โครงการสืบสานวัฒนธรรมภูมิปัญญาท้องถิ่น "วัฒนธรรม ดนตรี ประเพณี วิถีชีวิต ปี 60"
ส่วนที่ 1 หน่วยงานที่รับผิดชอบ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ » สำนักงานมหาวิทยาลัย » กองส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม
ส่วนที่ 2 สรุปผลการดำเนินการ
เป็นการสืบสานศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่น และสนับสนุนนโยบายมหาวิทยาลัยในการเป็น "Green University" จึงได้จัดโครงการ "วัฒนธรรม ดนตรี ประเพณี วิถีชีวิต ปี 60" ขึ้่น กิจกรรมในงานจะเป็นการเผยแพร่ในรูปแบบของ การรวบรวมแหล่งเรียนรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่นอย่างหลากหลาย การประกวดเล่านินทานของนักเรียน การสาธิตและฝึกทักษะ การแสดงศิลปวัฒนธรรม การชมดนตรีและโชว์ตลกของศิลปปินล้านนา ให้กลุ่มนักศึกษามหาวิทยาลัยแม่โจ้ โรงเรียน ชุมชนและหน่วยงานภายในและภายนอกประชาชนทั่วไป ได้มีโอกาสชื่นชมและปฏิสัมพันธ์ในศิลปวัฒนธรรมต่าง ๆ ภูมิปัญญาท้องถิ่น ที่งดงามและทรงคุณค่า และรับทราบถึงบทบาทหน้าที่ของศูนย์ศิลปวัฒนธรรมที่นอกจากรับผิดชอบด้านการจัดการพิธีการ พิธีกรรม ประเพณีต่าง ๆ แล้วยังส่งเสริมให้นักเรียน นักศึกษามีการแสดงออกอย่างเหมาะสมด้วยใจรักและมีความศรัทธาและรักษาไว้เป็นมรดกสืบไป
ส่วนที่ 3 ความสำเร็จตามวัตถุประสงค์โครงการ
ลำดับวัตถุประสงค์ความสำเร็จ
1 เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการ รับรู้และเข้าใจเรื่องราวภูมิปัญญาท้องถิ่น วัฒนธรรม ศิลปะ ดนตรีที่เชื่อมโยงอยู่ในวิถีชีวิต ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับรู้และเข้าใจเรื่องราวภูมิปัญญาท้องถิ่น วัฒนธรรม ศิลปะ ดนตรีที่เชื่อมโยงอยู่ในวิถีชีวิต
2 เพื่อให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้รับความรู้ ได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ได้ฝึกทักษะ ได้แสดงความสามารถด้านศิลปวัฒนธรรม ผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้รับความรู้ ได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ได้ฝึกทักษะ ได้แสดงความสามารถด้านศิลปวัฒนธรรม
3 เพื่อสร้างบรรยากาศและกิจกรรมทางวัฒนธรรมภายในมหาวิทยาลัยและเป็นการเผยแพร่ชื่อเสียงของมหาวิทยาลัย ผู้เข้าร่วมโครงการได้เรียนรู้และสัมผัสบรรยากาศและกิจกรรมทางวัฒนธรรมภายในมหาวิทยาลัยและเป็นการเผยแพร่ชื่อเสียงของมหาวิทยาลัย
ส่วนที่ 4 รายงานผลความสำเร็จตามเป้าหมายตัวชี้วัด
ผลผลิตที่ 1 : กิจกรรมการประกวดเล่านิทานล้านนาประกอบท่าทาง
ตัวชี้วัดประเภทหน่วยนับเป้าหมายผลลัพธ์ความสำเร็จ
1. การเห็นคุณค่าในการดำรงศิลปวัฒนธรรม
เชิงคุณภาพ ร้อยละ 90 0.00
2. จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
เชิงปริมาณ คน 300 0.00
รวม      0.00
ผลผลิตที่ 2 : กิจกรรมฝึกทักษะภูมิปัญญาท้องถิ่น
ตัวชี้วัดประเภทหน่วยนับเป้าหมายผลลัพธ์ความสำเร็จ
1. การเห็นคุณค่าในการดำรงศิลปวัฒนธรรม
เชิงคุณภาพ ร้อยละ 90 0.00
2. จำนวนผู้เข้าร่วมดครงการ
เชิงปริมาณ คน 1000 0.00
รวม      0.00
ผลผลิตที่ 3 : กิจกรรมสาธิตและฝึกอบรมการทำอาหารและขนม
ตัวชี้วัดประเภทหน่วยนับเป้าหมายผลลัพธ์ความสำเร็จ
1. การเห็นคุณค่าในการดำรงศิลปวัฒนธรรม
เชิงคุณภาพ ร้อยละ 90 0.00
2. จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
เชิงปริมาณ คน 500 0.00
3. จำนวนกิจกรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น
เชิงคุณภาพ ร้อยละ 90 0.00
รวม      0.00
ผลผลิตที่ 4 : กิจกรรมอาหารล้านนาแบบกาดหมั้ว ครัวฮอม
ตัวชี้วัดประเภทหน่วยนับเป้าหมายผลลัพธ์ความสำเร็จ
1. จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
เชิงปริมาณ คน 700 0.00
2. การเห็นคุณค่าในการดำรงศิลปวัฒนธรรม
เชิงคุณภาพ ร้อยละ 90 0.00
รวม      0.00
ร้อยละความสำเร็จของการดำเนินโครงการตามตัวชี้วัดมีค่าเท่ากับ 0.00
ส่วนที่ 5 ช่วงวันที่ดำเนินงาน
ช่วงเวลาตามแผน ช่วงเวลาดำเนินงานตามจริง
03/04/2560  - 31/08/2560 12/07/2560  - 12/07/2560
ส่วนที่ 6 ภาพประกอบการทำโครงการ