โครงการศึกษาดูงานด้านการบริหารงานบุคคลเพื่อเตรียมความพร้อมสู่การเป็นหน่วยงานของมหาวิทยาลัยในกำกับรัฐ
ส่วนที่ 1 หน่วยงานที่รับผิดชอบ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ » สำนักงานมหาวิทยาลัย » กองบริหารทรัพยากรบุคคล
ส่วนที่ 2 สรุปผลการดำเนินการ
๑. ได้ทราบเรื่องการบริหารงานบุคคลต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องเพื่อเตรียมความพร้อมสู่การเป็นมหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐ
๒. ได้ทราบวิธีการบริหารทรัพยากรมนุษย์เพื่อนำมาประยุกต์ใช้ภายในหน่วยงาน
๓. ได้ความรู้ความเข้าใจด้านการบริหารงานบุคคลและบริหารทรัพยากรมนุษย์
๔. ได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้กับบุคลากรภายนอก และเป็นการสร้างเครือข่ายระหว่างมหาวิทยาลัยด้วยกัน
ส่วนที่ 3 ความสำเร็จตามวัตถุประสงค์โครงการ
ลำดับวัตถุประสงค์ความสำเร็จ
1 1. เพื่อทราบวิธีการบริหารงานบุคคลภายใต้มหาวิทยาลัยในกำกับรัฐ การบริหารงานบุคคลของ ม.ในกำกับที่ไปศึกษาดูงาน ควรมีการนำมาปรับใช้ในส่วนที่ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ จะเป็นมหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐต่อไป เช่น เรื่องการเปลี่ยนสถานภาพเป็นพนักงานมหาวิทยาลัย การจัดระเบียบ ข้อบังคับ ต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง
2 2. เพื่อทราบวิธีการบริหารทรัพยากรมนุษย์เพื่อนำมาประยุกต์ใช้ภายในหน่วยงาน นำระบบการพัฒนาบุคลากร ของ SCG มาปรับใช้ในการพัฒนาบุคลากรของมหาวิทยาลัยแม่โจ้ ในส่วนที่น่าจะเป็นไปได้
3 3. เพื่อให้บุคลากรกองการเจ้าหน้าที่ เกิดความรู้ความเข้าใจด้านการบริหารงานบุคคลและบริหารทรัพยากรมนุษย์ เป็นเหมือนการสร้างกรอบให้กับบุคลากรในหน่วยงาน ทำให้มีระบบอย่างเป็นมาตรฐานชัดเจน ในการพัฒนาบุคลากรในองค์กร ที่ทำให้บุคลากรนั้นรู้บทบาทหน้าที่ของตนในการพัฒนาตนเอง ผู้บังคับบัญชาได้รู้หน้าที่ในการสอนงานผู้ใต้บังคับบัญชา เพื่อนร่วมงานได้เรียนรู้ซึ่งกันและกัน และการสร้างบรรยากาศและระบบให้เอื้อต่อการพัฒนาทำให้สามารถพัฒนาคนได้รวดเร็วมากยิ่งขึ้น
ส่วนที่ 4 รายงานผลความสำเร็จตามเป้าหมายตัวชี้วัด
ผลผลิตที่ 1 : สามารถนำความรู้ด้านการบริหารงานบุคคลเพื่อปรับใช้กับมหาวิทยาลัยในกับกำรัฐ
ตัวชี้วัดประเภทหน่วยนับเป้าหมายผลลัพธ์ความสำเร็จ
1. จำนวนองค์ความรู้ในเรื่องการบริหารงานบุคคลเพื่อเตรียมความพร้อมสู่มหาวิทยาลัยในกำกับรัฐ
เชิงปริมาณ องค์ความรู้ 1 1 100
รวม      100.00
ผลผลิตที่ 2 : สามารถนำความรู้ด้านการบริหารทรัพยากรมนุษย์มาประยุกต์ใช้ภายในหน่วยงานได้
ตัวชี้วัดประเภทหน่วยนับเป้าหมายผลลัพธ์ความสำเร็จ
1. จำนวนองค์ความรู้ในเรื่องการบริหารทรัพยากรมนุษย์เพื่อมาประยุกต์ใช้ภายในหน่วยงาน
เชิงปริมาณ องค์ความรู้ 1 1 100
รวม      100.00
ผลผลิตที่ 3 : บุคลากรกองการเจ้าหน้าที่ เกิดความรู้ความเข้าใจด้านการบริหารงานบุคคลและบริหารทัพยากรมนุษย์และสามารถนำมาประยุกต์ใช้กับงานได้จริง
ตัวชี้วัดประเภทหน่วยนับเป้าหมายผลลัพธ์ความสำเร็จ
1. ร้อยละของบุคลากรกองการเจ้าหน้าที่ เกิดความรู้ความเข้าใจด้านการบริหารงานบุคคลและบริหารทรัพยากรมนุษย์และสามารถนำมาประยุกต์ใช้กับงานได้จริง
เชิงคุณภาพ ร้อยละ 80 90 100
รวม      100.00
ร้อยละความสำเร็จของการดำเนินโครงการตามตัวชี้วัดมีค่าเท่ากับ 100.00
ส่วนที่ 5 ช่วงวันที่ดำเนินงาน
ช่วงเวลาตามแผน ช่วงเวลาดำเนินงานตามจริง
01/02/2559  - 30/09/2559 29/03/2560  - 31/03/2560
ส่วนที่ 6 ภาพประกอบการทำโครงการ