รายการบทความการแลกเปลี่ยนเรียนรู้หมวดหมู่ : กลุ่มงานช่วยวิชาการ
N/A
พัฒนาตนเอง จเร » เข้าร่วมโครงการ เสริมสร้างวิสัยทัศน์และพัฒนาการบริหาร จัดการสำนักงานคณบดี คณะวิทยาศาสตร์ ประจำปี 2567 เมื่อ วันที่ 3 เมษายน 2567
คำสำคัญ :
กลุ่มบทความ : กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ : กลุ่มงานช่วยวิชาการ
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 28  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน จเร ตุ่นคำ  วันที่เขียน 22/4/2567 10:04:24  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 27/4/2567 2:07:11
สรุปรายงานจากการอบรม » การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีการอ่านลำดับสายยาวด้วย oxford nanopore sequencing
ทคโนโลยี nanopore เป็นเทคโนโลยีการหาลำดับ DNA และ RNA แบบสายยาวต่อเนื่อง โดยไม่ต้องใช้กระบวนการสังเคราะห์ DNA ต้นแบบ ไม่ทำต้องปฏิกิริยา PCR จึงทำให้การวิเคราะห์ลำเบสต่างๆมีความแม่นยำ รวดเร็ว และประหยัดค่าใช้จ่ายได้มาก หลักการของ nanopore sequencing คือ การผ่านกระแสไฟฟ้าข้ามรูขนาดเล็ก nanopore สนามไฟฟ้าจะทำให้เกิดแรงขับโมเลกุลกรดนิวคลิอิกโครงสร้างสายเดี่ยวผ่านระดับนาโนเมตร การผ่านรูของกรดนิวคลิอิกแต่ละตัวจะถูกตรวจจับโดยการเปลี่ยนแปลงของกระแสไฟฟ้าระหว่างการเคลื่อนที่ผ่านรูของนิวคลิโอไทด์ เมื่อ nucleotides ผ่านเข้าไปใน nanopore จะเกิดรูปแบบกระแสไฟฟ้าที่มีการแปรสัญญาณแสดงออกมาเป็นกราฟ แล้วจะถูกนำไปแปลงผลให้เป็น nucleotide แต่ละตัว โดยมีความเร็วในการอ่านประมาณ 450 เบสต่อวินาที การวิเคราะห์นี้จะใช้เวลาสั้นและมีค่าใช้จ่ายน้อย
คำสำคัญ : DNA sequencing, nanopore technology  
กลุ่มบทความ : กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ : กลุ่มงานช่วยวิชาการ
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 26  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน วริศรา สุวรรณ  วันที่เขียน 17/4/2567 14:00:14  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 27/4/2567 14:00:47
พัฒนาตนเอง-นงคราญ » “การผลิตคราฟต์เบียร์ ขนาด 20 ลิตร"
จากการเข้าร่วมอบรมเชิงปฏิบัติการด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอาหาร “อุดมคติ On Tour" เรื่องหัวข้อ “การผลิตคราฟต์เบียร์ ขนาด 20 ลิตร วันที่ 25 พฤศจิกายน 2566 ได้รับความรู้เกี่ยวกับการผลิตคราฟต์เบียร์ และได้ฝึกปฏิบัติกระบวนการผลิตคราฟต์เบียร์ ขนาด 20 ลิตร ที่สามารถนำไปลองทำด้วยตนเองได้ ซึ่งเป็นความรูู้ที่น่าสนใจและอยากเผยแพร่ให้ผู้อ่านได้รับข้อมูลและสาระจากบทความนี้
คำสำคัญ : กลุ่มงานช่วยวิชาการ  การผลิตคราฟต์เบียร์  เบียร์ (ฺBeer)  พัฒนาตนเอง  อบรม  อบรมเชิงปฏิบัติการ  
กลุ่มบทความ : กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ : กลุ่มงานช่วยวิชาการ
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 731  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน นงคราญ พงศ์ตระกุล  วันที่เขียน 9/1/2567 14:47:56  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 27/4/2567 15:14:18
การพัฒนาตนเอง » ความสำคัญของใบอนุญาตประกอบวิชาชีพวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีควบคุมสาขาการผลิตการควบคุมและการจัดการสารเคมีอันตราย
เข้าร่วมเสวนา เรื่อง ความสำคัญของใบอนุญาตประกอบวิชาชีพวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีควบคุมสาขาการผลิตการควบคุมและการจัดการสารเคมีอันตราย เมื่อวันที่ 31 ตุลาคม 2566 ผ่านโปรแกรม Zoom Cloud Meetings
คำสำคัญ :
กลุ่มบทความ : กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ : กลุ่มงานช่วยวิชาการ
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 151  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน จิราภรณ์ กิติกุล  วันที่เขียน 9/1/2567 13:42:38  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 27/4/2567 17:03:14
การประชุมวิชาการระดับชาติ » งานประชุมวิชาการระดับชาติประจำปี 2566 เรื่อง นวัตกรรมเกษตรอาหาร และสุขภาพ
จากการได้เข้าร่วมประชุมวิชาการระดับชาติซึ่งการจัดการประชุมเพื่อส่งเสริมให้บุคลากรทางการศึกษา วิจัยและพัฒนานวัตกรรมด้านการเกษตร อาหาร สุขภาพ และสิ่งแวดล้อม ทั้งหน่วยงานภาครัฐ ภาคธุรกิจ และภาคประชาชน มีโอกาสแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและประสบการณ์ทางวิชาการ รวมทั้งเผยแพร่ผลงานวิจัย งานสร้างสรรค์และนวัตกรรมสู่สาธารณะ ในรูปแบบของการเสวนาวิชาการ และการนำเสนอบทความ ซึ่งการเข้าร่วมประชุมครั้งนี้สอดคล้องกับผลลัพธ์การเรียนรู้ (PLOs) ในเรื่องของการมีทักษะการปฏิบัติงาน และทักษะการแก้ไขปัญหาด้านเทคโนโลยีชีวภาพทางการเกษตร รวมถึงสาขาที่เกี่ยวข้อง เพราะการวิจัยและพัฒนานวัตกรรมเป็นกลไกสำคัญที่สนับสนุนการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติ โดยเฉพาะการสร้างความสามารถในการแข่งขัน ด้วยการพัฒนาการเกษตรสร้างมูลค่าสู่ภาคอุตสาหกรรมและบริการแห่งอนาคต ด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ ทำให้เข้าใจถึงปัญหาซึ่งจะนำไปสู่แนวทางการวิจัยและแก้ไขปัญหาได้อย่างสัมฤทธิ์ผล และสามารถทำงานวิจัยเพื่อเอื้อประโยชน์ต่อกันในการนำผลงานวิจัยต่อยอดขยายผลสร้างประโยชน์ต่อองค์กรภาครัฐ ภาคเอกชน ผู้ประกอบการ และผู้สนใจทั่วไป อันจะส่งผลดีต่อการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศอย่างแท้จริง
คำสำคัญ :
กลุ่มบทความ : กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ : กลุ่มงานช่วยวิชาการ
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 136  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน ภานรินทร์ ปรีชาวัฒนากร  วันที่เขียน 4/1/2567 14:54:51  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 27/4/2567 17:04:35
พัฒนาตนเอง จเร » การฝึกอบรมเชิง ปฏิบัติการ หลักสูตรการท าไวน์และสุนทรีของการดื่มไวน์
เข้าร่วมการฝึกอบรมเชิง ปฏิบัติการ หลักสูตรการท าไวน์และสุนทรีของการดื่มไวน์ เมื่อวันที่ 24 พฤษภาคม 2566
คำสำคัญ : กลุ่มงานช่วยวิชาการ  พัฒนาตนเอง  ไวน์  อบรม  
กลุ่มบทความ : กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ : กลุ่มงานช่วยวิชาการ
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 225  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน จเร ตุ่นคำ  วันที่เขียน 3/10/2566 14:39:01  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 27/4/2567 14:28:38
การทบทวนวรรณกรรมอย่างมีระบบ (Systematic Review) » การทบทวนวรรณกรรมอย่างมีระบบ (Systematic Review) โดยใช้ chat gpt เข้ามาช่วย
การทบทวนวรรณกรรมอย่างมีระบบ (Systematic Review) เป็นกระบวนการที่เรียบร้อยและเป็นระบบในการรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลจากงานวิจัยที่มีอยู่เพื่อสรุปข้อมูลและข้อสรุปที่มีค่าในสาขาวิชาต่าง ๆ การใช้ Chat GPT ในกระบวนการ Systematic Review ช่วยให้มีการสร้างบทคัดย่อได้อย่างมีประสิทธิภาพ ขั้นตอนหลักของบทคัดย่อคือดังนี้: คำถามทบทวนวรรณกรรม: กำหนดคำถามทบทวนวรรณกรรมอย่างชัดเจน ซึ่งจะเป็นแนวทางในการค้นหางานวิจัยที่เกี่ยวข้อง. ค้นหางานวิจัย: ใช้ Chat GPT เพื่อช่วยในการค้นหางานวิจัยที่เกี่ยวข้อง โดยการระบุคำสำคัญหรือคำหลักที่เกี่ยวข้องกับคำถามทบทวน. คัดเลือกงานวิจัย: รายการงานวิจัยที่เกี่ยวข้องจะถูกคัดเลือกโดยการใช้เกณฑ์ที่กำหนดไว้ล่วงหน้า ใช้ Chat GPT เพื่อรวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้องจากรายการงานวิจัยนี้. การวิเคราะห์ข้อมูล: Chat GPT สามารถช่วยในการวิเคราะห์ข้อมูลที่ได้จากงานวิจัย รวมถึงการสร้างสรุปเกี่ยวกับข้อมูลและผลลัพธ์ที่สำคัญ. การสรุปและเขียนบทคัดย่อ: ใช้ Chat GPT เพื่อช่วยในกระบวนการสรุปข้อมูลที่ได้จากการทบทวนวรรณกรรมและเขียนบทคัดย่อของงานวิจัยโดยรวมข้อมูลหลายรายการเป็นเนื้อหาที่มีระเบียบและสรุปคำแนะนำหรือข้อสรุป. การใช้ Chat GPT เป็นเครื่องมือในการสร้างบทคัดย่อสามารถช่วยลดเวลาและความซับซ้อนในกระบวนการ Systematic Review แต่ควรระมัดระวังในการตรวจสอบและปรับปรุงเนื้อหาที่สร้างขึ้นโดย AI เพื่อให้มั่นใจว่ามีความถูกต้องและมีคุณภาพสูงสำหรับงานวิจัยของคุณ
คำสำคัญ : Chat GPT Systematic Review  
กลุ่มบทความ : กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ : กลุ่มงานช่วยวิชาการ
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 142  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน ศิรินภา อ้ายเสาร์  วันที่เขียน 26/9/2566 16:11:39  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 27/4/2567 16:05:21
สรุปรายงานจากการอบรม » วิธีการเตรียมสไลด์ถาวรเพื่อแสดงการแบ่งเซลล์แบบไมโอซิส
การเตรียมสไลด์ถาวรเพื่อศึกษาการแบ่งเซลล์แบบไมโอซิส มีวัตถุประสงค์เพื่อถ่ายทอดองค์ความรู้และเผยแพร่วิธีการเตรียมสไลด์ ให้ผู้ที่ปฏิบัติงานในหลักสูตรพันธุศาสตร์ ได้นำไปเป็นแนวทางในการปฏิบัติงานสำหรับสนับสนุนการเรียนการสอนต่อไป การศึกษาตัวอย่างของสิ่งมีชีวิตหรือส่วนต่าง ๆ ของสิ่งมีชีวิต โดยผนึกลงบนสไลด์ แล้วนำมาศึกษาด้วยกล้องจุลทรรศน์ เป็นวิธีการที่ดีทําให้สามารถศึกษาส่วนประกอบที่ไม่สามารถมองเห็นด้วยตาเปล่าได้ การทําสไลด์ถาวร จะช่วยให้ศึกษาถึงรายละเอียดของสิ่งมีชีวิตได้ มีความสะดวกในการใช้งาน ใช้ซ้ำได้หลายครั้ง ลดค่าใช้จ่ายในการเตรียมตัวอย่างพืช (ดอกข้าวโพด) และไม่เสียเวลาทําใหม่เหมือนกับสไลด์ชั่วคราว
คำสำคัญ : สไลด์ถาวร การแบ่งเซลล์ ไมโอซิส meiosis  
กลุ่มบทความ : กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ : กลุ่มงานช่วยวิชาการ
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 136  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน วริศรา สุวรรณ  วันที่เขียน 26/9/2566 11:21:21  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 25/4/2567 22:40:42
ฝึกอบรมการทบทวนวรรณกรรมอย่างมีระบบ » การทบทวนวรรณกรรมอย่างมีระบบ (Systematic Review)
การทบทวนวรรณกรรมอย่างมีระบบหรือ Systematic Review คือกระบวนการวิจารณ์วรรณกรรมที่จัดทำโดยใช้ขั้นตอนและเครื่องมือที่มีระเบียบเพื่อสรุปผลลัพธ์จากการวิเคราะห์วรรณกรรมที่มีอยู่ในปัจจุบันเกี่ยวกับหัวข้อหรือคำถามที่กำหนดไว้ วิธีการสังเคราะห์ดังกล่าวสำคัญในการประเมินข้อมูลที่มาจากหลายแหล่งและสร้างฐานความรู้ที่เป็นมาตรฐานในการตัดสินใจทางวิชาการ
คำสำคัญ : Chat GPT  การทบทวนวรรณกรรมอย่างมีระบบ  การอ่านอย่างมีระบบ  งานวิจัย  
กลุ่มบทความ : กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ : กลุ่มงานช่วยวิชาการ
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 147  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน อนุชิดา วงศ์ชื่น  วันที่เขียน 26/9/2566 3:20:07  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 25/4/2567 14:25:46
สรุปรายงานจากการอบรม » Quantitative PCR (qPCR)
PCR (Polymerase chain reaction) เป็นเทคนิคที่มีการเพิ่มจำนวนสารพันธุกรรม หรือ ดีเอ็นเอของสิ่งมีชีวิต จากปริมาณ DNA ตั้งต้น เพิ่มขึ้นเป็นล้านล้านสำเนา ภายในระยะเวลาอันสั้น ขั้นตอนในการทำ PCR แบบดั้งเดิม ได้แก่ การทำให้ DNA เสียสภาพที่อุณหภูมิสูงและแยกตัวออกเป็นสายเดี่ยว (Denatulation) การจับกันของไพรเมอร์และดีเอ็นเอ โดยการลดอุณหภูมิลง ไพรเมอร์จะเข้าไปจับกับดีเอ็นเอแม่พิมพ์ (Annealing) และการสังเคราะห์ดีเอ็นเอ โดย Taq DNA polymerase จะนำเบสต่างๆ (A, T, C, G) ไปสังเคราะห์ต่อจากไพรเมอร์จนได้ดีเอ็นเอสายคู่เหมือนเดิม (Extension) Quantitative PCR (QPCR) หรือ PCR เชิงปริมาณ เหมาะสำหรับใช้ในหาปริมาณ DNA และสามารถตรวจสอบการขยายตัวของโมเลกุล DNA ได้ในระหว่างการทำ PCR ในเวลาจริง เป็นเทคนิคที่ถูกพัฒนามาจากการทำ PCR แบบดั้งเดิม โดยใช้การติดฉลากด้วยสารเรืองแสงประเภท fluorochrome ทำให้สามารถวัดปริมาณของดีเอ็นเอเป้าหมายตั้งต้นจากสิ่งต้องการตรวจวัดได้และสามารถวัดปริมาณดีเอ็นเอที่เพิ่มขึ้นมาได้ทันที โดยไม่จำเป็นต้องรอให้กระบวนการเสร็จสิ้นก่อน
คำสำคัญ : PCR, qPCR  
กลุ่มบทความ : กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ : กลุ่มงานช่วยวิชาการ
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 124  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน วริศรา สุวรรณ  วันที่เขียน 25/9/2566 13:14:19  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 27/4/2567 8:49:06
การออกแบบการเรียนการสอนแบบย้อนกลับ (backward design) » การออกแบบการเรียนการสอนแบบย้อนกลับ (backward design)
การออกแบบการเรียนการสอนแบบย้อนกลับ (backward design) เป็นกระบวนการวางการเรียนการสอนที่มุ่งเน้นการกำหนดวัตถุประสงค์การเรียนรู้และการประเมินก่อนจากนั้นจึงจัดระเบียบเนื้อหาการเรียนรู้และกิจกรรมการเรียนรู้ในลำดับที่เหมาะสม การใช้วิธีนี้ช่วยให้การสอนมีความความสอดคล้องและมี ประสิทธิภาพในการส่งเสริมการเรียนรู้ของนักเรียนมากขึ้น
คำสำคัญ :
กลุ่มบทความ : กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ : กลุ่มงานช่วยวิชาการ
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 97  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน นลิน วงศ์ขัตติยะ  วันที่เขียน 25/9/2566 9:36:35  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 24/4/2567 12:07:48
รุ่งทิพย์ กาวารี » #การอบรมด้านความปลอดภัยทางชีวภาพและการรักษาความปลอดภัยทางชีวภาพ รุ่นที่ 11
จากการอบรมด้านความปลอดภัยทางชีวภาพและการรักษาความปลอดภัยทางชีวภาพ รุ่นที่ 11 ระหว่างวันที่ 22- 23 กรกฎาคม 2566 ณ ห้องประชุมทองกวาว สำนักบริการวิชาการ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มีเนื้อหาประกอบด้วยหลักสูตรการอบรมและการฝึกปฏิบัติเสริมสร้างทักษะด้านความปลอดภัยทางชีวภาพ ได้องค์ความรู้เพื่อสามารถนำไปถ่ายทอดแก่นักศึกษา/ผู้ปฏิบัติงาน ที่ปฏิบัติงานในหมวดวิชาที่รับผิดชอบ และปฏิบัติงานในห้องปฏิบัติการกลางของสาขาวิชาฯ เพื่อป้องกันอันตรายและลดความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้น เพื่อให้เกิดความปลอดภัยในห้องปฏิบัติการ นอกจากนี้ยังสามารถนำไปประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์กับงานวิจัยของตนเองอีกด้วย
คำสำคัญ : Biosafety  Biosecurity  การรักษาความปลอดภัยทางชีวภาพ  ความปลอดภัยทางชีวภาพ  
กลุ่มบทความ : กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ : กลุ่มงานช่วยวิชาการ
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 134  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน รุ่งทิพย์ กาวารี  วันที่เขียน 9/9/2566 13:08:47  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 26/4/2567 13:40:06
พัฒนาตนเอง-นงคราญ » "การประชุมประจำปีเครือข่ายมาตรฐานความปลอดภัยห้องปฏิบัติการ (ครั้งที่ 3) Laboratory Safety Network Annual Symposium 2022 : Safety Culture: Together Towards A Better Tomorrow”
"การประชุมประจำปีเครือข่ายมาตรฐานความปลอดภัยห้องปฏิบัติการ (ครั้งที่ 3) Laboratory Safety Network Annual Symposium 2022 : Safety Culture: Together Towards A Better Tomorrow” ได้จัดขึ้นในวันพฤหัสบดีที่ 10 พฤศจิกายน 2565 เวลา 08.30 16.30 น. ณ ห้องคอนเวนชั่นเซ็นเตอร์โรงแรมเชียงใหม่แกรนด์วิว จังหวัดเชียงใหม่ มีการประชุมรายงานผลการดำเนินงานด้านความปลอดภัยในห้องปฏิบัติการประจำปี 2565 และมีการนำเสนอผลการดำเนินงานด้านมาตรฐานความปลอดภัยที่เป็น Good practices ของหน่วยงานที่เป็นตัวแทนของเครือข่ายวิจัยทั้ง 4 ภูมิภาค
คำสำคัญ : ESPReL Checklist  ประชุมวิชาการ  มาตรฐานความปลอดภัยในห้องปฏิบัติการ  แลกเปลี่ยนเรียนรูู้  อบรม  
กลุ่มบทความ : กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ : กลุ่มงานช่วยวิชาการ
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 161  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน นงคราญ พงศ์ตระกุล  วันที่เขียน 7/9/2566 17:53:25  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 27/4/2567 14:26:58
สรุปรายงานจากการอบรม » การประยุกต์ใช้เทคนิค Loop-mediated isothermal amplification (LAMP) ในงานวิจัย
ปัจจุบันเทคนิคทางอณูพันธุศาสตร์ได้เข้ามามีบทบาทในการทำประโยชน์กับงานหลายๆ ด้าน อาทิเช่น ด้านการแพทย์เพื่อการวินิจฉัยโรค ด้านอุตสาหกรรม สิ่งแวดล้อม และการปรับปรุงพันธุ์พืช การนำเทคนิคทางอณูพันธุศาสตร์เข้ามาช่วยเพิ่มปริมาณสารพันธุกรรม เริ่มจากการใช้เทคนิค Polymerase Chain Reaction เพิ่มชิ้นส่วนดีเอ็นเอเฉพาะส่วนที่ต้องการ ภายในระยะเวลาอันสั้นในหลอดทดลอง ซึ่งจะใช้เวลานานประมาณ 3-4 ชั่วโมง และมีความจำเป็นต้องใช้เครื่อง PCR ในการทำ ซึ่งไม่เหมาะกับห้องปฏิบัติการขนาดเล็ก หรือการทำงานภาคสนาม ดังนั้นจากข้อจำกัดดังกล่าวจึงได้มีการพัฒนาวิธีเพิ่มขยายยีนด้วยเทคนิค Loop-mediated isothermal amplification (LAMP) ขึ้นมา วิธีการนี้สามารถเพิ่มปริมาณสารพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิตได้ถึง 109 เท่า ภายในระยะเวลาประมาณ 1 ชั่วโมง การเพิ่มปริมาณ DNA จะใช้อุณหภูมิคงที่เพียงอุณหภูมิเดียว (60-65 ํC) โดยไม่จำเป็นต้องใช้เครื่อง PCR และการ run gel electrophoresis มีการใช้ primers 4 ชุด หรือ 6 ชุด ที่จำเพาะต่อกับสาย DNA แม่พิมพ์ 6 ตำแหน่ง จึงทำให้มีความจำเพาะต่อการตรวจสอบสูง และทำการเพิ่มปริมาณ DNA โดยใช้เอนไซม์ Bst DNA polymerase สำหรับการตรวจสอบยีนที่เพิ่มขยายได้ ในเทคนิค LAMP จะเกิดสาร pyrophosphate เป็น by product ในปฏิกิริยา สารดังกล่าวสามารถจับกับ magnesium กลายเป็น magnesium pyrophosphate ซึ่งจะเกิด ตะกอนสีขาวขุ่น ไม่ละลายน้ำ สามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่า หรืออาจยืนยันผลด้วยเครื่อง spectrophotometry หรือสารฟลูออเรสเซ็นต์ ซึ่งจะมีปริมาณมากหรือน้อยขึ้นกับปริมาณการเพิ่มขยายยีนนั้นๆ
คำสำคัญ : LAMP, PCR, Loop-mediated isothermal amplification, เทคนิค LAMP  
กลุ่มบทความ : กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ : กลุ่มงานช่วยวิชาการ
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 2150  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน วริศรา สุวรรณ  วันที่เขียน 27/9/2565 15:43:55  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 27/4/2567 16:12:30
พัฒนาตนเอง -นงคราญ » มาตรฐานความปลอดภัยห้องปฏิบัติการภาคเหนือตอนบน ประจำปี 2564 ภายใต้โครงการมหาวิทยาลัยแม่ข่ายด้านมาตรฐานความปลอดภัยห้องปฏิบัติการ : มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และการเตรียมความพร้อมของห้องปฏิบัติการเพื่อเข้าสู่การตรวจประเมินและรองรับห้องปฏิบัติการปลอดภัยเพื่อการยอมรับร่วม (peer evaluation)
การพัฒนาความปลอดภัยในห้องปฏิบัติการ หน่วยงาน/องค์กร ต้องมีการกระตุ้นในทุกระดับทั้งระดับองค์กร มหาวิทยาลัย หน่วยงาน คณะ/ภาควิชาและห้องปฏิบัติการ มีแผนยุทธศาสตร์เพื่อใช้ขับเคลื่อนและดำเนินงานด้านความปลอดภัย รวมถึงการสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินงานและการอบรมให้ความรู้แก่นักศึกษาและบุคลากรที่เกี่ยวข้องในทุกระดับ เพื่อให้นักศึกษาและบุคลากรมีสภาพแวดล้อมในการทำงานที่ปลอดภัย ซึ่งห้องปฏิบัติการสามารถการยกระดับมาตรฐานความปลอดภัยในห้องปฏิบัติการด้วยการใช้ ESPReL Checklist ในการตรวจประเมินและสำรวจเพื่อนำมาวิเคราะห์และจัดทำแผนการพัฒนายกระดับด้านมาตรฐานความปลอดภัยในห้องปฏิบัติการ และสามารถขอตรวจประเมินและรับรองห้องปฏิบัติการเพื่อให้เกิดการยอมรับร่วม (peer evaluation) ต่อไปได้
คำสำคัญ : ESPReL Checklist  กลุ่มช่วยวิชาการ  การขอตรวจประเมินและรับรองห้องปฏิบัติการใน peer evaluation  มาตรฐานความปลอดภัยห้องปฏิบัติการ  อบรมonline  
กลุ่มบทความ : กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ : กลุ่มงานช่วยวิชาการ
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 2165  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน นงคราญ พงศ์ตระกุล  วันที่เขียน 21/12/2564 12:37:47  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 27/4/2567 16:14:13
นางสาวสาวิตรี ทิพนี » การประเมินค่างานของบุคลากรสายสนับสนุนผู้ปฏิบัติงานในห้องปฏิบัติการ
การประเมินค่างานของบุคลากรสายสนับสนุนผู้ปฏิบัติงานในห้องปฏิบัติการ
คำสำคัญ : การประเมินค่างาน  
กลุ่มบทความ : กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ : กลุ่มงานช่วยวิชาการ
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 1203  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน สาวิตรี ทิพนี  วันที่เขียน 9/12/2564 15:08:19  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 27/4/2567 16:14:47
การประเมินค่างานของบุคลากรสายสนับสนุนผู้ปฏิบัติงานในห้องปฏิบัติการ » การประเมินค่างานของบุคลากรสายสนับสนุนผู้ปฏิบัติงานในห้องปฏิบัติการ
คำสำคัญ :
กลุ่มบทความ : กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ : กลุ่มงานช่วยวิชาการ
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 1389  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน ภานรินทร์ ปรีชาวัฒนากร  วันที่เขียน 12/11/2564 10:38:28  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 27/4/2567 16:15:53
มาตรฐานความปลอดภัยห้องปฏิบัติการภายใต้โครงการมหาวิทยาลัยแม่ข่ายด้านมาตรฐานความปลอดภัยห้องปฏิบัติการ ปี 2564 : มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ » มาตรฐานความปลอดภัยห้องปฏิบัติการภายใต้โครงการมหาวิทยาลัยแม่ข่ายด้านมาตรฐานความปลอดภัยห้องปฏิบัติการ ปี 2564 : มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
คำสำคัญ :
กลุ่มบทความ : กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ : กลุ่มงานช่วยวิชาการ
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 1240  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน ภานรินทร์ ปรีชาวัฒนากร  วันที่เขียน 12/11/2564 10:29:03  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 27/4/2567 16:16:27
รุ่งเรือง โพธิ์สิงห์ทอง » การประเมินค่างานของบุคลากรสายสนับสนุนผู้ปฏิบัติงานในห้องปฏิบัติการ
การประเมินค่างานของบุคลากรสายสนับสนุนผู้ปฏิบัติงาน
คำสำคัญ : การประเมินค่างาน  
กลุ่มบทความ : กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ : กลุ่มงานช่วยวิชาการ
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 1129  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน รุ่งเรือง โพธิ์สิงห์ทอง  วันที่เขียน 12/11/2564 10:07:49  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 27/4/2567 16:16:59
พัฒนาตนเอง -นงคราญ » การประเมินค่างานของบุคลากรสายสนับสนุนผู้ปฏิบัติงานในห้องปฎิบัติการ
การประเมินค่างาน เป็นวิธีการที่ใช้ในการกำหนดตำแหน่งและอัตราการจ่ายค่าตอบแทนสำหรับผู้ปฏิบัติงานในตำแหน่งต่างๆ ขององค์กร เป็นการเปรียบเทียบความสำคัญ ความยากและคุณภาพของงานในตำแหน่งต่างๆ
คำสำคัญ : กลุ่มช่วยวิชาการ  การประเมินค่างาน  อบรม  อบรม online  
กลุ่มบทความ : กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ : กลุ่มงานช่วยวิชาการ
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 1271  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน นงคราญ พงศ์ตระกุล  วันที่เขียน 3/11/2564 12:24:27  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 27/4/2567 14:28:26
สรุปรายงานจากการอบรม » การผลิตสื่อด้วยโปรแกรมขั้นพื้นฐานในยุคโควิด
สถานการณ์การแพร่ระบาดของโควิด-19 ส่งผลต่อการจัดการเรียนการสอนในทุกระดับการศึกษา ตั้งแต่โรงเรียนจนถึงระดับมหาวิทยาลัย โดยนักเรียนและนักศึกษาจะต้องปรับตัวให้เข้ากับการเรียนการสอนในชีวิตปกติใหม่ (New Normal) รวมถึงการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วในโลกยุคดิจิทัล เช่นเดียวกับบทบาทของครูอาจารย์ที่ต้องปรับตัว รับการเปลี่ยนแปลงรูปแบบการสอนโดยใช้สื่อต่างๆ ที่เหมาะสมกับการถ่ายทอดความรู้เพื่อสร้างความสนใจแก่ผู้เรียนในชั้นเรียน “สื่อการเรียนรู้” (instructional media) มีบทบาทสำคัญมากในการจัดการการเรียนรู้ คุณสมบัติสำคัญของสื่อเปรียบได้กับการสื่อสาร โดยผู้สอนจะถ่ายทอดเนื้อหาต่างๆ ไปยังผู้เรียนโดยผ่านสื่อการเรียนรู้การผลิตสื่อในปัจจุบันไม่ใช่เรื่องยาก แต่ก็ไม่ได้ง่ายสำหรับผู้ที่เริ่มต้น การผลิตสื่อโดยใช้โปรแกรมที่ติดมากับเครื่องคอมพิวเตอร์ ipad หรืออุปกรณ์อิเลกโทรนิกส์ต่างๆ น่าจะเป็นทางออกที่ดีสำหรับมือใหม่ที่เริ่มผลิตสื่อ เนื่องจากโปรแกรมเหล่านี้ฟรี ไม่เสียค่าใช้จ่าย อีกทั้งใช้ง่าย และไม่ยุ่งยาก แต่หากต้องการผลิตสื่อแบบมืออาชีพ อาจต้องใช้โปรแกรมที่สูงขึ้นเพื่อผลิตสื่อให้ตรงกับความต้องการ เช่น power point, canva, imovie, Loom, OBS และ DaVinci Resolve สื่อที่มีให้เลือกใช้ มีหลายโปรแกรมด้วยกัน โดยในแต่โปรแกรม จะมีข้อดีและข้อเสีย แตกต่างกันไป ดังนั้นควรเลือกใช้ให้เหมาะกับความต้องการของตนเอง
คำสำคัญ : การผลิตสื่อ, สื่อการเรียนรู้,  
กลุ่มบทความ : กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ : กลุ่มงานช่วยวิชาการ
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 1233  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน วริศรา สุวรรณ  วันที่เขียน 29/9/2564 23:14:10  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 26/4/2567 17:47:06
“Smart Laboratory : ระบบออนไลน์กับการพัฒนาระบบงานห้องปฏิบัติการ” » รายงานสรุปการประชุมวิชาการระดับชาติ ฯ และร่วมนำเสนอผลงานวิจัย ระดั มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม วันที่ 23 สิงหาคม 2564
ในปัจจุบันมีงานวิจัยจากนักวิจัยต่างๆจำนวนมากโดยเฉพาะอย่างยิ่งด้านสมุนไพรจะถูกนำมาวิจัยจำนวนมาก แต่ยังขาดการนำงานวิจัยสู่นวัตกรรมการพัฒนาผลิตภัณฑ์ เพราะพบว่ามีปัจจัยหลักที่สำคัญที่มีปัญหาคือ ชีวิตคนไทยไม่ลำบากจึงไม่เกิดแรงพลักดัน ,วิสัยทัศน์ผู้นำองค์กรมีไม่มากพอ, นักวิจัยขาดการทำงานที่ไม่ต่อเนื่อง ขาดการทบทวนเอกสาร และขาดพื้นที่ปฏิบัติงาน
คำสำคัญ :
กลุ่มบทความ : กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ : กลุ่มงานช่วยวิชาการ
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 1152  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน ภานรินทร์ ปรีชาวัฒนากร  วันที่เขียน 11/9/2564 10:32:13  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 27/4/2567 15:08:05
พัฒนาตนเอง -นงคราญ » “Smart Laboratory : ระบบออนไลน์กับการพัฒนาระบบงานห้องปฏิบัติการ”
“Smart Laboratory : ระบบออนไลน์กับการพัฒนาระบบงานห้องปฏิบัติการ” ทำให้การทำงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น
คำสำคัญ : Smart Laboratory  การแลกเปลี่ยนเรียนรู้  ระบบออนไลน์กับการพัฒนาระบบงานห้องปฏิบัติการ  อบรม  อบรมออนไลน์  
กลุ่มบทความ : กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ : กลุ่มงานช่วยวิชาการ
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 3321  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน นงคราญ พงศ์ตระกุล  วันที่เขียน 10/8/2564 23:33:59  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 26/4/2567 16:17:47
“Smart Laboratory : ระบบออนไลน์กับการพัฒนาระบบงานห้องปฏิบัติการ” » Smart Laboratory : ระบบออนไลน์กับการพัฒนาระบบงานห้องปฏิบัติการ
คำสำคัญ :
กลุ่มบทความ : กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ : กลุ่มงานช่วยวิชาการ
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 1346  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน ภานรินทร์ ปรีชาวัฒนากร  วันที่เขียน 6/8/2564 16:05:38  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 27/4/2567 1:15:27
การเผยแพร่ประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับมาตรฐานความปลอดภัยห้องปฏิบัติการ » การเผยแพร่ประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับมาตรฐานความปลอดภัยห้องปฏิบัติการ
คำสำคัญ :
กลุ่มบทความ : กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ : กลุ่มงานช่วยวิชาการ
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 1047  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน ภานรินทร์ ปรีชาวัฒนากร  วันที่เขียน 6/8/2564 16:01:56  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 24/4/2567 12:07:41
นายเกรียงศักดิ์ ภูดีทิพย์ » โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่องการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับมาตรฐานความปลอดภัยห้องปฏิบัติการ
คำสำคัญ :
กลุ่มบทความ : กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ : กลุ่มงานช่วยวิชาการ
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 1102  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน เกรียงศักดิ์ ภูดีทิพย์  วันที่เขียน 2/8/2564 15:49:14  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 26/4/2567 16:14:56
นางสาวสาวิตรี ทิพนี » “Smart Laboratory : ระบบออนไลน์กับการพัฒนาระบบงานห้องปฏิบัติการ”
คำสำคัญ : การพัฒนาระบบงานห้องปฏิบัติการ  
กลุ่มบทความ : กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ : กลุ่มงานช่วยวิชาการ
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 1677  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน สาวิตรี ทิพนี  วันที่เขียน 29/7/2564 12:06:11  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 26/4/2567 19:11:39
รุ่งเรือง โพธิ์สิงห์ทอง » แลกเปลี่ยนเรียนรู้เครือข่ายพัฒนาระบบงานห้องปฏิบัติการบุคลากรสายสนับสนุนในสถาบันอุดมศึกษา ครั้งที่ 1 Smart Laboratory:ระบบออนไลน์กับการพัฒนาระบบงานห้องปฏิบัติการ
คำสำคัญ : ระบบออนไลน์กับการพัฒนาระบบงานห้องปฏิบัติการ  
กลุ่มบทความ : กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ : กลุ่มงานช่วยวิชาการ
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 1778  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน รุ่งเรือง โพธิ์สิงห์ทอง  วันที่เขียน 29/7/2564 12:05:33  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 25/4/2567 16:59:32
พัฒนาตนเอง -นงคราญ » สรุปเนื้อหาที่ได้รับจากการเข้าร่วมอบรมเชิงปฏิบัติการ การเผยแพร่ประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับมาตรฐานความปลอดภัยห้องปฏิบัติการระยะที่ 5 ครั้งที่ 2
เครื่องมือในการบริหารจัดการความปลอดภัยห้องปฏิบัติการพื้นฐานสำหรับห้องปฏิการที่ปฏิบัติงานเกี่ยวข้องกับสารเคมีควรใช้ คือ ESPReL โดย ESPReL เป็นเครื่องมือในการประเมินเบื้องต้นและเป็นระบบออนไลน์ ผลของการประเมินจะออกมาในรูปของคะแนน โดยคะแนนจะเป็นตัวบอกว่ามีความเสี่ยงมากหรือน้อย เพื่อที่ห้องปฏิบัติการจะได้ประเมินและดำเนินการแก้ไขปรับปรุงให้ได้มาตรฐานความปลอดภัยได้
คำสำคัญ : ESPReL  ความปลอดภัยห้องปฏิบัติการ  อบรม  อบรมเชิงปฏิบัติการ  อบรมออนไลน์  
กลุ่มบทความ : กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ : กลุ่มงานช่วยวิชาการ
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 2003  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน นงคราญ พงศ์ตระกุล  วันที่เขียน 25/6/2564 16:04:16  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 27/4/2567 16:45:00
พัฒนาตนเอง-นงคราญ » สรุปเนื้อหาและการนำไปใช้ประโยชน์จากประชุมวิชาการระดับชาติ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรม (มหาวิทยาลัยแม่โจ้) ครั้งที่
การประชุมวิชาการระดับชาติ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรม (มหาวิทยาลัยแม่โจ้) ครั้งที่ 2
คำสำคัญ : ประชุมวิชาการ  วิทยาศาสตร์ชีวภาพ  
กลุ่มบทความ : กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ : กลุ่มงานช่วยวิชาการ
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 1164  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน นงคราญ พงศ์ตระกุล  วันที่เขียน 24/6/2564 15:01:49  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 27/4/2567 14:57:48