โครงการไหว้ครูวิทยาลัยพลังงานทดแทน ประจำปี 2560
ส่วนที่ 1 หน่วยงานที่รับผิดชอบ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ » วิทยาลัยพลังงานทดแทน
ส่วนที่ 2 สรุปผลการดำเนินการ
จากกิจกรรมโครงการไหว้ครูวิทยาลัยพลังงานทดแทน ประจำปี 2560 ในครั้งนี้ได้จัดทำแบบประเมินการแปลผลการวิเคราะห์ข้อมูลที่ได้จากแบบสอบถาม ได้นำคะแนนที่ได้มาคำนวณน้ำหนักค่าคะแนนเฉลี่ยเพื่อแปลผลข้อมูล โดยมีเกณฑ์ ดังนี้
คะแนนเฉลี่ย 4.21-5.00 หมายความว่า ค่าคะแนนความสำเร็จระดับมากที่สุด
คะแนนเฉลี่ย 3.41-4.20 หมายความว่า ค่าคะแนนความสำเร็จระดับมาก
คะแนนเฉลี่ย 2.61-3.40 หมายความว่า ค่าคะแนนความสำเร็จระดับปานกลาง
คะแนนเฉลี่ย 1.81-2.60 หมายความว่า ค่าคะแนนความสำเร็จระดับน้อย
คะแนนเฉลี่ย 1.00-1.80 หมายความว่า ค่าคะแนนความสำเร็จระดับน้อยที่สุด




สรุปผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัดของโครงการ



รายละเอียด ผู้ให้ข้อมูล(N=100)
คะแนน
เฉลี่ย
4
3 ร้อยละ
1. กระบวนการจัดโครงการ
1.1 การประชาสัมพันธ์โครงการ 4.2 84
1.2 ความเหมาะสมของสีถานที่ 3.88 77.6
1.3 ความเหมาะสมของระยะเวลา (จำนวนชั่วโมง) 2.72 54.4
1.4 การจัดลำดับขั้นตอนของการจัดกิจกรรม 3.92 78.4
2. ด้านการมีส่วนร่วมอนุรักษ์และสืบสานประเพณี
2.1 นักศึกษาสามารถแสดงความกตัญญูกตเวทีต่อคณาจารย์ 4.02 80.4
3. ด้านความคิดสร้างสรรค์
3.1 นักศึกษาสามารถนำความรู้มาประยุกต์ใช้ในการออกแบบพานไหว้ครู 3.94 78.8
4. ภาพรวมของการจัดโครงการ
4.1 นักศึกษาได้รับความรู้ แนวคิด ทักษะและประสบการณ์ใหม่ ๆ จากโครงการกิจกรรมนี้ 3.91 78.2
4.2 นักศึกษาสามารถนำสิ่งที่ได้รับจากโครงการ/กิจกรรมนี้ไปใช้ในการเรียนและการปฏิบัติงาน 3.79 75.8
4.3 สิ่งที่นักศึกษาได้รับจากโครงการ/กิจกรรมครั้งนี้ตรงตามความคาดหวังของท่านหรือไม่ 3.84 76.8
4.4 ประโยชน์ที่นักศึกษาได้รับจากโครงการ/กิจกรรม 3.94 78.8
5. ความพึงพอใจของท่านต่อภาพรวมของโครงการ 3.82 76.4

5.1 เพื่อให้นักศึกษาได้แสดงความเคารพนอบน้อม และความกตัญญูกตเวทีต่อครู-อาจารย์
จากการดำเนินกิจกรรม นักศึกษาวิทยาลัยพลังงานทดแทนได้มีการกล่าวคำไหว้ครู ร่วมกันร้องเพลงพระคุณที่สาม และมอบพานไหว้ครูให้แก่คณาอาจารย์ ซึ่งได้แสดงถึงความเคารพนอบน้อม และความกตัญญูกตเวทีต่อครู-อาจารย์
5.2 เพื่อสร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่างครู-อาจารย์กับลูกศิษย์
จากการดำเนินกิจกรรม คณาจารย์ได้ผู้ข้อไม้ข้อมือให้แก่นักศึกษา ซึ่งทำให้เกิดการกระชับความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างครู-อาจารย์และนักศึกษา
5.3 เพื่อให้นักศึกษามีส่วนร่วมอนุรักษ์และสืบสานขนบธรรมเนียมประเพณีอันดีงาม
จากการดำเนินกิจกรรม นักศึกษาวิทยาลัยพลังงานทดแทนได้เข้าร่วมกิจกรรมการไหว้ครู ซึ่งเป็นการอนุรักษ์และสืบสานขนบธรรมเนียมประเพณีอันดีงามให้คงอยู่สืบต่อไป
5.4 เพื่อให้นักศึกษาเกิดความคิดสร้างสรรค์ทางปัญญาในการประดิษฐ์พานไหว้ครู
จากการดำเนินกิจกรรม นักศึกษาวิทยาลัยพลังงานทดแทนได้มีการระดมความคิดในการประดิษฐ์พานไหว้ครูในหัวข้อ “พลังงานทดแทนในอุดมคติ” ทำให้นักศึกษาเกิดทักษะทางปัญญาและความคิดสร้างสรรค์มากขึ้น
ส่วนที่ 3 ความสำเร็จตามวัตถุประสงค์โครงการ
ลำดับวัตถุประสงค์ความสำเร็จ
1 เพื่อให้นักศึกษาได้แสดงความเคราพนอบน้อม และความกตัญญูกตเวทีต่อ ครู-อาจารย์ นักศึกษาได้แสดงความเคราพนอบน้อม และความกตัญญูกตเวทีต่อ ครู-อาจารย์
2 เพื่อสร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่างครู - อาจารย์ กับลูกศิษย์ สร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่างครู - อาจารย์ กับลูกศิษย์
3 เพื่อให้นักศึกาามีส่วนร่วมอนุรักษ์และสืบสานขนบธรรมเนียมประเพรีอันดีงามของไทย นักศึกาามีส่วนร่วมอนุรักษ์และสืบสานขนบธรรมเนียมประเพรีอันดีงามของไทย
ส่วนที่ 4 รายงานผลความสำเร็จตามเป้าหมายตัวชี้วัด
ผลผลิตที่ 1 : แสดงออกถึงความกตัญญูกตเวที ความนอบน้อมต่อ ครู-อาจารย์ ที่ประสิทธิ์ประสาทวิชาให้แก่นักศึกษา
ตัวชี้วัดประเภทหน่วยนับเป้าหมายผลลัพธ์ความสำเร็จ
1. ร้อยละของจำนนผู้เข้าร่วมโครงการ
เชิงปริมาณ ร้อยละ 80 100 100
2. ระดับความพึงพอใจนักศึกษามีส่วนร่วมอนุรักษ์และสืบสานขนบธรรมเนียมประเพรีอันดีงามของไทย
เชิงคุณภาพ ระดับ 3.51 38.33 100
รวม      100.00
ร้อยละความสำเร็จของการดำเนินโครงการตามตัวชี้วัดมีค่าเท่ากับ 100.00
ส่วนที่ 5 ช่วงวันที่ดำเนินงาน
ช่วงเวลาตามแผน ช่วงเวลาดำเนินงานตามจริง
29/06/2560  - 29/06/2560 29/06/2560  - 29/06/2560
ส่วนที่ 6 ภาพประกอบการทำโครงการ