ส่วนที่ 1 หน่วยงานที่รับผิดชอบ
ส่วนที่ 2 สรุปผลการดำเนินการ
กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมส่งเสริมวิชาการได้จัดขึ้นในวันที่ 19 เมษายน 2560 ณ คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยี ซึ่งในกิจกรรมครั้งนี้ได้เชิญ ผศ.น.สพ.ดร.บัญชา พงศ์พิศาลธรรม เป็นผู้อบรมให้ความรู้แก่นักศึกษา
กิจกรรมที่ 2 สัตวศาสตร์พัฒนาวิชาชีพ ครั้งที่ 1 จัดขึ้นในระหว่างวันที่ 6-8 มกราคม 2560 ณ โรงเรียนบ้านแม่แพน้อย ต.กองก๋อย อ.สบเมย จ.เเม่ฮ่องสอน โดนนักศึกษาสาขาสัตว์ปีก
กิจกรรมที่ 2 สัตวศาสตร์พัฒนาวิชาชีพ ครั้งที่ 3 จัดขึ้นในระหว่างวันที่ 13-14 พฤษภาคม 2560 ณ มูลนิธิอุ่นใจ โดยนักศึกษาชมรมสัตวศาสตร์ ได้จัดทำกิจกรรมสร้างโรงเรือนเลี้ยงไก่ จำนวน 1 หลัง และทำแปลงปลูกผักเพื่อใช้เป็นวัตถุดิบในการประกอบอาการ
กิจกรรมที่ 3 กิจกรรมช่วยเหลือศูนย์ฝึกวิชาชีพคนตาบอด ได้จัดขึ้นในระหว่างเดือนพฤศจิกายน 2560 ถึงเดือนพฤษภาคม 2560 โดยนักศึกษาสาขาสัตว์ปีก ได้ดำเนินการซ่อมแซมโรงเรือนเลี้ยงไก่, ปรังปรุงภูมิทัศน์ในศูนย์ฯ, จัดทำแปลงการเกษตร และอ่านหนังสือให้กับนักเรียนคนตาบอด
กิจกรรมที่ 4 กิจกรรมสัตวศาสตร์จิตอาสา ครั้งที่ 1 ได้จัดกิจกรรมในวันที่ 19 ตุลาคม 2559 ณ บริเวณฟาร์มสุกร, ฟาร์มสัตว์ปีก และฟาร์มโคนมและโคเนื้อ ซึ่งกิจกรรมครั้งนี้ช่วยกระตุ้นให้นักศึกษามีจิตสำนึกด้านจิตอาสาต่อสวนรวม และยังใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์
กิจกรรมที่ 4 กิจกรรมสัตวศาสตร์จิตอาสา ครั้งที่ 2 ได้จัดกิจกรรมในวันอังคารที่ 6 มิถุนายน 2560 ณ ถนนเส้นสันทรายสายเก่า จากมหาวิทยาลัยแม่โจ้ ถึงที่ว่าการอำเภอสันทราย ในงานประเพณีเดิน-วิ่ง สันทราย โดยนักศึกษาได้ช่วยกันเก็บขยะตลอดเส้นทางที่จัดกิจกรรม
ส่วนที่ 3 ความสำเร็จตามวัตถุประสงค์โครงการ
1
|
เพื่อให้นักศึกษาได้มีการพัฒนาด้านวิชาชีพทางด้านสัตวศาสตร์และประสบการณ์
|
นักศึกษาได้มีการพัฒนาวิชาชีพทางด้านสัตวศาสตร์และประสบการณ์จากการดำเนินกิจกรรมสร้างเล้าไก่และทำแปลงผัก
|
2
|
เพื่อเป็นการถ่ายทอดความรู้ทางด้านวิชาการและหลักการการเลี้ยงสัตว์ที่ถูกต้อง
|
นักศึกษาได้รับความรู้ทางด้านวิชาการ และทักษะภาษาอังกฤษไปพร้อมๆกัน
|
3
|
เพื่อให้เกิดประโยชน์กับทั้งชุมชน นักศึกษาและมหาวิทยาลัย
|
เกิดประโยชน์ร่วมกันระหว่างชุมชน นักศึกษา และมหาวิทยาลัย โดยการดำเนินกิจกรรมสัตวศาสตร์จิตอาสา ที่ช่วยกันสร้างประโยชน์ให้แก่ชุมชนให้มีความสะอาดในช่วงระยะเวลาที่ดำเนินกิจกรรม ทำให้ได้รับคำชื่นชมกลับสู่มหาวิทยาลัย
|
4
|
เพื่อกระตุ้นให้นักศึกษามีจิตอาสาบำเพ็ญประโยชน์และอนุรักษ์วัฒนธรรมที่ดีงาม
|
นักศึกษาได้นำความรู้ที่ได้เล่าเรียนมาประยุกต์ใช้ และถ่ายทอดสู่ชุมชน
|
5
|
เพื่อสร้างเครือข่าย ความร่วมมือ ระหว่างสถาบันการศึกษาและชุมชน
|
ได้มีการปฏิบัติงานร่วมกันระหว่างชุมชน นักศึกษา และมหาวิทยาลัย โดยการดำเนินกิจกรรมต่างๆ นักศึกษาได้รับความรู้จากการปฏิบัติงานจริง และต่างได้รับคำชื่นชมกลับสู่มหาวิทยาลัย
|
ส่วนที่ 4 รายงานผลความสำเร็จตามเป้าหมายตัวชี้วัด
ผลผลิตที่ 1 :
กิจกรรมส่งเสริมวิชาการ
1.
ผู้เข้าร่วมมีทักษะและความรู้ด้านวิชาการเพิ่มขึ้น
|
เชิงคุณภาพ
|
ร้อยละ
|
80
|
92.4
|
100
|
2.
การดำเนินงานสำเร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
|
เชิงเวลา
|
ร้อยละ
|
90
|
100
|
100
|
3.
จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
|
เชิงปริมาณ
|
คน
|
500
|
143
|
28.60
|
|
ผลผลิตที่ 2 :
กิจกรรมสัตวศาสตร์พัฒนาวิชาชีพ
1.
ระดับความสำเร็จในการใช้จ่ายงบประมาณ
|
เชิงต้นทุน
|
ระดับ
|
4
|
4
|
100
|
2.
จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
|
เชิงปริมาณ
|
คน
|
300
|
106
|
35.33
|
3.
การดำเนินงานสำเร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
|
เชิงเวลา
|
ร้อยละ
|
90
|
100
|
100
|
4.
ผู้เข้าร่วมมีทักษะและความรู้ด้านวิชาชีพสัตวศาสตร์เพิ่มขึ้น
|
เชิงคุณภาพ
|
ร้อยละ
|
70
|
93
|
100
|
|
ผลผลิตที่ 3 :
กิจกรรมช่วยเหลือศูนย์ฝึกวิชาชีพคนตาบอด
1.
การดำเนินงานสำเร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
|
เชิงเวลา
|
ร้อยละ
|
90
|
100
|
100
|
2.
ระดับความสำเร็จในการใช้จ่ายงบประมาณ
|
เชิงต้นทุน
|
ระดับ
|
4
|
4
|
100
|
3.
จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
|
เชิงปริมาณ
|
คน
|
50
|
34
|
68.00
|
4.
ระดับความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการ
|
เชิงคุณภาพ
|
ร้อยละ
|
80
|
76
|
95.00
|
|
ผลผลิตที่ 4 :
กิจกรรมสัตวศาสตร์จิตอาสา
1.
จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
|
เชิงปริมาณ
|
คน
|
300
|
328
|
100
|
2.
ระดับความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการ
|
เชิงคุณภาพ
|
ร้อยละ
|
80
|
76.6
|
95.75
|
3.
ระดับความสำเร็จในการใช้จ่ายงบประมาณ
|
เชิงเวลา
|
ระดับ
|
4
|
4
|
100
|
4.
ผู้เข้าร่วมมีจิตอาสาเพิ่มขึ้น
|
เชิงคุณภาพ
|
ร้อยละ
|
70
|
92.4
|
100
|
5.
การดำเนินงานสำเร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
|
เชิงเวลา
|
ร้อยละ
|
90
|
100
|
100
|
|
ส่วนที่ 5 ช่วงวันที่ดำเนินงาน
28/11/2559
-
30/09/2560
|
19/10/2559
-
06/06/2560
|
ส่วนที่ 6 ภาพประกอบการทำโครงการ