สถานะโครงสร้าง :
โครงสร้างหน่วยงานปัจจุบัน
ประเภทหน่วยงาน :
หน่วยงานสายสนับสนุน
ผลของการปฏิบัติงาน ประจำปี 2567
เฉลี่ย
Chart.
มิติที่ 1
Chart.
มิติที่ 2
Chart.
มิติที่ 3
Chart.
มิติที่ 4
Chart.

บุคลากร

Chart.
จำนวนบุคลากรทั้งหมด : 0 คน

งานวิจัย

Chart.
จำนวนงานวิจัยทั้งหมด : 0 งาน

โครงการ

Chart.
จำนวนโครงการทั้งหมด : 6 โครงการ

ผลงานทางวิชาการ

Chart.
จำนวนผลงานวิชาการทั้งหมด : 0 งาน

กิจกรรมการพัฒนาบุคลากร

Chart.
จำนวนกิจกรรมทั้งหมด : 0 งาน

รางวัลและเกียรติคุณ

Chart.
จำนวนรางวัลทั้งหมด : 0 รางวัล

นวัตกรรมและงานสร้างสรรค์

Chart.
จำนวนนวัตกรรมทั้งหมด : 0 งาน

แฟ้มผลงานอื่นๆ

Chart.
จำนวนผลงานอื่นๆ ทั้งหมด : 0 งาน
...  

รางวัลและเกียรติคุณ

...  

นวัตกรรมและงานสร้างสรรค์

...  

การจดทะเบียนทรัพย์สินทางปัญญา

...  

แฟ้มผลงานอื่นๆ

...  

บทความทางวิชาการ

ชื่อหน่วยงาน :
ศูนย์วิจัยและพัฒนาลำไยแม่โจ้ ()
Maejo Longan Research and Development Center
โครงสร้างหน่วยงาน :
มหาวิทยาลัย » หน่วยงานแบบวิสาหกิจ » มหาวิทยาลัยแม่โจ้ » ศูนย์วิจัยและพัฒนาลำไยแม่โจ้
สถานะโครงสร้าง :
โครงสร้างหน่วยงานปัจจุบัน
ประเภทหน่วยงาน :
หน่วยงานสายสนับสนุน
ติดต่อ :
โทรศัพท์ 053-873390     โทรสาร 053-499218
วิสัยทัศน์
เป็นศูนย์กลางข้อมูล งานวิจัย และการให้บริการทางวิชาการเรื่องลำไย ในระดับชาติ
ปรัชญา

N/A

พันธกิจ / ภาระหน้าที่

พันธกิจ

  • รวบรวมข้อมูลทางด้านวิชาการของลำไย เพื่อสร้างเป็นฐานข้อมูลสำหรับให้บริการแก่นักวิชาการ สถานศึกษา หน่วยราชการ เอกชน หรือบุคคลทั่วไป
  • เสนอโครงการเพื่อขอรับทุนสนับสนุนจากแหล่งทุนต่างๆ เพื่อทำงานวิจัยเชิงบูรณาการด้านลำไยอย่างเป็นระบบ
  •  มุ่งให้บริการทางด้านวิชาการเรื่องลำไย ทั้งในรูปแบบการฝึกอบรม ดูงาน ประชุม สัมมนาวิชาการ รวมทั้งการให้บริการที่ปรึกษาสวนและการจัดการสวนที่ถูกต้องและเหมาะสม
  • มุ่งให้ข้อมูลที่เป็นประโยชน์สำหรับเป็นพื้นฐานในการวางนโยบายและแผนเพื่อแก้ปัญหาลำไยอย่างเป็นระบบของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์


ข้อมูลทั่วไป

  • เพื่อเป็นแหล่งข้อมูลหรือศูนย์กลางข้อมูลวิชาการทางด้านลำไย โดยครอบคลุมถึงการแสวงหา, การเก็บรักษาข้อมูล แลกเปลี่ยน สาธิตและเผยแพร่ข้อมูลต่างๆ ให้แก่สถาบันการศึกษา ส่วนราชการ เอกชน และองค์กรหรือชุมชนต่าง ๆ ทั่วประเทศ
  • เพื่อเป็นแหล่งศึกษาเรียนรู้และสนับสนุนการเรียนการสอนของนักศึกษา นักวิชาการ หรือผู้สนใจอื่นๆ ทั้งทางตรง เช่น การเข้ามาทำงานวิจัย ศึกษาดูงาน ฝึกงาน หรือทางอ้อม เช่น การมาค้นคว้าข้อมูล หรือแลกเปลี่ยนข้อมูลเป็นต้น
  • เพื่อเป็นแหล่งผลิตนักวิจัยรุ่นใหม่ทางด้านลำไย โดยการเสนอโครงการวิจัยที่มีการจ้างนักศึกษาระดับปริญญาโทเข้ามาร่วมเป็นผู้ช่วยนักวิจัย เพื่อที่นักศึกษาจะได้มีประสบการณ์ในการทำงานวิจัยทางด้านลำไยโดยตรง เมื่อจบออกไปจะสามารถทำงานวิจัยทางด้านลำไยได้อย่างมีประสิทธิภาพ
  • เพื่อเป็นส่วนหนึ่งในการหารายได้สำหรับการพึ่งพาตัวเองของศูนย์ฯ โดยการให้บริการที่ปรึกษาสวนและการจัดการสวนลำไยอย่างครบวงจร การรับงานฝึกอบรมเกษตรกรหรือการจัดประชุมสัมมนาวิชาการทางด้านลำไย การเข้าชมแปลงสาธิตหรือการท่องเที่ยวเชิงนิเวศน์ เป็นต้น
     
ประวัติ
N/A