โครงการฝึกอบรมล้านนาศิลปาชีพ
ส่วนที่ 1 หน่วยงานที่รับผิดชอบ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ » คณะศิลปศาสตร์
ส่วนที่ 2 สรุปผลการดำเนินการ
การจัดโครงการครั้งนี้มีนักศึกษาและบุคลากรเข้าร่วมโครงการรวม 50 คน จากการดำเนินกิจกรรมสามารถสรุปผลดังนี้
๑. ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจในระดับมาก โดยเฉพาะนักศึกษา ที่ได้เรียนรู้การฝึกทำอาหารและเตรียมวัตถุดิบ
๒. ผู้เข้าร่วมโครงการมีความภูมิใจในอาหารท้องถิ่น
๓. ผู้เข้าร่วมโครงการมีแรงบันดาลใจในการทำอาหารเพื่อไปประกอบอาชีพ
ส่วนที่ 3 ความสำเร็จตามวัตถุประสงค์โครงการ
ลำดับวัตถุประสงค์ความสำเร็จ
1 1. เพื่อสืบสานและสร้างความตระหนักในภูมิปัญญาท้องถิ่น ผู้เข้าร่วมโครงการได้ฝึกทำอาหารท้องถิ่นและเห็นคุณค่าของวัตถุดิบท้องถิ่น
2 2. เพื่อเผยแพร่ความรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้เกี่ยวกับภูมิปัญญาท้องถิ่น ทั้งด้านวิธีทำและการเลือกวัตถุดิบ
3 3. เพื่อปูพื้นฐานสำหรับการประกอบอาชีพ ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับแรงบันดาลใจในการประกอบอาชีพเนื่องจากการลงมือปฏิบัติจริงทำให้เห็นว่าการทำอาหารไม่ยากดังที่คิด
ส่วนที่ 4 รายงานผลความสำเร็จตามเป้าหมายตัวชี้วัด
ผลผลิตที่ 1 : ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ด้านการทำอาหารท้องถิ่นและสามารถนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ได้
ตัวชี้วัดประเภทหน่วยนับเป้าหมายผลลัพธ์ความสำเร็จ
1. สูตรการทำอาหาร ขนม และเทคนิคในการทำ
เชิงคุณภาพ เล่ม 1 0.00
2. ร้อยละของผู้เข้าร่วมโครงการสามารถนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ได้
เชิงปริมาณ ร้อยละ 80 0.00
3. ร้อยละของผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจ
เชิงปริมาณ ร้อยละ 80 0.00
รวม      0.00
ร้อยละความสำเร็จของการดำเนินโครงการตามตัวชี้วัดมีค่าเท่ากับ 0.00
ส่วนที่ 5 ช่วงวันที่ดำเนินงาน
ช่วงเวลาตามแผน ช่วงเวลาดำเนินงานตามจริง
05/06/2561  - 31/08/2561 04/07/2561  - 04/07/2561
ส่วนที่ 6 ภาพประกอบการทำโครงการ