โครงการอบรมหลักสูตรผู้นำการเกษตรยุคใหม่(The Modern Agricultural Leadership Program (MAGLEAD))
ส่วนที่ 1 หน่วยงานที่รับผิดชอบ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ » สำนักงานมหาวิทยาลัย » กองบริหารทรัพยากรบุคคล
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ » สำนักงานมหาวิทยาลัย » กองคลัง
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ » สำนักงานมหาวิทยาลัย » กองแผนงาน
ส่วนที่ 2 สรุปผลการดำเนินการ
ยังไม่มีข้อมูล
ส่วนที่ 3 ความสำเร็จตามวัตถุประสงค์โครงการ
ลำดับวัตถุประสงค์ความสำเร็จ
1 เพื่อสร้างเครือข่ายผู้นำด้านการเกษตรยุคใหม่ สร้างโอกาสในการแลกเปลี่ยนความรู้และประสบการณ์ระหว่างผู้เข้าอบรมในหลักสูตร วิทยากร ผู้ทรงคุณวุฒิ อันจะนำไปสู่การสร้างเครือข่ายสัมพันธภาพและความร่วมมือระหว่างผู้เข้ารับการอบรม ยังไม่มีข้อมูล
2 เพื่อให้เกิดการพัฒนาความร่วมมือระหว่างภาครัฐ เอกชน และสถาบันการศึกษา ในการสร้างโครงการกิจกรรมที่เป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาการเกษตรของประเทศ ยังไม่มีข้อมูล
3 เพื่อพัฒนาวิสัยทัศน์ให้แก่ผู้นำ และผู้นำรุ่นใหม่ในการพัฒนามหาวิทยาลัยภายใต้การก้าวสู่การเป็นมหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐ ให้ทุกฝ่ายได้เข้าใจและเห็นภาพทิศทางการเปลี่ยนแปลงในอนาคตของมหาวิทยาลัยร่วมกัน ยังไม่มีข้อมูล
4 เพื่อพัฒนายุทธศาสตร์การแข่งขันของมหาวิทยาลัยในอนาคตสู่ความเป็นเลิศ ตลอดจนการพัฒนาแนวทางการเตรียมความพร้อมสู่การเป็นมหาวิทยาลัยในกำกับ ยังไม่มีข้อมูล
5 เพื่อให้เกิดภาพอนาคตต่อยุทธศาสตร์การพัฒนามหาวิทยาลัยระยะ 15 ปี เป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาหลักสูตรการเรียนการสอน การวิจัย ภายในมหาวิทยาลัย ตลอดจนการเตรียมพัฒนาบุคลากรเพื่อรองรับหลักสูตรการเรียนการสอน และงานวิจัยดังกล่าว ยังไม่มีข้อมูล
ส่วนที่ 4 รายงานผลความสำเร็จตามเป้าหมายตัวชี้วัด
ผลผลิตที่ 1 : มหาวิทยาลัยได้ผู้นำรุ่นใหม่ที่มีองค์ความรู้ทักษะความเป็นผู้นำที่พร้อมรับการเปลี่ยนแปลง และได้สร้างเครือข่ายความร่วมมือ Public-Private Partnership: PPP หรือ Triple Helix ของภาครัฐ เอกชน และสถาบันการศึกษา
ตัวชี้วัดประเภทหน่วยนับเป้าหมายผลลัพธ์ความสำเร็จ
1. ร้อยละของผู้ที่ผ่านการอบรมจากผู้เข้าอบรมทั้งหมด
เชิงคุณภาพ ร้อยละ 80 0.00
2. จำนวน Mini Paper ที่เป็นประโยชน์ต่อการพัฒนายุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยแม่โจ้
เชิงคุณภาพ เรื่อง 5 0.00
3. จำนวนผู้ที่ผ่านการอบรมตามหลักสูตร มีการใช้ระยะเวลาการเข้าร่วมอบรมไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของระยะเวลาการอบรมทั้งหมด
เชิงเวลา ร้อยละ 80 0.00
4. ร้อยละความพึงพอใจต่อการอบรมของผู้เข้าร่วมอบรม ระดับ “ดี” ขึ้นไป)
เชิงคุณภาพ ร้อยละ 80 0.00
5. จำนวนผู้เข้าร่วมการอบรม
เชิงปริมาณ คน 50 0.00
รวม      0.00
ร้อยละความสำเร็จของการดำเนินโครงการตามตัวชี้วัดมีค่าเท่ากับ 0.00
ส่วนที่ 5 ช่วงวันที่ดำเนินงาน
ช่วงเวลาตามแผน ช่วงเวลาดำเนินงานตามจริง
07/07/2560  - 30/09/2560 ยังไม่มีข้อมูล  - ยังไม่มีข้อมูล
ส่วนที่ 6 ภาพประกอบการทำโครงการ