โครงการแฮกนาปลูกข้าว และแฮกเกี่ยวข้าวชาวล้านนา
ส่วนที่ 1 หน่วยงานที่รับผิดชอบ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ » คณะผลิตกรรมการเกษตร
ส่วนที่ 2 สรุปผลการดำเนินการ
โครงการแฮกนาปลูกข้าวและแฮกเกี่ยวข้าวชาวล้านนา แบ่งเป็น 2 กิจกรรม โดยมีสรุปผลการดำเนินงานดังนี้
1. กิจกรรมแฮกนาเกี่ยวข้าว จัดวันที่ 12 ธันวาคม 2561 ณ ฟาร์มพืชไร่ คณะผลิตกรรมการเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้
มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมฯ ทั้งสิ้นจำนวน 436 คน คิดเป็นร้อยละ 109 บรรลุเกินจากเป้าหมายที่กำหนดไว้คือ 400 คน
สรุปผลจากการตอบแบบสอบถามในส่วนที่ 2
ข้อที่ 1.1 การประชาสัมพันธ์โครงการ ฯ คิดเป็นร้อยละ 75.37 รองลงมาอยู่ในระดับมาก คิดเป็นร้อยละ 24.63
ข้อที่ 1.2 ความเหมาะสมของสถานที่ คิดเป็นร้อยละ 75.60 รองลงมาอยู่ในระดับมาก คิดเป็นร้อยละ 24.40
ข้อที่ 1.3 ความเหมาะสมของระยะเวลา คิดเป็นร้อยละ 79.97 รองลงมาอยู่ในระดับมาก คิดเป็นร้อยละ 20.07
ข้อที่ 1.4 การจัดลำดับขั้นตอนของกิจกรรม คิดเป็นร้อยละ 75.83 รองลงมาอยู่ในระดับมาก คิดเป็นร้อยละ 24.17
ข้อที่ 2.1 ท่านได้รับความรู้ แนวคิด ทักษะและประสบการณ์ใหม่ ๆ จากโครงการ คิดเป็นร้อยละ 77.64 รองลงมาอยู่ในระดับมาก
คิดเป็นร้อยละ 22.36
ข้อที่ 2.2 ท่านได้เรียนรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่นเกี่ยวกับการผลิตข้าว คิดเป็นร้อยละ 79.96 รองลงมาอยู่ในระดับมาก คิดเป็นร้อยละ 20.04
ข้อที่ 2.3 ท่านตระหนักถึงความสำคัญในการอนุรักษ์ประเพณีอันดีงาม และมีส่วนร่วมในกระบวนการผลิตข้าวแบบภูมิปัญญาท้องถิ่น คิดเป็นร้อยละ
77.21 รองลงมาอยู่ในระดับมาก คิดเป็นร้อยละ 22.79
ข้อที่ 2.4 ท่านสามารถนำสิ่งที่ได้รับจากกิจกรรมนี้ไปใช้ในการเรียน/การคิดเป็นร้อยละ 76.29 รองลงมาอยู่ในระดับมาก คิดเป็นร้อยละ 23.71
ข้อที่ 2.5 สิ่งที่ท่านได้รับจากกิจกรรมครั้งนี้ ตรงตามความคาดหวังของท่าน คิดเป็นร้อยละ 79.50 รองลงมาอยู่ในระดับมาก คิดเป็นร้อยละ 20.50
ข้อที่ 2.6 โครงการนี้เอื้ออำนวยต่อการเรียนรู้และพัฒนาความสามารถของ คิดเป็นร้อยละ 77.67 รองลงมาอยู่ในระดับมาก คิดเป็นร้อยละ 22.23
ข้อที่ 2.7 รูปแบบในการจัดกิจกรรมวัฒนธรรมการเกษตรมีความน่าสนใจและทันสมัย คิดเป็นร้อยละ 79.98 รองลงมาอยู่ในระดับมาก คิดเป็นร้อยละ
23.02
ข้อที่ 2.8 ประโยชน์ที่ท่านได้รับจากโครงการ/กิจกรรม คิดเป็นร้อยละ 78.87 รองลงมาอยู่ในระดับมาก คิดเป็นร้อยละ 22.13
ข้อที่ 3 ความพึงพอใจของท่านต่อภาพรวมของโครงการ คิดเป็นร้อยละ 77.47 รองลงมาอยู่ในระดับมาก คิดเป็นร้อยละ 22.56

2. กิจกรรมแฮกนาปลูกข้าว จัดวันที่ 17 สิงหาคม 2562 ณ ฟาร์มพืชไร่ คณะผลิตกรรมการเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้
ผู้เข้าร่วมโครงการทั้งสิ้น จำนวน 736 คน คิดเป็นร้อยละ 105.14 บรรลุเกินจากเป้าหมายที่กำหนดไว้คือ 700 คน
จากการตอบแบบสอบถามในส่วนที่ 2
ข้อที่ 1.ท่านเข้าใจเรื่องราวความเชื่อ พิธีกรรมและวิถีชีวิตของชาวนามากน้อยเพียงใดผู้กรอกแบบประเมินพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด
คิดเป็นร้อยละ 76.50 รองลงมาอยู่ในระดับมาก คิดเป็นร้อยละ 23.50
ข้อที่ 2.ท่านเข้าใจในกระบวนการและขั้นตอนการทำนาในระดับใดผู้กรอกแบบประเมินพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด
คิดเป็นร้อยละ 75 รองลงมาอยู่ในระดับมาก คิดเป็นร้อยละ 25
ข้อที่ 3.ท่านเข้าใจและได้เรียนรู้พิธีกรรมการปลูกข้าวแบบภูมิปัญญาท้องถิ่นล้านาในระดับใดผู้กรอกแบบประเมินพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด
คิดเป็นร้อยละ 77.72 รองลงมาอยู่ในระดับมาก คิดเป็นร้อยละ 22.28
ข้อที่ 4.ท่านได้เข้าร่วมกิจกรรมการปลูกข้าวและได้รับประสบการณ์ในระดับใดผู้กรอกแบบประเมินพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด
คิดเป็นร้อยละ 87.45 รองลงมาอยู่ในระดับมาก คิดเป็นร้อยละ 12.55
ข้อที่ 5.ท่านคิดว่า การจัดกิจกรรมในลักษณะนี้ทำให้ท่านและทุกคนได้เรียนรู้ร่วมกันในระดับใดโครงการผู้กรอกแบบประเมินพึงพอใจ
อยู่ในระดับมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 83.16 รองลงมาอยู่ในระดับน้อย คิดเป็นร้อยละ 16.84
ข้อที่ 6.ท่านมีความเห็นต่อการจัดกิจกรรมนี้ในภาพรวมในระดับใดผู้กรอกแบบประเมินพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด
คิดเป็นร้อยละ 78.94 รองลงมาอยู่ ในระดับมาก คิดเป็นร้อยละ 21.06

โดยมีข้อคิดเห็น / ข้อเสนอแนะ ดังนี้
1. เป็นกิจกรรมที่ถ่ายทอดพิธีกรรมวิถีล้านนาได้เป็นอย่างดียิ่ง และได้มีส่วนในการปฏิบัติจริงในการจัดกิจกรรมด้วย
2. ทำให้ได้รู้จักผู้ที่มีชื่อเสียงจากหน่วยงานภาครัฐและเอกชนในพื้นที่รอบ ๆ มหาวิทยาลัย
3. ควรมีการเตรียมพร้อมกับสถานะการณ์ฝนที่ตกหนักหรือแดดร้อนจัด
4. ควรกำหนดเวลาสำหรับอาหารมื้อกลางวันให้เคลื่อนจากกำหนดการให้น้อยที่สุด
5. ควรสอบถามข้อมูลและอนุโลมแก่นักศึกษาที่เข้าร่วมกิจกรรมที่มีปัญหาเกี่ยวกับโรคประจำตัวที่ต้องรับประธานอาหารให้ตรงเวลา
6. ควรประชาสัมพันธ์ให้บุคลากรเข้าร่วมโครงการมากกว่านี้

ส่วนที่ 3 ความสำเร็จตามวัตถุประสงค์โครงการ
ลำดับวัตถุประสงค์ความสำเร็จ
1 เพื่อส่งเสริมให้ผู้เข้าร่วมโครงการตระหนักถึงความสำคัญในการอนุรักษ์ประเพณีอันดีงาม และมีส่วนร่วมในกระบวนการผลิตข้าวแบบภูมิปัญญาท้องถิ่น ผู้เข้าร่วมโครงการได้ตระหนักถึงความสำคัญในการอนุรักษ์ประเพณีอันดีงาม และมีส่วนร่วมในกระบวนการผลิตข้าวแบบภูมิปัญญาท้องถิ่น
2 เพื่อพัฒนารูปแบบในการจัดกิจกรรม/โครงการด้านทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม และวัฒนธรรมการเกษตรให้น่าสนใจและทันสมัย ได้พัฒนารูปแบบในการจัดกิจกรรม/โครงการด้านทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม และวัฒนธรรมการเกษตรให้น่าสนใจและทันสมัย
3 เพื่อให้นักศึกษา บุคลากร และผู้สนใจทราบถึงพิธิกรรมในการปลูกข้าวแบบภูมิปัญญาท้องถิ่นล้านนาพร้อมทั้งร่วมสืบสานเรียนรู้อย่างยั่งยืน นักศึกษา บุคลากร และผู้สนใจได้ทราบถึงพิธิกรรมในการปลูกข้าวแบบภูมิปัญญาท้องถิ่นล้านนาพร้อมทั้งร่วมสืบสานเรียนรู้อย่างยั่งยืน
4 เพื่อให้นักศึกษา บุคลากร และผู้สนใจได้สัมผัสเรียนรู้และมีส่วนร่วมในกระบวนการผลิตข้าว นักศึกษา บุคลากร และผู้สนใจได้สัมผัสเรียนรู้และมีส่วนร่วมในกระบวนการผลิตข้าว
5 เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม มีการบูรณาการกับกิจกรรมนักศึกษา การเรียนการสอน ได้ส่งเสริมและสนับสนุนให้งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม มีการบูรณาการกับกิจกรรมนักศึกษา การเรียนการสอน
ส่วนที่ 4 รายงานผลความสำเร็จตามเป้าหมายตัวชี้วัด
ผลผลิตที่ 1 : ผลผลิต : นักศึกษา บุคลากร และผู้สนใจที่เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้มีส่วนร่วมในกระบวนการผลิตข้าวแบบภูมิปัญญาท้องถิ่น ตระหนักถึงความสำคัญในการอนุรักษ์ประเพณีอันดีงามและมีส่วนร่วมในกระบวนการผลิตข้าวแบบภูมิปัญญาท้องถิ่น
ตัวชี้วัดประเภทหน่วยนับเป้าหมายผลลัพธ์ความสำเร็จ
1. ร้อยละจำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
เอกสารประกอบตัวชี้วัด
- ผลประเมินกิจกรรมเกี่ยวข้าว
เชิงปริมาณ ร้อยละ 80 0.00
2. ร้อยละความสำเร็จตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
เชิงคุณภาพ ร้อยละ 70 0.00
3. ร้อยละของผู้เข้าร่วมโครงการได้เรียนรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่นเกี่ยวกับการผลิตข้าว
เอกสารประกอบตัวชี้วัด
- ผลประเมินกิจกรรมเกี่ยวข้าว
เชิงคุณภาพ ร้อยละ 70 0.00
รวม      0.00
ผลผลิตที่ 2 : นักศึกษา บุคลากร และผู้สนใจทั่วไป ได้เรียนรู้และมีส่วนร่วมในการผลิตข้าวแบบภูมิปัญญาท้องถิ่นล้านนา
ตัวชี้วัดประเภทหน่วยนับเป้าหมายผลลัพธ์ความสำเร็จ
1. ร้อยละความสำเร็จตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
เชิงปริมาณ ร้อยละ 80 0.00
2. จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
เอกสารประกอบตัวชี้วัด
- ผลประเมินกิจกรรมปลูกข้าว
เชิงปริมาณ คน 700 0.00
3. ร้อยละของผู้เข้าร่วมโครงการได้เรียนรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่นล้านนาเกี่ยวกับการปลูกข้าว
เอกสารประกอบตัวชี้วัด
- ผลประเมินกิจกรรมปลูกข้าว
เชิงคุณภาพ ร้อยละ 70 0.00
รวม      0.00
ร้อยละความสำเร็จของการดำเนินโครงการตามตัวชี้วัดมีค่าเท่ากับ 0.00
ส่วนที่ 5 ช่วงวันที่ดำเนินงาน
ช่วงเวลาตามแผน ช่วงเวลาดำเนินงานตามจริง
01/12/2561  - 30/09/2562 12/12/2561  - 17/08/2562
ส่วนที่ 6 ภาพประกอบการทำโครงการ