โครงการบริการวิชาการพัฒนาอาชีพนักศึกษาและศิษย์เก่าแม่โจ้
ส่วนที่ 1 หน่วยงานที่รับผิดชอบ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ » สำนักงานมหาวิทยาลัย » กองพัฒนานักศึกษา
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ » สำนักงานมหาวิทยาลัย
ส่วนที่ 2 สรุปผลการดำเนินการ
จากการจัดโครงการบริการวิชาการพัฒนาอาชีพนักศึกษาและศิษย์เก่าแม่โจ้ในครั้งนี้ ทั้ง 2 หลักสูตร คือ หลักสูตร : การเพาะเห็ดโดยใช้วัสดุธรรมชาติท้องถิ่น และ หลักสูตร การปลูกผักปลอดภัยและการเพาะผักงอก ได้รับการตอบรับเป็นอย่างดีจากผู้เข้าร่วมโครงการ อาทิ บุคลากร นักศึกษา ศิษย์เก่า และประชาชนทั่วไป และผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้เพิ่มขึ้นอย่างมาก ซึ่งผู้เข้าร่วมโครงการ ฯ สามารถได้นำความรู้ที่ได้รับในครั้งนี้ไปใช้เพื่อเป็นประโยชน์ในชีวิต หรือสามารถนำไปประยุกต์ปรับใช้เพื่อหารายได้เสริมในอนาคตเพื่อเพิ่มคุณภาพให้กับชีวิตได้
ส่วนที่ 3 ความสำเร็จตามวัตถุประสงค์โครงการ
ลำดับวัตถุประสงค์ความสำเร็จ
1 1.เพื่อให้ความรู้และทักษะวิชาชีพให้กับศิษย์เก่าแม่โจ้ นักศึกษา และประชาชนทั่วไป จากการจัดโครงการบริการวิชาการพัฒนาอาชีพนักศึกษาและศิษย์เก่าแม่โจ้ จำนวน 2 หลักสูตร คือ หลักสูตร “การเพาะเห็ดโดยใช้วัสดุธรรมชาติท้องถิ่น”
และหลักสูตร “การปลูกผักปลอดภัยและการเพาะผักงอก” ทำให้ศิษย์เก่าสามารถนำความรู้และทักษะวิชาชีพที่ได้รับไปพัฒนาตนเองในการประกอบวิชาชีพในชีวิตประจำวัน
2 2.เพื่อสร้างความร่วมมือและความสัมพันธ์อันดีระหว่างศิษย์เก่าแม่โจ้และมหาวิทยาลัย ผู้เข้าร่วมโครงการฯ ทั้ง 2 หลักสูตร ได้รับประโยชน์จากการเข้าร่วมอบรมในครั้งนี้ และสามารถนำความรู้ในการจัดโครงการในครั้งนี้ ซึ่งเป็นการเชื่อมความสัมพันธ์อันดีระหว่างมหาวิทยาลัยกับศิษย์เก่าต่อไป นอกจากนั้นยังเป็นการให้บริการด้านวิชากาของมหาวิทยาลัยแม่โจ้กับชุมชนและประชาชนอีกด้วย
ส่วนที่ 4 รายงานผลความสำเร็จตามเป้าหมายตัวชี้วัด
ผลผลิตที่ 1 : ศิษย์เก่าแม่โจ้มีความรู้ ทักษะวิชาชีพ และสามารถนำความรู้ที่ได้ไปประกอบอาชีพ
ตัวชี้วัดประเภทหน่วยนับเป้าหมายผลลัพธ์ความสำเร็จ
1. จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการบริการวิชาการพัฒนาอาชีพศิษย์เก่า (หลักสูตรที่ 1) : การเพาะเห็ดโดยใช้วัสดุธรรมชาติท้องถิ่น
เชิงปริมาณ คน 60 60 100
2. จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการบริการวิชาการพัฒนาอาชีพศิษย์เก่า (หลักสูตรที่ 2) : การปลูกผักปลอดภัยและการเพาะผักงอก
เชิงปริมาณ คน 60 61 100
3. ความรู้ความเข้าใจของผู้เข้าร่วมโครงการที่ได้รับจาก (หลักสูตรที่ 1) : การเพาะเห็ดโดยใช้วัสดุธรรมชาติท้องถิ่น
เชิงปริมาณ ร้อยละ 80 82 100
4. ร้อยละความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการ (หลักสูตรที่ 1) : การเพาะเห็ดโดยใช้วัสดุธรรมชาติท้องถิ่น
เชิงคุณภาพ ร้อยละ 80 74.54 93.18
5. ความรู้ความเข้าใจของผู้เข้าร่วมโครงการที่ได้รับจาก (หลักสูตรที่ 3) : เทคนิคการจัดภูมิทัศน์เบื้องต้น
เชิงคุณภาพ ร้อยละ 80 0 0.00
6. ความรู้ความเข้าใจของผู้เข้าร่วมโครงการที่ได้รับจาก (หลักสูตรที่ 2) : การปลูกผักปลอดภัยและการเพาะผักงอก
เชิงคุณภาพ ร้อยละ 80 85.9 100
7. ร้อยละความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการ (หลักสูตรที่ 2) : การปลูกผักปลอดภัยและการเพาะผักงอก
เชิงคุณภาพ ร้อยละ 80 79.06 98.83
8. ร้อยละความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการ (หลักสูตรที่ 3) : เทคนิคการจัดภูมิทัศน์เบื้องต้น
เชิงคุณภาพ ร้อยละ 80 0 0.00
9. จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการบริการวิชาการพัฒนาอาชีพศิษย์เก่า (หลักสูตรที่ 3) : เทคนิคการจัดภูมิทัศน์เบื้องต้น
เชิงปริมาณ คน 60 0 0.00
รวม      65.78
ร้อยละความสำเร็จของการดำเนินโครงการตามตัวชี้วัดมีค่าเท่ากับ 65.78
ส่วนที่ 5 ช่วงวันที่ดำเนินงาน
ช่วงเวลาตามแผน ช่วงเวลาดำเนินงานตามจริง
26/06/2560  - 29/09/2560 16/09/2560  - 17/09/2560
ส่วนที่ 6 ภาพประกอบการทำโครงการ