โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการเรียน การสอน
ส่วนที่ 1 หน่วยงานที่รับผิดชอบ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ » สำนักบริหารและพัฒนาวิชาการ
ส่วนที่ 2 สรุปผลการดำเนินการ
ยังไม่มีข้อมูล
ส่วนที่ 3 ความสำเร็จตามวัตถุประสงค์โครงการ
ลำดับวัตถุประสงค์ความสำเร็จ
1 1) เพื่อให้คณาจารย์ เจ้าหน้าที่เกี่ยวข้อง และบุคลากรสำนักบริหารและพัฒนาวิชาการ มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดทำหลักสูตร (มคอ.2) และการตรวจหลักสูตร(มคอ.2) เพื่อให้เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับอุดมศึกษา พ.ศ. 2558 ยังไม่มีข้อมูล
2 2) เพื่อให้คณาจารย์ เจ้าหน้าที่เกี่ยวข้อง และบุคลากรสำนักบริหารและพัฒนาวิชาการ มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการพัฒนา/ปรับปรุงหลักสูตรตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร พ.ศ. 2558 และมุ่งหวังผลลัพธ์การเรียนรู้ตามแนวทาง Outcomes Based Education ด้วยเกณฑ์ AUN QA ยังไม่มีข้อมูล
3 3) เพื่อให้เกิดการพัฒนา/ปรับปรุง รายวิชาศึกษาทั่วไปของมหาวิทยาลัยที่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย ยังไม่มีข้อมูล
4 4) เพื่อให้เกิดการพัฒนา/ปรับปรุงรายวิชาในกลุ่มวิชาแกน และมีรูปเล่มหมวดรายวิชาเฉพาะ กลุ่มวิชาแกน ของมหาวิทยาลัย ยังไม่มีข้อมูล
ส่วนที่ 4 รายงานผลความสำเร็จตามเป้าหมายตัวชี้วัด
ผลผลิตที่ 1 : การสัมมนาเชิงปฏิบัติการเกี่ยวกับการจัดทำหลักสูตร (มคอ.2) และการตรวจหลักสูตร (มคอ.2) เพื่อให้เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับอุดมศึกษา พ.ศ.2558
ตัวชี้วัดประเภทหน่วยนับเป้าหมายผลลัพธ์ความสำเร็จ
1. ผู้เข้าร่วมสัมมนามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดทำหลักสูตร (มคอ.2) และการตรวจหลักสูตร(มคอ.2) เพื่อให้เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับอุดมศึกษา พ.ศ. 2558 เพิ่มมากขึ้น
เชิงคุณภาพ ระดับ 4 0.00
2. ร้อยละของผู้เข้าร่วมสัมมนามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดทำหลักสูตร (มคอ.2) และการตรวจหลักสูตร(มคอ.2) เพื่อให้เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับอุดมศึกษา พ.ศ. 2558
เชิงปริมาณ ร้อยละ 80 0.00
รวม      0.00
ผลผลิตที่ 2 : “การพัฒนา/ปรับปรุงหลักสูตรตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร พ.ศ. 2558 และมุ่งหวังผลลัพธ์การเรียนรู้ตามแนวทาง Outcomes Based Education ด้วยเกณฑ์ AUN QA”
ตัวชี้วัดประเภทหน่วยนับเป้าหมายผลลัพธ์ความสำเร็จ
1. ผู้เข้าร่วมสัมมนามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการพัฒนา/ปรับปรุงหลักสูตรตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร พ.ศ. 2558 และมุ่งหวังผลลัพธ์การเรียนรู้ตามแนวทาง Outcomes Based Education ด้วยเกณฑ์ AUN QA เพิ่มมากขึ้น
เชิงคุณภาพ ระดับ 4 0.00
2. ร้อยละของผู้เข้าร่วมสัมมนามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการพัฒนา/ปรับปรุงหลักสูตรตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร พ.ศ. 2558 และมุ่งหวังผลลัพธ์การเรียนรู้ตามแนวทาง Outcomes Based Education ด้วยเกณฑ์ AUN QA
เชิงปริมาณ ร้อยละ 80 0.00
รวม      0.00
ผลผลิตที่ 3 : โครงการส่งเสริมการพัฒนารายวิชาศึกษาทั่วไป
ตัวชี้วัดประเภทหน่วยนับเป้าหมายผลลัพธ์ความสำเร็จ
1. ระดับความสำเร็จในการจัดโครงการ ระดับ 1 มีการประชาสัมพันธ์ให้คณะ/หลักสูตร ที่มีความพร้อมในการจัดทำรายวิชาศึกษาทั่วไปที่เกี่ยวข้องกับการเกษตรจัดทำรายวิชาศึกษาทั่วไปใหม่ /ปรับปรุงรายวิชาศึกษาทั่วไปเดิม ระดับ 2 มีกระบวนการกลไกในการดำเนินงานผลักดันให้เกิดการปรับปรุงรายวิชาศึกษาทั่วไปเดิม / การสร้างรายวิชาศึกษาทั่วไปใหม่ ระดับ 3 มีการติดตามการดำเนินการปรับปรุงรายวิชาศึกษาทั่วไปเดิม/การสร้างรายวิชาศึกษาทั่วไปใหม่ ระดับ 4 มีรูปเล่มรายวิชาหมวดศึกษาทั่วไปฉบับปรับปรุง ระดับ 5 มีรายวิชาศึกษาทั่วไปใหม่
เชิงคุณภาพ ระดับ 4 0.00
รวม      0.00
ผลผลิตที่ 4 : การจัดทำข้อมูลรายวิชาในกลุ่มวิชาแกน เพื่อให้แต่ละหลักสูตร นำข้อมูลรายวิชาในกลุ่มวิชาแกนไปใช้ในการจัดทำหลักสูตรได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ตัวชี้วัดประเภทหน่วยนับเป้าหมายผลลัพธ์ความสำเร็จ
1. ระดับความสำเร็จในการจัดโครงการ ระดับ 1 มีการจัดทำรายวิชาและรูปเล่มรายวิชาแกนเดิม ระดับ 2 มีกระบวนการกลไกในการดำเนินงานผลักดันให้เกิดการปรับปรุงรายวิชาแกนเดิม ระดับ 3 มีการติดตามการดำเนินการปรับปรุงรูปเล่มรายวิชาแกน ตามเกณฑ์มาตรฐานปี 2558 ระดับ 4 รูปเล่มรายวิชาหมวดวิชาเฉพาะ กลุ่มวิชาแกนที่ได้รับการปรับปรุง ผ่านการพิจารณาจากคณะกรรมการวิชาการ ระดับ 5 รูปเล่มรายวิชาหมวดวิชาเฉพาะ กลุ่มวิชาแกนที่ได้รับการปรับปรุง ผ่านการพิจารณาจากสภามหาวิทยาลัย
เชิงคุณภาพ ระดับ 4 0.00
รวม      0.00
ร้อยละความสำเร็จของการดำเนินโครงการตามตัวชี้วัดมีค่าเท่ากับ 0.00
ส่วนที่ 5 ช่วงวันที่ดำเนินงาน
ช่วงเวลาตามแผน ช่วงเวลาดำเนินงานตามจริง
21/03/2560  - 30/09/2560 ยังไม่มีข้อมูล  - ยังไม่มีข้อมูล
ส่วนที่ 6 ภาพประกอบการทำโครงการ