โครงการอนุรักษ์หัตถกรรมล้านนา สืบสานภูมิปัญญาท้องถิ่น ณ ศูนย์เรียนรู้วัฒนธรรมเกษตรล้านนา
ส่วนที่ 1 หน่วยงานที่รับผิดชอบ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ » สำนักงานมหาวิทยาลัย » กองส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม
ส่วนที่ 2 สรุปผลการดำเนินการ
มีนักศึกษาให้ความสนใจและเข้าร่วมโครงการเป็นจำนวนมาก ได้ร่วมกันเผยแพร่หัตถกรรมล้านนา และสืบสานภูมิปัญญาท้องถิ่น ได้ฝึกทำหัตถกรรมล้านนา เช่นการทำโคมล้านนา การทำสวยดอก เป็นต้น ผู้เข้าร่วมโครงการได้ตระหนักและเกิดความภาคภูมิใจเมื่อประดิษฐ์ผลงานจนแล้วเสร็จด้วยตนเอง ได้รับความรู้เพิ่มขึ้นและสามารถนำความรู้ที่ได้ไปปรับใช้ในชี้วิตประจำวัน
ส่วนที่ 3 ความสำเร็จตามวัตถุประสงค์โครงการ
ลำดับวัตถุประสงค์ความสำเร็จ
1 1. เพื่ออนุรักษ์และเผยแพร่หัตถกรรมล้านนา สืบสานภูมิปัญญาท้องถิ่น นักศึกษาได้ร่วมกันเผยแพร่หัตถกรรมล้านนา และสืบสานภูมิปัญญาท้องถิ่น ในการฝึกทำหัตถกรรมล้านนา เช่นการทำโคมล้านนา การทำสวยดอก เป็นต้น
2 2. เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษา บุคลากร ได้ตระหนักและเกิดความภาคภูมิใจในการมีส่วนร่วมเผยแพร่และสืบสานภูมิปัญญาพื้นท้องถิ่น ผู้เข้าร่วมโครงการได้ตระหนักและเกิดความภาคภูมิใจในการมีส่วนร่วมเผยแพร่และสืบสานภูมิปัญญาพื้นท้องถิ่น ได้รับความรู้เพิ่มขึ้นเมื่อได้ร่วมกิจกรรมและประดิษฐ์ผลงานจนแล้วเสร็จด้วยตนเอง
ส่วนที่ 4 รายงานผลความสำเร็จตามเป้าหมายตัวชี้วัด
ผลผลิตที่ 1 : ผู้เข้าร่วมโครงการได้ฝึกทำหัตถกรรมล้านนา
ตัวชี้วัดประเภทหน่วยนับเป้าหมายผลลัพธ์ความสำเร็จ
1. จำนวนผู้เข้าร่วมฝึกทำหัตถกรรมล้านนา
เชิงปริมาณ คน 500 0.00
2. ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจในการอนุรักษ์หัตถกรรมล้านนา และสืบสานภูมิปัญญาท้องถิ่นเพิ่มขึ้น เชิงคุณภาพ ระดับ 3 0.00
รวม      0.00
ร้อยละความสำเร็จของการดำเนินโครงการตามตัวชี้วัดมีค่าเท่ากับ 0.00
ส่วนที่ 5 ช่วงวันที่ดำเนินงาน
ช่วงเวลาตามแผน ช่วงเวลาดำเนินงานตามจริง
15/12/2560  - 30/08/2561 19/08/2561  - 19/08/2561
ส่วนที่ 6 ภาพประกอบการทำโครงการ