โครงการมหกรรมหมอลำอีสาน ศิลป์ล้านช้างคอนเสิร์ต

วันที่เริ่มต้น 11/02/2567 เวลา 17:00 วันที่สิ้นสุด 11/02/2567 เวลา 22:00
สถานที่จัด ไม่ระบุ 

หน่วยงานที่จัด ผู้รับผิดชอบ ผู้เข้าร่วม
หน่วยงานที่จัด
คณะ/สำนัก สาขา/กอง หน่วยงานภายใน  
ผู้รับผิดชอบหลัก
ไม่มีข้อมูล

ผู้รับผิดชอบหลัก (นักศึกษา)
6403104311   นางสาววศินี   บุญมา : เทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว 6ชั่วโมง
6403104314   นางสาวศิริณา   โพธิ์ดี : เทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว 6ชั่วโมง
6406101384   นางสาวพัชระนันท์   โรจนภาค : การจัดการ 6ชั่วโมง
6406102429   นายภูรินท์   ประทุมมา : การตลาด 6ชั่วโมง
6406106307   นางสาวฐิติมา   ใจมั่ง : นวัตกรรมธุรกิจค้าปลีกสมัยใหม่ 6ชั่วโมง
6406106323   นางสาวรุ่งนภา   ประทุมเทพ : นวัตกรรมธุรกิจค้าปลีกสมัยใหม่ 6ชั่วโมง
6409101343   นางสาวจันทนา   แซ่ย่าง : พัฒนาการท่องเที่ยว 6ชั่วโมง
6501102371   นายธกร   จันทร์พลงาม : พืชสวน (พืชผัก) 6ชั่วโมง
6501126401   นางสาวธัญลักษณ์   ทิพยกมลพันธ์ : วิทยาการสมุนไพร 6ชั่วโมง
6605101327   นางสาวชลดา   งูตูล : รัฐศาสตร์ 6ชั่วโมง
6605101366   นายธนาธร   เมฆมณเฑียร : รัฐศาสตร์ 6ชั่วโมง
6605101392   นายพยุงศักดิ์   พยุงกรพินธุ์ : รัฐศาสตร์ 6ชั่วโมง
6606103351   นางสาวณัฐกานต์   เลิศล้ำ : บัญชี 6ชั่วโมง
6606103443   นางสาววรินธร   ไชยมงคล : บัญชี 6ชั่วโมง
6612101361   นายโพธิวงศ์   จันกระจ่าง : เศรษฐศาสตร์ 6ชั่วโมง
6612107323   นายนวพล   คละไฮ : เศรษฐศาสตร์ระหว่างประเทศ 6ชั่วโมง
6614102332   นางสาวดุจฤดี   โกษาวัง : ภาษาอังกฤษ 6ชั่วโมง
จากสถานการณ์ในปัจจุบันความนิยมหรือความสนใจต่อศิลปวัฒนธรรมพื้นบ้านเริ่มลดน้อยลง เนื่องด้วยการเข้ามาของวัฒนธรรมแบบใหม่ ๆ และความทันสมัยเข้ามาแทนที่หรือถูกผสมผสานจนเกิดการเปลี่ยนแปลงของวัฒนธรรมพื้นบ้าน เป็นผลให้วัฒนธรรมพื้นบ้านที่มีเอกลักษณ์ควรอนุรักษ์ไว้นั้นเริ่มเลือนหายไป หรือถูกปรับเปลี่ยนให้กลมกลืนไปกับสถานการณ์ในปัจจุบัน ศิลปวัฒนธรรมด้านดนตรีและการแสดงพื้นบ้านเองก็มีการเปลี่ยนแปลงค่อนข้างมากเช่นกัน การเคลื่อนย้ายของกลุ่มประชากรไปในแต่ละภูมิภาคเป็นอีกปัจจัยสำคัญหนึ่งที่ส่งผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรม สามารถทำให้ทำให้วัฒนธรรมหนึ่งสูญหายเนื่องจากประชากรย้ายออกจากภูมิลำเนา หรือสามารถทำให้เกิดการเผยแพร่วัฒนธรรมไปยังภูมิลำเนาอื่นก็ได้ เพราะเมื่อมีการเคลื่อนย้ายประชากรจากภูมิลำเนาหนึ่ง ๆ ไปยังพื้นที่ใหม่ มักนำพาวัฒนธรรมพื้นถิ่นติดตัวไปด้วย มหาวิทยาลัยแม่โจ้ จังหวัดเชียงใหม่ ก็นับเป็นสถานที่แห่งหนึ่งที่มีนักศึกษามาจากหลากหลายภูมิภาคทั่วประเทศ โดยเฉพาะจากภาคอีสาน จึงมีจำนวนนักศึกษาจากภาคอีสานในมหาวิทยาลัยแม่โจ้มากเป็นอันดับสองรองจากภาคเหนือ และมีการรวมกลุ่มนักศึกษาภาคอีสานค่อนข้างเหนียวแน่น รวมถึงมีการตั้งชมรมศิลปวัฒนธรรมอีสาน "ชมรมวงโปงลาง มหาวิทยาลัยแม่โจ้" ขึ้น ซึ่งเป็นข้อดีที่ช่วยในการสร้างความสัมพันธ์ระหว่างนักศึกษาและยังช่วยในการเผยแพร่วัฒนธรรมอีสาน อีกทั้งการแสดงของวงโปงลางในแต่ละครั้งนั้นยังได้รับกระแสตอบรับเป็นอย่างดีอีกด้วย
ดังนั้น ชมรมวงโปงลางมหาวิทยาลัยแม่โจ้ จึงมีความต้องการที่จะอนุรักษ์และเผยแพร่วัฒนธรรมอีสานให้ผู้คนในหลากหลายพื้นที่ได้รู้จัก รวมถึงสร้างเครือข่ายความสัมพันธ์อันดีของกลุ่มคนที่สนใจในวัฒนธรรมของภาคอีสานทั้งภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย ตลอดจนส่งเสริมให้นักศึกษาได้มีเวทีแสดงทักษะความสามารถทางศิลปวัฒนธรรมอีสาน จึงจัดโครงการ “มหกรรมหมอลำอีสาน ศิลป์ล้านช้างคอนเสิร์ต” ขึ้น โดยจัดกิจกรรมในรูปแบบ "มหกรรมหมอลำอีสาน ศิลป์ล้านช้างคอนเสิร์ต" ภายในงานมีกิจกรรมหลากหลายคล้ายการจัดงานวัดในตรีมงานไทบ้านอีสาน และมีกิจกรรมพาแลงลูกหลานชาวอีสาน(พาข้าว) โดยเป็นการทานอาหารรวมกันแบบชาวอีสาน มีเมนูอาหารเป็นเมนูทางภาคอีสาน กิจกรรมการออกร้านขายของของนักศึกษาเพื่อสร้างโอกาสในการหารายได้พิเศษ ซุ้มขายอาหารพื้นบ้านอีสานของนักศึกษา และกิจกรรมการแสดงดนตรีและการแสดงหมอลำเรื่อง โดยวงโปงลางมหาวิทยาลัยแม่โจ้ และเครือข่ายความร่วมมือชาวอีสานในจังหวัดเชียงใหม่
รายละเอียดเพิ่มเติม
ตอนที่ 1 รายละเอียด
ประเภท/ลักษณะงาน ไม่ระบุ
เกี่ยวข้องกับกิจกรรม ไม่ระบุ
ระดับ ในสถาบัน
ปริมาณงานทั้งหมด 2  
เป้าหมายผู้เข้าร่วม 500 คน
จำนวนผู้เข้าร่วม   ไม่ระบุ คน
ตอนที่ 2 รายรับ-รายจ่าย
รายรับ   ไม่ระบุ บาท
มูลค่ารายรับ   ไม่ระบุ บาท
ค่าใช้จ่าย ไม่ระบุ บาท
มูลค่าค่าใช้จ่าย   ไม่ระบุ บาท
ตอนที่ 3 ผลการดำเนินงาน
ไม่ระบุ
ตอนที่ 4 สอดคล้องสมรรถนะ
ประเภทสมรรถนะ
ตอนที่ 5 เอกสารอ้างอิง
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 6 ภายใต้โครงการ
ตอนที่ 7 ภายใต้งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 8 การบูรณาการ
ไม่มีข้อมูล