
ผลผลิต ตัวชี้วัด ผลการดำเนินงาน
เชิงปริมาณ 1. อบรมเชิงปฏิบัติการหลักสูตรผู้รับผิดชอบด้านพลังงานสามัญโรงงานและอาคาร
- จำนวนนักศึกษาและศิษย์เก่า เข้าร่วมโครงการ
- จำนวนนักศึกษาและศิษย์เก่า ที่สอบผ่านหลักสูตรฯ
2. อบรมเชิงปฏิบัติการ ด้านมาตรฐานวิชาชีพและคุณวุฒิวิชาชีพ
- จำนวนนักศึกษาและศิษย์เก่า เข้าร่วมโครงการ
- จำนวนนักศึกษาและศิษย์เก่า ที่สอบผ่านมาตรฐานวิชาชีพและคุณวุฒิวิชาชีพ

80
80

50
50

เชิงคุณภาพ • เชิงคุณภาพ
- ร้อยละความรู้ที่ได้รับ ด้านพลังงานสามัญโรงงานและอาคาร
- ร้อยละความรู้ที่ได้รับ ด้านมาตรฐานวิชาชีพและคุณวุฒิวิชาชีพ
80
80

กิจกรรมที่ 1 อบรมเชิงปฏิบัติการหลักสูตรผู้รับผิดชอบด้านพลังงานสามัญโรงงานและอาคาร

ผลผลิต ตัวชี้วัด ผลการดำเนินงาน
เชิงปริมาณ 1. อบรมเชิงปฏิบัติการหลักสูตรผู้รับผิดชอบด้านพลังงานสามัญโรงงานและอาคาร
- จำนวนนักศึกษาและศิษย์เก่า เข้าร่วมโครงการ
- จำนวนนักศึกษาและศิษย์เก่า ที่สอบผ่านหลักสูตรฯ

93
33
เชิงคุณภาพ • เชิงคุณภาพ
- ร้อยละความรู้ที่ได้รับ ด้านพลังงานสามัญโรงงานและอาคาร
82.23

จากผลการประเมินตามตัวชี้วัดกิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการหลักสูตรผู้รับผิดชอบด้านพลังงานสามัญโรงงานและอาคาร
การแปลผลการวิเคราะห์ข้อมูลที่ได้จากแบบสอบถาม ได้นำคะแนนความสำเร็จที่ได้มาคำนวณน้ำหนักค่าคะแนนเฉลี่ย เพื่อแปลผลข้อมูล โดยมีเกณฑ์ ดังนี้
คะแนนเฉลี่ย 4.21-5.00 หมายความว่า ค่าคะแนนความสำเร็จระดับมากที่สุด
คะแนนเฉลี่ย 3.41-4.20 หมายความว่า ค่าคะแนนความสำเร็จระดับมาก
คะแนนเฉลี่ย 2.61-3.40 หมายความว่า ค่าคะแนนความสำเร็จระดับปานกลาง
คะแนนเฉลี่ย 1.81-2.60 หมายความว่า ค่าคะแนนความสำเร็จระดับน้อย
คะแนนเฉลี่ย 1.00-1.80 หมายความว่า ค่าคะแนนความสำเร็จระดับน้อยที่สุด

ประเด็นการประเมิน ผู้ให้ข้อมูล (N=93)
คะแนนเฉลี่ย ร้อยละ
1. เนื้อหาของหลักสูตรอยู่ในระดับที่เหมาะสม 4.34 86.88
2. ท่านได้รับความรู้จากการฝึกอบรม 4.13 82.55
3. ท่านได้รับการเรียนรู้ทักษะใหม่ๆจากการฝึกอบรม 3.83 76.68
4. ความรู้ที่ได้จากการฝึกอบรมเป็นประโยชน์ต่อการปฏิบัติงานของท่าน 4.28 85.60
5. วิทยากรสามารถอธิบาย/บรรยายได้อย่างชัดเจน 3.91 78.28
6. วิทยากรมีเทคนิค/วิธีการในการถ่ายทอด 4.26 85.16
7. อุปกรณ์ที่ใช้ในการฝึกอบรม 4.41 88.17
8. บรรยากาศในการฝึกอบรมมีความเหมาะสม 3.85 76.99
9. เอกสารประกอบการบรรยาย 3.99 79.78
รวม 4.11 82.23

จากผลการประเมินการกิจกรรมตามตัวชี้วัดโครงการ พบว่า ผู้เข้าร่วมกิจกรรมตอบแบบสอบถามตามประเด็น ในประเด็นการประเมินที่ค่าคะแนนมากไปหาน้อย คือ อุปกรณ์ที่ใช้ในการฝึกอบรม มีค่าความสำเร็จในระดับมากที่สุด คือ 4.41 เนื้อหาของหลักสูตรอยู่ในระดับที่เหมาะสม มีค่าความสำเร็จในระดับมากที่สุด คือ 4.34 และ ความรู้ที่ได้จากการฝึกอบรมฝึกอบรมเป็นประโยชน์ต่อการปฏิบัติงานของท่าน มีค่าความสำเร็จในระดับมากที่สุด คือ 4.28 ตามลำดับ

กิจกรรมที่ 2 อบรมเชิงปฏิบัติการ ด้านมาตรฐานวิชาชีพและคุณวุฒิวิชาชีพ
ผลผลิต ตัวชี้วัด ผลการดำเนินงาน
เชิงปริมาณ 1. อบรมเชิงปฏิบัติการ ด้านมาตรฐานวิชาชีพและคุณวุฒิวิชาชีพ
- จำนวนนักศึกษาและศิษย์เก่า เข้าร่วมโครงการ
- จำนวนนักศึกษาและศิษย์เก่า ที่สอบผ่านมาตรฐานวิชาชีพและคุณวุฒิวิชาชีพ
50
50

เชิงคุณภาพ • เชิงคุณภาพ
- ร้อยละความรู้ที่ได้รับ ด้านมาตรฐานวิชาชีพและคุณวุฒิวิชาชีพ
80

การอบรมปฏิบัติการ ด้านมาตรฐานวิชาชีพและคุณวุฒิวิชาชีพ จัดขึ้นเมื่อ วันที่ 17-18 พฤษภาคม 2562 ณ อาคารเรียนรวมปฏิบัติการวิทยาลัยพลังงานทดแทน โดยมีผู้ทรงคุณวุฒิ จากภายนอกที่ประกอบอาชีพเป็นผู้ปฏิบัติงานตรวจวัดพลังงานไฟฟ้า ทั้งภาครัฐและเอกชน จำนวน 3 ท่าน เป็นเจ้าหน้าที่ในการอบรมและทดสอบสมรรถนะบุคคลตามมาตรฐานวิชาชีพ สาขาวิชาพลังงานและพลังงานทดแทนความรู้ กับผู้เข้าร่วมอบรม ทั้ง 2 สาขาวิชา คือ
1. ผู้ที่ผ่านการทดสอบสมรรถนะของบุคคลตามมาตรฐานอาชีพพลังงานและพลังงานทดแทน สาขาวิชาการจัดการพลังงาน อาชีพผู้ปฏิบัติงานตรวจวัดพลังงานไฟฟ้า ชั้น 2 จำนวน 28 คน
2. ที่ผ่านการทดสอบสมรรถนะของบุคคลตามมาตรฐานอาชีพพลังงานและพลังงานทดแทน สาขาวิชาการจัดการพลังงาน อาชีพผู้ปฏิบัติงานอนุรักษ์พลังงานไฟฟ้า ชั้น 3 จำนวน 6 คน
โดยผู้ผ่านการทดสอบสมรรถนะจะได้รับเกียรติบัตร เพื่อนำไปใช้ในการประกอบอาชีพ

ข้อเสนอแนะ
1. กิจกรรมจะต้องสอดคล้องกับการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 และกำหนดตัวชี้วัดให้ชัดเจนในการจัดกิจกรรมที่เป็นอัตลักษณ์ของสาขาวิชาพลังงาน

ส่วนที่ 3 ความสำเร็จตามวัตถุประสงค์โครงการ
ลำดับวัตถุประสงค์ความสำเร็จ
1 เพื่อให้นักศึกษามีสมรรถนะศักยภาพทางวิชาชีพ ด้านพลังงานสามัญ โรงงาน และ อาคาร นักศึกษามีสมรรถนะศักยภาพทางวิชาชีพ ด้านพลังงานสามัญ โรงงาน และ อาคาร
2 เพื่อให้นักศึกษามีสมรรถนะศักยภาพทางวิชาชีพ ด้านมาตรฐานวิชาชีพและคุณวุฒิวิชาชีพ นักศึกษามีสมรรถนะศักยภาพทางวิชาชีพ ด้านมาตรฐานวิชาชีพและคุณวุฒิวิชาชีพ
3 เพื่อให้ศิษย์เก่าได้พัฒนาทักษะและองค์ความรู้ด้านวิชาชีพ ศิษย์เก่าได้พัฒนาทักษะและองค์ความรู้ด้านวิชาชีพ
ส่วนที่ 4 รายงานผลความสำเร็จตามเป้าหมายตัวชี้วัด
ผลผลิตที่ 1 : นักศึกษาและศิษย์เก่ามีสมรรถนะศักยภาพทางวิชาชีพ ด้านพลังงานสามัญ โรงงาน และ อาคาร ด้านมาตรฐานวิชาชีพและคุณวุฒิวิชาชีพ
ตัวชี้วัดประเภทหน่วยนับเป้าหมายผลลัพธ์ความสำเร็จ
1. ร้อยละความรู้ที่ได้รับ ด้านพลังงานสามัญ โรงงาน และ อาคาร (แบบสอบถาม)
เชิงคุณภาพ ร้อยละ 20 0.00
2. ร้อยละความรู้ที่ได้รับ ด้านมาตรฐานวิชาชีพและคุณวุฒิวิชาชีพ (แบบสอบถาม)
เชิงคุณภาพ ร้อยละ 80 0.00
3. จำนวนนักศึกษาและศิษย์เก่า เข้าร่วมโครงการ
เชิงปริมาณ คน 80 0.00
4. จำนวนนักศึกษาและศิษย์เก่าเข้าร่วมโครงการ การอบรมเชิงปฏิบัติการ ด้านมาตรฐานวิชาชีพและคุณวุฒิวิชาชีพ
เชิงปริมาณ คน 50 0.00
5. ร้อยละจำนวนนักศึกษาและศิษย์เก่าที่เข้าร่วมโครงการสอบผ่านมาตรฐานวิชาชีพและคุณวุฒิวิชาชีพ
เชิงปริมาณ ร้อยละ 20 0.00
6. ร้อยละจำนวนนักศึกษาและศิษย์เก่า ที่เข้าร่วมโครงการสอบผ่านของหลักสูตรอบรมฯ
เชิงปริมาณ ร้อยละ 20 0.00
รวม      0.00
ร้อยละความสำเร็จของการดำเนินโครงการตามตัวชี้วัดมีค่าเท่ากับ 0.00
ส่วนที่ 5 ช่วงวันที่ดำเนินงาน
ช่วงเวลาตามแผน ช่วงเวลาดำเนินงานตามจริง
01/05/2562  - 30/09/2562 01/05/2562  - 31/07/2562
ส่วนที่ 6 ภาพประกอบการทำโครงการ