เมนู
มหาวิทยาลัยแม่โจ้
มหาวิทยาลัยแม่โจ้
Maejo University
ติดต่อ
บุคลากร (เข้าสู่ระบบ)
หน้าหลัก
บุคลากร
พัฒนาบุคลากรและกิจกรรม
โครงการพัฒนาศักยภาพนักศึกษาใหม่และเสริมสร้างอัตลักษณ์ความเป็นลูกแม่โจ้ ประจำปีการศึกษา 2557
วันที่เริ่มต้น
04/08/2557
เวลา
5:00
วันที่สิ้นสุด
10/08/2557
เวลา
22:00
ทั้งวัน
สถานที่จัด
มหาวิทยาลัยแม่โจ้
ภายในสถาบัน
ในประเทศ
ต่างประเทศ
หน่วยงานที่จัด
ผู้รับผิดชอบ
ผู้เข้าร่วม
หน่วยงานที่จัด
คณะ/สำนัก
สำนักงานมหาวิทยาลัย
สาขา/กอง
กองพัฒนานักศึกษา
หน่วยงานภายใน
งานกิจกรรมนักศึกษา
ชื่อหน่วยงาน
ผู้รับผิดชอบหลัก
อำพร เวียตตัน
สำนักงานมหาวิทยาลัย
กองส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม
งานอำนวยการ
ผู้รับผิดชอบหลัก (นักศึกษา)
5401101338
นาย
ภานุพงษ์
อุลิต
:
พืชไร่
120ชั่วโมง
5401105330
นางสาว
ปฐวี
บัวสะอาด
:
อารักขาพืช (กีฏวิทยา)
120ชั่วโมง
5410101320
นาย
ณรงค์ชัย
ตนอุตร์
:
การประมง
120ชั่วโมง
5503101343
นาย
อาภากร
แซ่หลี
:
วิศวกรรมเกษตร
120ชั่วโมง
5506103368
นาย
พลยศ
พึ่งเคหา
:
บัญชี
120ชั่วโมง
5512102394
นางสาว
สุกัญญา
เรือนทอง
:
เศรษฐศาสตร์สหกรณ์
120ชั่วโมง
5512102396
นางสาว
สุจิตรา
เมืองทอง
:
เศรษฐศาสตร์สหกรณ์
120ชั่วโมง
5512106302
นางสาว
กนกพร
โกเกตุ
:
เศรษฐศาสตร์เกษตร ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม
120ชั่วโมง
5601101302
นาย
กัณฑพงษ์
เกษม
:
พืชไร่
120ชั่วโมง
5601101316
นาย
ชินวัตร
ดวงติ๊บ
:
พืชไร่
120ชั่วโมง
5601101341
นาย
ปักษ์อิสรา
ชาพรมมา
:
พืชไร่
120ชั่วโมง
5601101343
นาย
พงศกร
ชุมภูชัย
:
พืชไร่
120ชั่วโมง
5601102324
นาย
จักรกฤษณ์
โคมณี
:
พืชสวน (พืชผัก)
120ชั่วโมง
5603104309
นางสาว
ฐิรชญา
ยานวัตร
:
เทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว
120ชั่วโมง
5603104320
นางสาว
พีรชนันท์
พีระเชื้อ
:
เทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว
120ชั่วโมง
5603104324
นางสาว
ธนธรณ์
ศรีวิชัย
:
เทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว
120ชั่วโมง
5606103341
นาย
ณัฐวัฒน์
ภัทรเกษวิทย์
:
บัญชี
120ชั่วโมง
5615123316
นางสาว
จรรยา
เทเวศร์วรกุล
:
พลังงานทดแทน
120ชั่วโมง
5615123329
นางสาว
ชนิกานต์
รอดมุ้ย
:
พลังงานทดแทน
120ชั่วโมง
ด้วยมหาวิทยาลัยแม่โจ้ ได้เปิดรับนักศึกษาใหม่เข้าศึกษา ประจำปี 2557 ซึ่งเป็นนักศึกษาจากหลายภูมิภาค หลายสถาบัน ซึ่งมีความแตกต่างกันหลายด้าน ทั้งสภาพแวดล้อมภูมิประเทศ และสังคม เมื่อนักศึกษาใหม่ต้องมาใช้ชีวิตร่วมกันในรั้วมหาวิทยาลัยแม่โจ้นั้น อาจทำให้เกิดปัญหาหลายอย่างตามมา เช่นการทะเลาะวิวาท ปัญหาด้านจิตใจ การเข้าสังคม การเห็นแก่ตัวขาดการช่วยเหลือเกื้อกูลซึ่งกันและกันไม่เข้าใจวัฒนธรรมท้องถิ่นที่ตนเองต้องเข้ามาอาศัยอยู่ เป็นต้น ซึ่งปัญหาเหล่านี้อาจกลายเป็นอุปสรรคต่อการศึกษาเล่าเรียน ทำให้ไม่ประสบผลสำเร็จในการเรียนหรือเป็นบัญฑิตที่ไม่มีคุณภาพได้
ดังนั้นองค์กรนักศึกษามหาวิทยาลัยแม่โจ้ ซึ่งมีหน้าที่ขับเคลื่อนกิจกรรมนักศึกษาและรักษาผลประโยชน์อันพึงมีของนักศึกษาจึงมีความประสงค์จะจัดโครงการพัฒนาศักยภาพนักศึกษาใหม่ ประจำปี 2557เพื่อหล่อหลอมแนวความคิดปรับทัศนคติ และสร้างความรักความผูกพันระหว่างลูกแม่โจ้เกิดความเอื้ออาทรและช่วยเกื้อกูลกัน โดยให้นักศึกษาได้เรียนรู้ผ่านกิจกรรมต่าง ๆ ดังนี้
1. กิจกรรมต้อนรับน้องสู่บ้านหลังที่สอง ซึ่งเป็นการอำนวยความสะดวกในการรับนักศึกษาใหม่ที่เดินทางจากขนส่งอาเขตและสถานนีรถไฟ เพี่อนำส่งมหาวิทยาลัยแม่โจ้ เนื่องจากนักศึกษาใหม่อาจไม่คุ้นเคยกับเส้นทางคมนาคม นอกจากนี้ยังเป็นกิจกรรมที่รุ่นพี่แสดงถึงความเอาใจใส่และค่อยช่วยเหลือนักศึกษาใหม่
2. กิจกรรมงานเลี้ยงขันโตกต้อนรับน้องใหม่ ให้กับนักศึกษาใหม่ อีกทั้งยังเป็นการสร้างความประทับใจ ให้แก่รุ่นน้อง และยังเป็นการเผยแพร่วัฒนธรรมไทยล้านนาให้แก่นักศึกษาใหม่ที่มาจากต่างภูมิภาคให้ได้รู้จักวัฒนธรรมทางภาคเหนือให้มากขึ้นอีกด้วย
3.กิจกรรมทำบุญตักบาตรประเพณีรับน้องใหม่ ประจำปี ๒๕๕๗ เพื่อให้กับนักศึกษาใหม่ทุกคนได้ร่วมกันทำบุญตักบาตรข้าวสารอาหารแห้งแด่พระภิกษุสงฆ์รวมถึงได้สร้างบุญสร้างกุศลให้กับตนเองรวมไปถึงครอบครัว และเป็นการทำนุบำรุงพระพุทธศาสนาให้คงอยู่ในสังคมไทยซึ่งเป็นวัฒนธรรมอันดีงามที่เราชาวพุทธควรอนุรักษ์และสืบสานต่อไป
4.กิจกรรมเดินตามรอยคุณพระช่วง ซึ่งนักศึกษาใหม่ยังไม่รู้จักอาคารเรียน ทำให้นักศึกษาใช้เวลานานในการหาอาคารเรียน นอกจากนั้นภายในมหาวิทยาลัยยังมีศาลและอนุสาวรีย์ที่สำคัญประจำมหาวิทยาลัย เพื่อให้นักศึกษาใหม่มีความรักและเคารพในสถานที่ ทั้งยังเป็นการสร้างความสัมพันธ์อันดีงามระหว่างพี่กับน้อง และนักศึกษาใหม่ด้วยกัน
5. กิจกรรมแม่โจ้ร่วมใจพัฒนา-รักษาสิ่งแวดล้อมภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย ซึ่งเป็นการบำเพ็ญประโยชน์แก่มหาวิทยาลัยและชุมชนโดยรอบ รวมถึงเป็นการเผยแพร่ชื่อเสียงอันดีงามของมหาวิทยาลัยแม่โจ้ ดังนั้นองค์การนักศึกษาจึงได้จัดทำกิจกรรมนี้ขึ้นมา
6.กิจกรรมประเพณีเดินวิ่งการกุศล แม่โจ้-สันทราย ได้เริ่มมีมาเมื่อครั้งสมัยที่ ศาสตราจารย์ ดร.วิภาต บุญศรี วังซ้าย ดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการวิทยาลัยเกษตรกรรมเชียงใหม่ (แม่โจ้) เพื่อทดสอบสมรรถภาพความอดทน ของนักศึกษาผู้ที่สมัครเข้าเรียนแม่โจ้สมัยนั้น เพราะผู้ที่จะทำการเกษตรต้องมีร่างกายแข็งแรงและสมบูรณ์ และเป็นการฝึกความอดทน ตามคติพจน์ของ ศ.ดร.วิภาต บุญศรี วังซ้าย ที่ว่า “งานหนักไม่เคยฆ่าคน” จนทำให้กิจกรรมการเดิน – วิ่ง การกุศล แม่โจ้ – สันทราย เกิดเป็นประเพณีขึ้นจวบจนปัจจุบัน โดยมีวัตถุประสงค์สำคัญอีกประการของกิจกรรมนี้คือเพื่อให้นักศึกษาใหม่เข้าเยี่ยมคารวะนายอำเภอสันทรายและส่วนราชการต่างๆ ในอำเภอสันทราย
เมื่อนักศึกษาได้ผ่านกิจกรรมการหล่อหลอมพฤติกรรมข้างต้นแล้ว จะทำให้นักศึกษามีความเข้มแข็ง อดทน และมีกำลังใจในการศึกษาเล่าเรียน จนสำเร็จการศึกษาเป็นบัณฑิตที่ดีมีคุณภาพได้
7. กิจกรรมบายศรีสู่ขวัญ-รับน้องใหม่ ในทางภาคเหนือนั้น การบายศรีสู่ขวัญ เป็นประเพณีการเรียกสติกลับคืนสู่ตนเองซึ่งเป็นการย้ำเตือนให้นักศึกษาใหม่ระลึกอยู่เสมอถึงสิ่งที่พึงกระทำเมื่อเป็นนักศึกษา การเป็นส่วนหนึ่งของชุมชนและสังคม
ณภัทร แก่นสาร์
(ผู้บันทึกข้อมูล)
ข้อมูลวันที่ :
08/12/2557 13:40
รายละเอียดเพิ่มเติม
ตอนที่
1
รายละเอียด
ประเภท/ลักษณะงาน
ไม่ระบุ
เกี่ยวข้องกับกิจกรรม
ไม่ระบุ
ระดับ
ในสถาบัน
ปริมาณงานทั้งหมด
60
ชั่วโมง
วัน
เป้าหมายผู้เข้าร่วม
6100
คน
จำนวนผู้เข้าร่วม
6100
คน
ตอนที่
2
รายรับ-รายจ่าย
รายรับ
ไม่ระบุ
บาท
มูลค่ารายรับ
ไม่ระบุ
บาท
ค่าใช้จ่าย
ไม่ระบุ
บาท
มูลค่าค่าใช้จ่าย
ไม่ระบุ
บาท
ตอนที่
3
ผลการดำเนินงาน
ไม่ระบุ
ตอนที่
4
สอดคล้องสมรรถนะ
ประเภทสมรรถนะ
สมรรถนะหลักของมหาวิทยาลัย
สมรรถนะประจำกลุ่มงาน
สมรรถนะของผู้บริหาร
ตอนที่
5
เอกสารอ้างอิง
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่
6
ภายใต้โครงการ
โครงการพัฒนาศักยภาพนักศึกษา ปีการศึกษา 2557 (รับน้องใหม่ อินทนิลช่อ 79)
ตอนที่
7
ภายใต้งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่
8
การบูรณาการ
ไม่มีข้อมูล