โครงการทักษะประมงในศตวรรษที่ 21 ประจำปี 2560
ส่วนที่ 1 หน่วยงานที่รับผิดชอบ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ » คณะเทคโนโลยีการประมงและทรัพยากรทางน้ำ
ส่วนที่ 2 สรุปผลการดำเนินการ
โครงการทักษะประมงในศตวรรษที่ 21 ประจำปี 2560 ได้จัดขึ้นในวันที่ 6-10 กันยายน 2560 ณ คณะเทคโนโลยีการประมงและทรัพยากรทางน้ำ โดยมีนักศึกษาเข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 404 คน ซึ่งได้มีการจัดการแข่งขันทักษะความรู้พื้นฐานทางด้านการประมง การแข่งขันอื่นๆ ดังนี้
10.2.1 การแข่งขันทักษาทางการประมง
- ทักษะการบรรจุพันธุ์ลูกปลา
- ทักษะประมงพันธุ์แท้ : แพลงก์ตอน
- ทักษะประมงพันธุ์แท้ : การวิเคราะห์คุณภาพน้ำ
- ทักษะประมงพันธุ์แท้ : การศึกษาด้านชีววิทยาสัตว์น้ำ
- ทักษะประมงพันธุ์แท้ : การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ
- ทักษะการแล่ปลา
- ทักษะการพายเรือ-ทอดแห
10.2.2 การแข่งขันกีฬาสากล
- การแข่งขันฟุตซอล
- การแข่งขันวอลเลย์บอลชาย
- การแข่งขันวอลเลย์บอลหญิง
10.2.3 การแข่งขันกีฬาฮาเฮ
- จับปลาไหล
- ชักเย่อ
- วิ่งเปรี้ยวซุปเปอร์แมน
- วอลเลย์บอลลูกโป่งน้ำ
10.2.4 ผลการแข่งขัน
สรุปผลการแข่งขันทักษะประมงในศตวรรษที่ 21 ประจำปี 2560
1.ทักษะการบรรจุพันธุ์ลูกปลา
รางวัลเหรียญทอง ได้แก่
1. ทีมสีฟ้า 1 (90.00%)
2. ทีมสีฟ้า 2 (87.50%)
3. ทีมสีเหลือง 2 (86.25%) เวลา4.14 นาที
4. ทีมสีเขียว 2 (86.25%) เวลา 5.54 นาที
5. ทีมสีขาว 1 (86.25%) เวลา 6.18 นาที
6. ทีมสีเขียว 1 (80.00%)
รางวัลเหรียญเงิน ได้แก่
1. ทีมสีเหลือง 1 (77.50%)
2. ทีม สีขาว 2 (70.00%)
รางวัลเหรียญทองแดง ไม่มีผู้ได้รับรางวัล
2.ทักษะประมงพันธุ์แท้ : แพลงก์ตอน ไม่มีผู้ได้รับรางวัล
คะแนนสูงสุด คือ
1.สมฤดี สมบัติรักษา (ทีมสีเหลือง) 47.50%
2.นุชจรี มาดี (ทีมสีเหลือง) 37.50%
3.กัญญารัตน์ ทองเจือ (ทีมสีเขียว) 35.00%
3.ทักษะประมงพันธุ์แท้ : การวิเคราะห์คุณภาพน้ำ
รางวัลเหรียญทอง ไม่มีผู้ได้รับรางวัล
รางวัลเหรียญเงิน ได้แก่ ทีมสีเหลือง (75.00%)
รางวัลเหรียญทองแดง ได้แก่ ทีมสีเขียว (60.00%)
4.ทักษะประมงพันธุ์แท้ : การศึกษาด้านชีววิทยาสัตว์น้ำ ไม่มีผู้ได้รับรางวัล
คะแนนสูงสุด คือ
1.นุชจรี มาดี (ทีมสีเหลือง) ได้ 29.00%
2.ดวงลัดดา พรานจร(ทีมสีขาว) ได้ 24.00%
3.จตุพล สามัญ (ทีมสีฟ้า) และ ได้ 23.50%
5.ทักษะประมงพันธุ์แท้ : การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ
รางวัลเหรียญทอง ไม่มีผู้ได้รับรางวัล
รางวัลเหรียญเงิน ไม่มีผู้ได้รับรางวัล
รางวัลเหรียญทองแดง ได้แก่
1. ทีมสีเหลือง (67.50%)
2. ทีมสีขาว (65.00%)
6.ทักษะการแล่ปลา (fillet)
รางวัลเหรียญทอง ได้แก่
1. ทีมสีเหลือง2 (91.40%)
2. ทีมสีเขียว2 (88.20%)
3. ทีมสีขาว2 (87.60%)
รางวัลเหรียญเงิน ได้แก่
1. ทีมสีฟ้า2 (77.20%)
2. ทีมสีฟ้า1 (75.00%)
3. ทีมสีเหลือง1 (73.40%)
รางวัลเหรียญทองแดง ได้แก่ ทีมสีขาว1 (66.60%)
7.ทักษะการพายเรือ-ทอดแห ไม่มีผู้ได้รับรางวัล
ทีมชาย 1.สีฟ้า เวลา 2.06 นาที 2.สีเหลือง เวลา 5.26 3.สีขาว เวลา 5.30 นาที 4.สีเขียว เวลา 5.46 นาที
ทีมหญิง 1.สีเหลือง เวลา 4.07 นาที 2.สีเขียว เวลา 4.15 นาที 3.สีฟ้า เวลา 4.17 นาที 4.สีขาว เวลา 7.50 นาที
8.การแข่งขันวอลเลย์บอลชาย
รางวัลเหรียญทอง ได้แก่ ทีมสีเหลือง
รางวัลเหรียญเงิน ได้แก่ ทีมสีเขียว
รางวัลเหรียญทองแดง ได้แก่ ทีมสีฟ้า
9.การแข่งขันวอลเลย์บอลหญิง
รางวัลเหรียญทอง ได้แก่ ทีมสีขาว
รางวัลเหรียญเงิน ได้แก่ ทีมสีฟ้า
รางวัลเหรียญทองแดง ได้แก่ ทีมสีเขียว
10.การแข่งขันฟุตซอล
รางวัลเหรียญทอง ได้แก่ ทีมสีเหลือง
รางวัลเหรียญเงิน ได้แก่ ทีมสีฟ้า
รางวัลเหรียญทองแดง ได้แก่ ทีมสีขาว
ส่วนที่ 3 ความสำเร็จตามวัตถุประสงค์โครงการ
ลำดับวัตถุประสงค์ความสำเร็จ
1 เพื่อพัฒนาทักษะพื้นฐานด้านการประมงและการประยุกต์ความรู้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อสังคม นักศึกษาได้พัฒนาทักษะพื้นฐานทางการประมง โดยการจัดการแข่งขันทักษะทางการประมง ได้แก่ ทักษะการบรรจุลูกพันธุ์ปลา ทักษะประมงพันธุ์แท้ : แพลงก์ตอน ทักษะประมงพันธุ์แท้ : การวิเคราะห์คุณภาพน้ำ ทักษะประมงพันธุ์แท้ : การศึกษาด้านชีววิทยาสัตว์น้ำ ทักษะการแล่ปลา ทักษะการพายเรือ-ทอดแห เพื่อให้นักศึกษาของคณะเรียนรู้ ฝึกฝน ให้เกิดความเชี่ยวชาญ
2 เพื่อคัดเลือกนักศึกษาที่มีความสามารถทางด้านทักษะประมงเข้าร่วมแข่งขันงานประเพณี 4 จอบแห่งชาติครั้งที่ 35 ได้ทำการคัดเลือกนักศึกษาของคณะเพื่อเป็นตัวแทนไปแข่งขันทักษะการบรรจุลูกพันธุ์ปลา ในงานประเพณี 4 จอบแห่งชาติ ครั้งที่ 35 ณ มหาวิทยาลัยทักษิณวิทยาเขตพัทลุง
3 เพื่อส่งเสริมและประกอบระบบระเบียนกิจกรรมนักศึกษา ได้มีการบันทึกข้อมูลของนักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการลงในระบบระเบียนกิจกรรมนักศึกษา
ส่วนที่ 4 รายงานผลความสำเร็จตามเป้าหมายตัวชี้วัด
ผลผลิตที่ 1 : บัณฑิตมีคุณลักษณะของบัณฑิตที่พึงประสงค์ ดี เก่ง และมีความสุข
ตัวชี้วัดประเภทหน่วยนับเป้าหมายผลลัพธ์ความสำเร็จ
1. จำนวนทักษะประมงที่ใช้ในการแข่งขัน
เชิงปริมาณ ทักษะ 6 7 100
2. จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม (จากผู้เข้าร่วม 500 คน)
เชิงปริมาณ ร้อยละ 80 80.8 100
3. ระดับความรู้ทักษะวิชาชีพทางการประมงของผู้เข้าร่วมที่ได้รับ
เชิงคุณภาพ คะแนน 3.51 0 0.00
4. สามารถนำความรู้ที่ได้รับไปปรับใช้ประโยชน์
เชิงคุณภาพ คะแนน 3.51 4.28 100
5. ระดับความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมต่อการจัดโครงการ
เชิงคุณภาพ คะแนน 3.51 4.28 100
6. ร้อยละของโครงการเสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
เชิงเวลา ร้อยละ 100 100 100
รวม      83.33
ร้อยละความสำเร็จของการดำเนินโครงการตามตัวชี้วัดมีค่าเท่ากับ 83.33
ส่วนที่ 5 ช่วงวันที่ดำเนินงาน
ช่วงเวลาตามแผน ช่วงเวลาดำเนินงานตามจริง
01/06/2560  - 31/08/2560 01/09/2560  - 15/09/2560
ส่วนที่ 6 ภาพประกอบการทำโครงการ