รายงานประกันคุณภาพ

ระบบและกลไกลการจัดการความรู้จากงานวิจัย

ช่วงเวลาที่ใช้ประโยชน์เริ่ม
ถึง


URL : อ้างอิงถึงรายงานแสดงผลข้อมูล

รายงานแสดงผลข้อมูลตามเงื่อนไขที่กำหนด
   - % หมายถึง ร้อยละความรับผิดชอบงานวิจัย
- รายงานจะแสดงผลเฉพาะงานวิจัยที่มีการนำไปใช้ประโยชน์และมีเอกสารอ้างอิงการนำไปใช้ประโยชน์เท่านั้น
ผู้ทำงานวิจัย (%) ปีงบประมาณที่ได้รับเงินสนับสนุน รายละเอียดของการนำผลงานไปใช้ประโยชน์
สิ่งที่นำไปใช้ประโยชน์ หน่วยงานหรือชุมชนที่นำไปใช้ ระยะเวลาที่นำไปใช้ประโยชน์ ประโยชน์ที่หน่วยงานหรือชุมชนได้รับ เอกสารประกอบการนำไปใช้ประโยชน์
คณะเทคโนโลยีการประมงและทรัพยากรทางน้ำ
IRTC-64-011 : โครงการการพัฒนาผลิตภัณฑ์ซินไบโอติกส์ร่วมกับวัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตร เพื่อลดการใช้ยาปฏิชีวนะในสัตว์น้ำ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. อุดมลักษณ์ สมพงษ์(100)
2564  : 200000 บาท (งบประมาณภายนอกสถาบัน)
บริษัท อุตสาหกรรม เทคโนโลยีชีวภาพ (ประเทศไทย) จำกัด ได้นำองค์ความรู้ “กระบวนการผลิตอาหารเสริมซินไบโอติกส์จากวัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตรเพื่อเป็นอาหารเสริมในสัตว์น้ำ” ไปใช้ในกิจการ เพื่อดำเนินการผลิตและจำหน่ายในอุตสาหกรรมอาหารสัตว์ โดยผลิตและจำหน่ายในประเทศไทยและต่างประเทศ บริษัท อุตสาหกรรม เทคโนโลยีชีวภาพ (ประเทศไทย) จำกัด 01/12/2565- 30/11/2570
มจ.2-63-093 : ศึกษาประสิทธิภาพระบบเลี้ยงปลาดุกและปลูกผักในบ้านอัจฉริยะ
อาจารย์ ดร. โดม อดุลย์สุข(100)
2563  : 15000 บาท (งบประมาณภายในสถาบัน)
1. สร้างต้นแบบของระบบเกษตรผสมผสานการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำร่วมกับการปลูกพืชด้วยระบบอัจฉริยะ ยกระดับการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำร่วมกับการปลูกพืชในยุคอินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่ง ให้เป็นเกษตรแม่นยำสูง 2. ประยุกต์ใช้ระบบโปรแกรมเมเบิลลอจิกคอลโทรลเลอร์ (PLC) ซึ่งเป็นระบบควบคุมการทำงานของเครื่องจักร หรือระบบการทำงานต่างๆ ที่ใช้ในโรงงานอุตสาหกรรมซึ่งมีความแม่นยำสูง มาใช้ในการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำร่วมกับการปลูกพืช 3. เพิ่มมูลค่าผลผลิตสินค้าอาหารปลอดภัย (เนื้อปลา-พืชผัก) ภายใต้โครงการบริการวิชาการของภาควิชาสัตว์ศาสตร์และสัตว์น้ำ ซึ่งสามารถเพิ่มมูลค่าผลผลิตสินค้าอาหารปลอดภัย ไม่ต่ำกว่า 30,000 บาท/ปี ภาควิชาสัตวศาสตร์และสัตว์น้ำ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 01/08/2565- 31/08/2569
อาจารย์ ดร. โดม อดุลย์สุข(100)
2563  : 15000 บาท (งบประมาณภายในสถาบัน)
นำองค์ความรู้จากงานวิจัยไปถ่ายทอดให้แก่นักศึกษาของคณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ และบุคคลภายนอกที่สนใจ รวมไปถึงพัฒนาเป็นศูนย์เรียนรู้ด้านเกษตรสมัยใหม่ สำหรับเป็นแหล่งศึกษาดูงานของชุมชนที่สนใจ คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ 04/01/2565- 27/02/2569
อวน.-63-002 : ประสิทธิภาพของชีวภัณฑ์ fish premix และ THEPTM1 ต่อการเจริญเติบโตและคุณภาพของปลานิล
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. จิราพร โรจน์ทินกร(80)
อาจารย์ ดร. ขจรเกียรติ์ ศรีนวลสม(20)
2563  : 310000 บาท (งบประมาณภายนอกสถาบัน)
บริษัท อุตสาหกรรม เทคโนโลยีชีวภาพ (ประเทศไทย) จำกัด ได้นำองค์ความรู้ “ประสิทธิภาพของชีวภัณฑ์ fish premix และ THEPTM1 ต่อการเจริญเติบโตและคุณภาพของปลานิล” ไปใช้ในกิจการ เพื่อดำเนินการผลิตและจำหน่ายในอุตสาหกรรมอาหารสัตว์ โดยผลิตและจำหน่ายในประเทศไทยและต่างประเทศ บริษัท อุตสาหกรรม เทคโนโลยีชีวภาพ (ประเทศไทย) จำกัด 01/12/2565- 30/11/2570
อวน.-63-001 : ประสิทธิภาพของชีวภัณฑ์ shrimp premix และ MEX1 ต่อสุขภาพและผลผลิตของกุ้งเศรษฐกิจ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. จิราพร โรจน์ทินกร(80)
2563  : 330000 บาท (งบประมาณภายนอกสถาบัน)
บริษัท อุตสาหกรรม เทคโนโลยีชีวภาพ (ประเทศไทย) จำกัด ได้นำองค์ความรู้ “ประสิทธิภาพของชีวภัณฑ์ shrimp premix และ MEX1 ต่อสุขภาพและผลผลิตของกุ้งเศรษฐกิจ” ไปใช้ในกิจการ เพื่อดำเนินการผลิตและจำหน่ายในอุตสาหกรรมอาหารสัตว์ โดยผลิตและจำหน่ายในประเทศไทยและต่างประเทศ บริษัท อุตสาหกรรม เทคโนโลยีชีวภาพ (ประเทศไทย) จำกัด 01/12/2565- 30/11/2570
คณะบริหารธุรกิจ
มจ.2-64-014 : วิธีการสร้างเรื่องราวในการกระจายสินค้าผ่านเครือข่ายสังคมออนไลน์ในกาดสดเดลิเวอรี่
อาจารย์ ดร. อุกฤษณ์ มารังค์(60)
อาจารย์ ณัฐดนัย เขียววาท(20)
อาจารย์ นนท์ ปิ่นเงิน(20)
2564  : 30000 บาท (งบประมาณภายในสถาบัน)
การใช้เทคนิคการสื่อสารในรูปแบบการเขียนเนื้อหาเรื่องราวเพื่อสื่อสารกับกลุ่มลูกค้าทั้งผ่านสื่อสังคมออนไลน์ เว็บไซต์และการนำเสนอผลงาน หจก.อินฟินิตี้ ฟีโนมีนอล ซอฟท์แวร์ 07/10/2564- 07/10/2564 ได้กลุ่มลูกค้าใหม่เพิ่มขึ้นจากการทำการตลาดออนไลน์ ส่งผลให้บริษัทได้รับงานอย่างต่อเนื่อง ส่งผลให้มีอัตราการจ้างงานเพิ่ม จากองค์กรที่มีพนักงาน 6 คน
อาจารย์ ดร. อุกฤษณ์ มารังค์(60)
อาจารย์ ณัฐดนัย เขียววาท(20)
อาจารย์ นนท์ ปิ่นเงิน(20)
2564  : 30000 บาท (งบประมาณภายในสถาบัน)
ได้นำเทคนิคในการสร้างเรื่องราวในการทำตลาดออนไลน์มาใช้เป็นแนวทางในการทำธุรกิจตลาดออนไลน์ผ่าน facebook สำหรับสร้างความสัมพันธ์กับลูกค้าเก่า และหาลูกค้าใหม่ ห้างหุ้นส่วนจำกัด เอฟบีทีไลฟ์ 01/01/2566- 31/01/2567
มจ.2-60-003 : ต้นทุนเงินทุนส่วนของเจ้าของและการเปิดเผยข้อมูลความรับผิดชอบของคณะกรมรมการต่อรายงานทางการเงิน
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. รัชนียา บังเมฆ(70)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. อรุณี ยศบุตร(30)
2560  : 20000 บาท (งบประมาณภายในสถาบัน)
ผลการวิจัยได้รับการนำไปใช้ประโยชน์ทางวิชาการตามวัตถุประสงค์ของโครงการวิจัย โดยได้รับการอ้างอิงผลงานวิจัยที่มีการตีพิมพ์ในวารสารวิชาการของต่างประเทศ ในปี 2567 (วารสาร Iranian management accounting knowledge management auditing Volume 13 No. 52 winter 2024) Dr. Hamed Nabil Hamed Soliman & Dr. Ibrahim Elsayed Elgohary, Faculty of Commerce, Mansoura University 20/02/2567- 30/09/2567
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. รัชนียา บังเมฆ(70)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. อรุณี ยศบุตร(30)
2560  : 20000 บาท (งบประมาณภายในสถาบัน)
ผลการวิจัยได้รับการนำไปใช้ประโยชน์ทางวิชาการตามวัตถุประสงค์ของโครงการวิจัย โดยได้รับการอ้างอิงผลงานวิจัยที่มีการตีพิมพ์ในวารสารวิชาการของต่างประเทศ ในปี 2567 (วารสาร Cogent Economics & Finance 2024 Volume 12 No. 1 ) To link to this article: https://doi.org/10.1080/23322039.2024.2314887 Muhammad Bilal Khan, Umar Nawaz Kayani, Hummera Saleem & Ahmet Faruk Aysan 29/04/2567- 30/09/2567
คณะผลิตกรรมการเกษตร
สวทช.-64-001 : การถ่ายทอดเทคโนโลยีแอพพลิเคชั่น Smart NPK ร่วมกับชุดวิเคราะห์ดินแบบพกพาสำหรับการจัดการดินและปุ๋ยเพื่อการปลูกพืชแปลงใหญ่
รองศาสตราจารย์ ดร. ศุภธิดา อ่ำทอง(50)
รองศาสตราจารย์ ดร. ชวโรจน์ ใจสิน(20)
2564  : 1675500 บาท (งบประมาณภายนอกสถาบัน)
เกษตรกร เจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตร สามารถนำผลการวิเคราะห์ดินของพื้นที่ต่างๆ มาคำนวณ ปริมาณปุ๋ยให้เหมาะสมกับระดับธาตุอาหารในดินของแต่ละพื้นที่ และชนิดพืช เกษตรกรผู้สนใจทั่วไป 01/10/2564- 31/12/2565
รองศาสตราจารย์ ดร. ศุภธิดา อ่ำทอง(50)
รองศาสตราจารย์ ดร. ชวโรจน์ ใจสิน(20)
2564  : 1675500 บาท (งบประมาณภายนอกสถาบัน)
การถ่ายทอดองค์ความรู้จากผลงานวิจัยของ รองศาสตราจารย์ ดร. ศุภธิดา อ่ำทอง ศูนย์จัดการดินและปุ๋ยชุมชน ได้แลกเปลี่ยนองศ์ความรู้ ปัญหา เพื่อสร้างแนวทางในการปลูกพืช กระตุ้นให้เกษตรกรมีการปรับตัวในด้านการใช้เทคโนโลยี โดยเฉพาะการใช้แอพพลิเคชั่น UNT AGROMET และ Smart NPK สามารถนำมาใช้วางแผน ตั้งรับและเฝ้าระวังเพื่อลดความเสี่ยงหรือความเสียหายจากสภาพอากาศและความความชื้นของดิน และช่วยตัดสินใจวางแผนการปลูกพืชในฤดูกาลต่อไป เพื่อลดต้นทุนปัจจัยการผลิต ค่าปุ๋ย เพิ่มผลผลิตและคุณภาพให้แก่พืชผลทางการเกษตร ศูนย์จัดการดินและปุ๋ยชุมชน ตำบลไชยสถาน อำเภอเมือง จังหวัดน่าน 13/03/2566- 12/03/2567 สามารถเพิ่มศักยภาพการปลูกพืชได้ เช่น การจัดการดินและน้ำ และลดความเสี่ยงความเสียหายที่เกิดจากผลผลิตเสียหายจากภัยแล้ง และนำเทคโนโลยีต่าง ๆ ไปใช้หรือปรับให้เหมาะสมในพื้นที่ทำการเกษตรของตนเองได้อย่างมีประสิทธิภาพ ได้ผลผลิตสูงและลดความเสียหายต่อพืชผลทางการเกษตร
สวพ.-63-001 : การศึกษาวิธีการจัดการศัตรูพืชสำคัญแบบผสมผสานสำหรับการปลูกองุ่นบนพื้นที่สูง
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ฉัตรสุดา เผือกใจแผ้ว(40)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. สุรีย์วัลย์ เมฆกมล(20)
ดร. จักรพงษ์ สุภาวรรณ์(15)
รองศาสตราจารย์ ดร. ณัฐดนัย ลิขิตตระการ(15)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. เจนจิรา หม่องอ้น(10)
2563  : 500000 บาท (งบประมาณภายนอกสถาบัน)
1. นำองค์ความรู้ด้านการป้องกันกำจัดโรคพืชและแมลงศัตรูพืช มาเรียบเรียงและแเผยแพร่ใน เรื่อง “ปลูกองุ่นปลอดภัย ต้องทำอย่างไร...” ผ่านทางเว็บไซต์ของหน่วยงาน https://www.hrdi.or.th/Articles/Detail/125ตั้งแต่วันที่ 28 มกราคม 2564 2. ใช้องค์ความรู้จากงานวิจัยนี้ดำเนินโครงการวิจัย เรื่อง “การปลูกองุ่นภายใต้ระบบการจัดการศัตรูพืชแบบผสมผสานเพื่อลดการใช้สารเคมี” ปีงบประมาณ 2564 ในพื้นที่โครงการพัฒนาพื้นที่สูงแบบโครงการหลวงจำนวน 14 แห่ง เกษตรกร 44 ราย สถาบันวิจัยและพัฒนาพื้นที่สูง 01/10/2563- 30/09/2570 เกษตรกรในพื้นที่โครงการพัฒนาพื้นที่สูงแบบโครงการหลวง ยอมรับวิธีการปลูกองุ่นภายใต้ระบบการจัดการศัตรูพืชแบบผสมผสานเพื่อลดการใช้สารเคมี ปลอดภัยต่อตัวเกษตรกร สร้างความเชื่อมั่นและปลอดภัยแก่ผู้บริโภค และเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
สวก-62-010 : การพัฒนาพันธุ์ปทุมมาลูกผสมข้ามชนิดเพื่อการค้า(ปีที่2)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. เฉลิมศรี นนทสวัสดิ์ศรี(100)
2562  : 832700 บาท (งบประมาณภายนอกสถาบัน)
แสดงเจตจำนงขอรับอนุญาตให้ใช้สิทธิผลงานวิจัย ปทุมมา จำนวน 10 สายพันธ์ุ รูปแบบการอนุญาตให้ใช้สิทธิแต่เพียงผู้เดียวทั้งในประเทศและต่างประเทศ เป็นระยะเวลา 10 ปี บริษัทสดใส ล้านนาจำกัด 25/11/2564- 30/11/2575
สวทช-62-006 : โครงการการถ่ายทอดเทคโนโลยีแอพพลิเคชั่น Smart NPK สำหรับการจัดการดินและปุ๋ยเพื่อการปลูกพืชแปลงใหญ่ของจังหวัดเชียงใหม่าร
รองศาสตราจารย์ ดร. ศุภธิดา อ่ำทอง(50)
2562  : 1375000 บาท (งบประมาณภายนอกสถาบัน)
เกษตรกร เจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตร สามารถนำผลการวิเคราะห์ดินของพื้นที่ต่างๆ มาคำนวณ ปริมาณปุ๋ยให้เหมาะสมกับระดับธาตุอาหารในดินของแต่ละพื้นที่ และชนิดพืช เกษตรกรผู้สนใจทั่วไป 01/10/2564- 31/12/2565
รองศาสตราจารย์ ดร. ศุภธิดา อ่ำทอง(50)
2562  : 1375000 บาท (งบประมาณภายนอกสถาบัน)
ได้ดำเนินงานผ่านโครงการสร้างเครือข่ายผู้ปลูกมันสำปะหลัง โดยดำเนินเทคโนโลยีถ่ายทอดให้แก่เกษตรกรจังหวัดอุบลราชธานี จังหวัดยโสธร และจังหวัดอำนาจเจริญ เพื่อใช้ตรวจวิเคราะห?ดินให้เกษตรกรได้ใส่ผลตามค่าวิเคราะห์ดินในการปลูกมันสำปะหลัง โดยผลการดำเนินงานในแปลงต้นแบบ พบว่าแปลงของเกษตรกรต้นแบบพบว่าผลการตรวจวิเคราะห์ดินมีอินทรีย์วิตถุในระดับปานกลาง มีฟอสฟอรัสในระดับปานกลาง และมีโพแทสเซียมในระดับต่ำมาก จึงปรับปริมาณการใส่ปุ๋ยอินทรีย์ตามค่าวิเคราะห์ดิน จากเดิมประมาณ 250 กิโลกรัมต่อไร่ เป็น 2,578 กิโลกรัมต่อไร่ เพื่อเก็บเกี่ยวพบว่าเกษตรกรมีรายได้เพิ่มขึ้นประมาณ 5,000 บาทต่อไร่ โดยรายได้เพิ่มขึ้นร้อยละ 53.19 จาก 17,155บาทต่อไร่ เป็น 26,280 บาทต่อไร่ ผลผลิตต่อไร่เพิ่มขึ้นร้อยละ 53.19 จาก 4,700 กิโลกรัมต่อไร่ เป็น 7,200 กิโลกรัมต่อไร่ นำหนักต่อต้นเฉลี่ยเพิ่มขึ้น ร้อยละ 74.55 จากเดิม 2.2 กิโลกรัมต่อต้น เพิ่มขึ้นเป็น 3.84 กิโลกรัมต่อต้น มีจำนวนหัวต่อต้นเฉลี่ยเพิ่มขึ้นร้อยละ 13.64 จากเดิม 13.2 หัวต่อต้น เพิ่มขึ้นเป็น 15 หัวต่อต้น ผลผลิตต่อไร่เฉลี่ยเพิ่มขึ้นร้อยละ 56.52 จากเดิม 4.6 ันต่อไร่ เพิ่มขึ้นเป็น 7.2 ตันต่อไร่ และมีเปอร์เซ็นต์แป้งเฉลี่ยเพิ่มขึ้น จากเดิม ร้อยละ 26 เป็น ร้อยละ 27 สำนักงานพัฒนาวิทยาศษสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ 01/02/2566- 01/02/2567 งานวิจัยมีผลดี สามารถช่วยยกระดับการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิให้แก่เกษตรกร และเทคโนโลยีใช้ง่ายเกษตรกรสามารถดำเนินการตรวจและวิเคราะห์ผลได้เอง ส่งผลให้การขยายผลถ่ายทอดเทคโนโลยีโดย สวทช สามารถดำเนินงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ เกษตรกรสามารถวางแผนการผลิต เตรียมความพร้อมให้เหมาะสมกับพืช
สกว.-61-016 : การพัฒนาต้นแบบระบบปิดและระบบ ioT เพื่อผลิตสตรอเบอร์รี่ภายใต้แสงไฟเทียทในตู้คอนเทรเนอร์
รองศาสตราจารย์ ดร. สิริวัฒน์ สาครวาสี(100)
2561  : 3689500 บาท (งบประมาณภายนอกสถาบัน)
ลงนามอนุญาตให้ใช้สิทธิในผลงานวิจัยและนำเสนองานวิจัยเด่น"Maejo Licensing and Pitching Day 2021 เรื่อง “ระบบโรงงานพืชเพื่อการปลูกสตรอเบอร์รี่”ระหว่าง มหาวิทยาลัยแม่โจ้ กับบริษัท ชีวิค มีเดีย จำกัด บริษัท ชีวิค มีเดีย จำกัด 10/03/2565- 10/03/2570
สวก.-60-004 : การพัฒนาพันธุ์ปทุมมาลูกผสมข้ามชนิดเพื่อการค้า
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. เฉลิมศรี นนทสวัสดิ์ศรี(80)
อาจารย์ ดร. ประนอม ยังคำมั่น(10)
2560  : 1655500 บาท (งบประมาณภายนอกสถาบัน)
นำเทคโนโลยีจากงานวิจัยเพื่อเพาะพันธุ์ กล้าไม้ดอกไม้ประดับเพื่อจำหน่ายในประเทศและต่างประเทศเพื่อการส่งออก สำนักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (องค์กรมหาชน) 09/05/2561- 09/05/2561 1. งานวิจัยที่ได้รับการสนับสนุนจากแหล่งทุนภายนอก 2. ผลจากงานวิจัยสามารถจดทะเบียนพันธุ์และรับรองพันธุ์พืช 3. ผลจากงานวิจัยสามารถจำหน่ายให้แก่หน่วยงานภายนอก ก่อให้เกิดรายได้ต่อหน่วยงาน 4. ผลงานสร้างขื่อเสียงให้แก่มหาวิทยาลัย
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. เฉลิมศรี นนทสวัสดิ์ศรี(80)
อาจารย์ ดร. ประนอม ยังคำมั่น(10)
2560  : 1655500 บาท (งบประมาณภายนอกสถาบัน)
แสดงเจตจำนงขอรับอนุญาตให้ใช้สิทธิผลงานวิจัย ปทุมมา จำนวน 10 สายพันธ์ุ รูปแบบการอนุญาตให้ใช้สิทธิแต่เพียงผู้เดียวทั้งในประเทศและต่างประเทศ เป็นระยะเวลา 10 ปี บริษัทสดใส ล้านนาจำกัด 25/11/2564- 25/11/2575
คณะวิศวกรรมและอุตสาหกรรมเกษตร
มจ.2-63-037 : การผลิตถ่านชีวภาพและสมบัติของถ่านชีวภาพจากเตาเผาไพโรไลซิสแบบหุ้มฉนวน ขนาด 50 ลิตร
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ทิพาพร คำแดง(50)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ธนศิษฏ์ วงศ์ศิริอำนวย(25)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. นำพร ปัญโญใหญ่(25)
2563  : 25000 บาท (งบประมาณภายในสถาบัน)
พัฒนาเจาเผาถ่านชีวภาพ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตถ่านชีวภาพ บ.เบ็บซี เอเชีย จำกัด 01/01/2567- 20/06/2567 เพิ่มประสิทธิภาพการผลิตถ่านชีวภาพและคุณสมบัติที่สำคัญ
มจ.2-61-042 : การพัฒนาประสิทธิภาพของเตาเผาถ่านชีวภาพ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ทิพาพร คำแดง(40)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ธนศิษฏ์ วงศ์ศิริอำนวย(30)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. นำพร ปัญโญใหญ่(30)
2561  : 30000 บาท (งบประมาณภายในสถาบัน)
นำงานวิจัยที่ได้ไปใช้ในการออกแบบเตาเผาผลิตภ่านชีวภาพที่มีประสิทธิภาพ ผลิตถ่านชีวภาพจากเศษวัสดุเหลือทิ้งจากชุมชน ลดการเผาที่เป็นสาเหตุของการเกิดฝุ่น PM2.5 และสร้างรายได้จากการผลิตถ่านชีวภาพที่มีคุณภาพจำหน่าย รวมถึงการพัฒนาสู่การทำคาร์บอนเครดิต บริษัท เบ็บซี เอเชีย จำกัด 01/05/2566- 26/09/2566
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ทิพาพร คำแดง(40)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ธนศิษฏ์ วงศ์ศิริอำนวย(30)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. นำพร ปัญโญใหญ่(30)
2561  : 30000 บาท (งบประมาณภายในสถาบัน)
ต่อยอดในการสร้างเตาผลิตถ่านชีวภาพ บริษัท ซุพรีม รีนิวเอเบิล เอ็นเนอร์ยี่ จำกัด 01/01/2567- 20/06/2567 เพิ่มรายได้กับบริษัท และการนำความรู้ไปถ่ายทอดแก่ชุมชน
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ทิพาพร คำแดง(40)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ธนศิษฏ์ วงศ์ศิริอำนวย(30)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. นำพร ปัญโญใหญ่(30)
2561  : 30000 บาท (งบประมาณภายในสถาบัน)
กำหนดอุณหภูมิ วัสดุและขนาดของเตา ในการเผาถ่านชีวภาพ บ.ลานนา คาวบอย 01/01/2567- 20/06/2567 ได้ถ่านชีวภาพที่มีคุณภาพมาตรฐานและราคาดี
คณะศิลปศาสตร์
มจ.2-60-020 : การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมเพื่อพัฒนาการเตรียมความพร้อมเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุของกลุ่มแรงงานนอกระบบภาคการเกษตรในอำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่
อาจารย์ พีรดา ประจงการ(50)
2560  : 100000 บาท (งบประมาณภายในสถาบัน)
การใช้ประโยชน์จากงานวิจัย ; วิสาหกิจชุมชนเกษตรอินทรีย์แม่ตาด ใช้เป็นกรอบแนวคิดวิธีจัดกิจกรรม กระบวนการเพื่อใช้ในโครงการ การศึกษาแนวทางการส่งเสริมชุมชนเพื่อสร้างนิเวศชุมชนใหม่ ลดปัจจัยเสี่ยงต่อการพึ่งพาเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ งานวิจัยก่อให้เกิดผลดีคือ ; พัฒนาศักยภาพแนวคิดของทีมงานและกลุ่มเป้าหมาย , มีเครื่องมือในการจัดกิจกรรมด้านการสร้างเสริมสุขภาพจิต ได้ทบทวนพิจารณาต้นทุนทางจิตวิทยาและสร้างความเชื่อมั่นมั่นใจต่อการทำกิจกรรม ทั้งนี้ในการนำผลงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ตรงกับวัตถุกประสงค์การวิจัยกล่าวคือ นักวิจัยใช้ข้อเสนอแนะทางการเตรียมความพร้อมเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุเป็นกรอบแนวคิดการออกแบบกิจกรรม กระบวนการในการดำเนินโครงการของผู้ใช้ประโยชน์ ผลของการวิจัยได้ใช้ปัจจัยจิตวิทยา "การรับรู้ความสามารถในตน" เพื่อพัฒนาศักยภาพทีมงานและกลุ่มเป้าหมาย มีการจัดกิจกรรมสำหรับกลุ่มเป้าหมายของครั้ง คือ 1) จัดกิจกรรม "การเพิ่มประสิทธิภาพด้านจิตวิทยาเพื่อนำไปใช้ในการจัดกิจกรรมกลุ่มเป้าหมาย" ในวันที่ 22 กรกฎาคม 2566 ณ ศูนย์ศึกษานวัตกรรมสังคมและสันติภาพ คณะศิลปศาสตร์ กิจกรรมที่ 2) จัดกิจกรรมเชิงกระบวนการประเมินสุขภาพ (กาย-จิต) ผลการออกแบบกิจกรรมอย่างมีส่วนร่วมเพื่อการสร้างพื้นที่ปลอดภัยลดความเหลื่อมล้ำและปัจจัยเสี่ยงสุขภาพ ณ ห้องประชุมโรงเรียนวัดล้านตอง ดำเนินกิจกรรมโดยกลุ่มวิสาหกิจชุมชนเกษตรอินทรีย์บ้านแม่ตาด วิสาหกิจชุมชนเกษตรอินทรีย์แม่ตาด 01/07/2566- 30/09/2566
อาจารย์ พีรดา ประจงการ(50)
2560  : 100000 บาท (งบประมาณภายในสถาบัน)
อสม.นำแนวคิดการเตรียมความพร้อมเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุเป็นกรอบแนวคิดการออกแบบกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพจิตชุมชนเพื่อเตรียมรับมือการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ และนำผลงานวิจัยในประเด็นการพัฒนากลไกด้านสาธารณสุขมาใช้พัฒนาศักยภาพ อสม.บ้านศรีวังธาน กลุ่มอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม. หมู่ 8 บ้านศรีวังธาร) 25/03/2567- 30/09/2567
มจ.2-59-007 : การศึกษาชั้นวัฒนธรรมทางโบราณคดี เมืองโบราณเวียงละกอน
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. เมธี เมธาสิทธิ สุขสำเร็จ(100)
2559  : 50000 บาท (งบประมาณภายในสถาบัน)
นำส่วนหนึ่งของงานวิจัยจัดพิมพ์บทความเรื่อง "การกำหนดอายุวัดปงสนุกเหนือจากการขุดค้นทางโบราณคดี" โดยนำไปใช้ในการจ้ดทำหนังสือรวมบทความ "มรดกวัฒนธรรมศิลปกรรมวัดปงสนุก" วัดปงสนุกเหนือ ต.เวียงเหนือ อ.เมืองลำปาง จ.ลำปาง 02/08/2564- 02/08/2564
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. เมธี เมธาสิทธิ สุขสำเร็จ(100)
2559  : 50000 บาท (งบประมาณภายในสถาบัน)
- นำส่วนหนึ่งของงานวิจัยจัดพิมพ์บทความเรื่อง "การกำหนดอายุวัดปงสนุกเหนือจากการขุดค้นทางโบราณคดี" โดยนำไปใช้ในการจ้ดทำหนังสือรวมบทความ "มรดกวัฒนธรรมศิลปกรรมวัดปงสนุก" วัดปงสนุกเหนือ 01/10/2564- 30/09/2565
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. เมธี เมธาสิทธิ สุขสำเร็จ(100)
2559  : 50000 บาท (งบประมาณภายในสถาบัน)
งานวิจัยดังกล่าวรองศาสตราจารย์ ดร.โขมสี มีภักดี ได้นำผลการศึกษาการตั้งถิ่นฐานของเมืองโบราณเวียงละกอนไปเป็นข้อมูลประกอบการพัฒนาโครงการวิจัย เรื่อง การตั้งถิ่นฐานและพัฒนาการทางวัฒนธรรมเมืองโบราณเขลางค์ นอกจากนี้ยังนำไปสู่ประเด็นการศึกษาและกำหนดหัวข้อโครงการวิจัยใหม่ วิทยาลัยสหวิทยาการ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ลำปาง 01/05/2566- 30/12/2567 นำไปพัฒนาหัวข้อการวิจัยใหม่
มจ.2-54-046 : การศึกษาปัญหาการออกเสียงภาษาไทยของนักศึกษาชาวต่างชาติในมหาวิทยาลัยแม่โจ้
อาจารย์ สุวรรณ เลียงหิรัญถาวร(50)
อาจารย์ ดร. ลักขณา ชาปู่(50)
2554  : 10000 บาท (งบประมาณภายในสถาบัน)
คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎอุดรธานี มีการเปิดหลักสูตรภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร และหลักสูตรประกาศนียบัตรภาษาไทยสำหรับชาวต่างประเทศอย่างต่อเนื่อง สามารถนำข้อมูลและผลการศึกษาวิจัยนี้ไปประยุกต์ใช้ในการเรียนการสอนนักศึกษาชาวต่างประเทศ เช่น การจัดทำเอกสารประกอบการสอน หรือ การสร้างแบบฝึกการออกเสียงภาษาไทยสำหรับชาวต่างประเทศ และการค้นคว้าเพื่อการวิจัย ซึ่งก่อให้เกิดผลดีและเป็นประโยชน์เพื่อการเรียนการสอน ประธานหลักสูตรศิลปศาสตร์บัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎอุดรธานี 30/05/2566- 31/05/2567 -
มจ.2-53-006 : ปฏิทินล้านนา : การฟื้นฟู การสืบสาน การสร้างสรรค์และบทบาท
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ชยุตภัฎ คำมูล(100)
2553  : 100000 บาท (งบประมาณภายในสถาบัน)
มัคนายกวัดวิเวกวนารามนำความรู้จากระบบปฏิทินล้านนาและระบบการนับวันในล้านนาที่ศึกษาจากงานวิจัยได้นำมาประยุกต์ใช้ในการตรวจสอบ วันดี วันเสีย ในการประกอบพิธีกรรมทางศาสนา รวมถึงนำมาปรับใช้ในการเป็นมัคนายกของวัดวิเวกวนารามและผู้นำประกอบพิธีกรรมทางศาสนาของชุมชมโดยรอบ วัดวิเวกวนารามและชุมชนโดยรอบ 01/08/2566- 30/09/2567 เป็นการสืบทอดภูมิปัญญาล้านนาไม่ให้สูญหาย
คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยี
มจ.1-63-07-003 : เภสัชภัณฑ์จากน้ำมันหอมระเหยสำหรับกำจัดพยาธิภายนอกในสุนัข
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สัตวแพทย์หญิง ดร. พชรพร ตาดี(50)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สัตวแพทย์หญิง ดร. กฤดา ชูเกียรติศิริ(30)
2563  : 417800 บาท (งบประมาณภายในสถาบัน)
นำองค์ความรู้และงานวิจัยไปต่อยอดในเชิงพาณิชย์เพื่อป้องกันและยับยั้งปรสิตภายนอกในสัตว์เลี้ยง มีความปลอดภัยต่อสัตว์ ผู้เลี้ยง และสิ่งแวดล้อม เนื่องจากไม่มีสารเคมีที่เป็นอันตราย นางพรพิมล บุญโคตร 01/07/2566- 01/07/2571 การใช้ประโยชน์เชิงพาณิชย์
มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ
OT-65-001 : การพัฒนาผลิตภัณฑ์ทองม้วนรสกล้วย
อาจารย์ ดร. พัตรเพ็ญ เพ็ญจำรัส(50)
อาจารย์ ดร. สุภารัตน์ อำนาจ(25)
2565  : 10000 บาท (ทุนส่วนตัว)
ทักษะอาชีพแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร ชุมชนตำบลเด่นชัย จ.แพร่ 18/06/2564- 30/09/2564 การพัฒนาผลิตภัณฑ์ทองม้วนรสกล้วย
อาจารย์ ดร. พัตรเพ็ญ เพ็ญจำรัส(50)
อาจารย์ ดร. สุภารัตน์ อำนาจ(25)
2565  : 10000 บาท (ทุนส่วนตัว)
สูตรและวิธีการผลิตทองม้วน 03/02/2565- 03/02/2565 นำสูตรและวิธีการผลิตทองม้วน เพื่อถ่ายทอดองค์ความรู้ให้แก่ประชาชน และเป็นแนวทางในการประกอบอาชีพในอนาคต
อาจารย์ ดร. พัตรเพ็ญ เพ็ญจำรัส(50)
อาจารย์ ดร. สุภารัตน์ อำนาจ(25)
2565  : 10000 บาท (ทุนส่วนตัว)
การอบรมให้แก่ผู้เข้าร่วมอบรมจากอำเภอแม่ใจ จังหวัดพะเยา และอำเภอใกล้เคียง ในโครงการยกระดับศักยภาพ และขีดความสามารถของเกษตรกรฐานรากสู่การเป็นผู้ประกอบกรธุรกิจเกษตรสร้างมูลค่าเพิ่มด้วยเทคโนโลยีและนวัตกรรมเกษตรอัจฉริยะ โดยใช้สูตรการผลิตทองม้วนกล้วยถ่ายทอดให้แก่กษตรกรผู้ปลูกกล้วยในอำเภอแม่ใจ จังหวัดพะเยา เทศบาลตำบลศรีถ้อย อ.แม่ใจ จ.พะเยา 03/09/2566- 03/09/2566
อาจารย์ ดร. พัตรเพ็ญ เพ็ญจำรัส(50)
อาจารย์ ดร. สุภารัตน์ อำนาจ(25)
2565  : 10000 บาท (ทุนส่วนตัว)
เพื่อการอบรมให้แก่ผู้เข้าร่วมอบรมจากวิสาหกิจชุมชนผักปลอดภัยในมือเราตามรอยพ่อ ตำบลร้องกวาง อำเภอร้องกวาง จังหวัดแพร่ โดยใช้สูตรการผลิตทองม้วนกล้วยถ่ายทอดให้แก่สมาชิกกลุ่มและเครือข่าย ผู้ ซึ่งตรงกับวัตถุประสงค์ของโครงการ คือ เพื่อถ่ายทอดองค์ความรู้ด้านการแปรรูปผลิตภัณฑ์ให้แก่เกษตรกรและผู้สนใจ กลุ่มวิสาหกิจชุมชนผักปลอดภัยในมือเราตามรอยพ่อ บ้านวังโป่ง ตำบลร้องกวาง อำเภอร้องกวาง จังหวัดแพร่ 20/01/2567- 20/01/2567
OT-62-018 : คุณสมบัติการcrเอนไซม์ Reverse Transctiptase จากไวรัสภูมิคุ้มกันบกพร่องในแมว(FIV) โดยสารสกัดจากเห็ด
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ขวัญจรัส เชิงปัญญา(100)
2562  : 30000 บาท (ทุนส่วนตัว)
การใช้ประโยชน์เชิงวิชาการ การอ้างอิงผลงานวิจัยที่มีการตีพิมพ์ในวารสารวิชาการ การใช้ประโยชน์เชิงวิชาการ การอ้างอิงผลงานวิจัยที่มีการตีพิมพ์ในวารสารวิชาการ 01/06/2565- 30/07/2565
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ขวัญจรัส เชิงปัญญา(100)
2562  : 30000 บาท (ทุนส่วนตัว)
การใช้ประโยชน์เชิงวิชาการ การอ้างอิงผลงานวิจัยที่มีการตีพิมพ์ในวารสารวิชาการ การใช้ประโยชน์เชิงวิชาการ การอ้างอิงผลงานวิจัยที่มีการตีพิมพ์ในวารสารวิชาการ 01/10/2566- 03/09/2567
มจ.1-62-02-004.5 : การพัฒนาโฮมสเตย์ในเขตพื้นที่พิเศษอุทยานประวัติศาสตร์สุโขทัย-ศรีสัชนาลัย-กำแพงเพชร รองรับการท่องเที่ยววิถีไทยอย่างยั่งยืน
อาจารย์ ดร. อำนวยพร ใหญ่ยิ่ง(60)
อาจารย์ ดร. เกษราพร ทิราวงศ์(40)
2562  : 565500 บาท (งบประมาณภายในสถาบัน)
1. จัดตั้งคณะกรรมการโฮมสเตย์ 2. พัฒนารูปแบบการให้บริการบ้านพักโฮมสเตย์ 3. ออกแบบรายการนำเที่ยวพร้อมบริการที่พักโดยเน้นแสดงความเป็นวัฒนธรรมท้องถิ่น ชมรมส่งเสริมการท่องเที่ยวโดยชุมชนนครชุม 19/05/2564- 19/05/2564
อาจารย์ ดร. อำนวยพร ใหญ่ยิ่ง(60)
อาจารย์ ดร. เกษราพร ทิราวงศ์(40)
2562  : 565500 บาท (งบประมาณภายในสถาบัน)
1. จัดตั้งคณะกรรมการโฮมสเตย์ 2. พัฒนารูปแบบการให้บริการบ้านพักแบบโฮมสเตย์ ที่สอดคล้องกับมาตรฐานโฮมสเตย์ 3. ออกแบบรายการนำเที่ยวพร้อมบริการที่พักโฮมสเตย์ เน้นแสดงความเป็นวัฒนธรรมท้องถิ่นร่วมกับชมรม 4. สร้างโอกาสด้านเศรษฐกิจ รายได้เสริมจากการให้บริการที่พักโฮมสเตย์และบริการนำเที่ยว ชมรมส่งเสริมการท่องเที่ยวโดยชุมชนบ้านคุกพัฒนา อำเภอศรีสัชนาลัย จังหวัดสุโขทัย 19/05/2564- 19/05/2564
อาจารย์ ดร. อำนวยพร ใหญ่ยิ่ง(60)
อาจารย์ ดร. เกษราพร ทิราวงศ์(40)
2562  : 565500 บาท (งบประมาณภายในสถาบัน)
1. จัดตั้งคณะกรรมการโฮมสเตย์ดำเนินการภายใต้กลุ่มการท่องเที่ยวโดยชุมชน ต.หัวเมือง อ.สอง จ.แพร่ พัฒนารูปแบบการให้บริการบ้านพักแบบโฮมสเตย์ที่สอดคล้องกับมาตรฐานโฮมสเตย์ 2. ออกแบบรายการนำเที่ยวพร้อมบริการที่พักโฮมสเตย์ เน้นแสดงความเป็นวัฒนธรรมท้องถิ่นร่วมกับกลุ่มการท่งเที่ยวโดยชุมชน สร้างโอกาสด้านเศรษฐกิจ รายได้เสริมจากการให้บริการที่พักโฮมสเตย์และการบริการนำเที่ยว พร้อมการจำหน่ายผลิตภัณฑ์สินค้าของที่ระลึกของท้องถิ่น 3. ความเป็นวิถีวัฒนธรรมท้องถิ่นได้รับการอนุรักษ์และสร้างคุณค่าต่อการเป็นทรัพยากรการท่องเที่ยว 23/10/2564- 23/10/2564
อาจารย์ ดร. อำนวยพร ใหญ่ยิ่ง(60)
อาจารย์ ดร. เกษราพร ทิราวงศ์(40)
2562  : 565500 บาท (งบประมาณภายในสถาบัน)
1. นำรูปแบบการพัฒนาโฮมสเตย์ในเขตพื้นที่พิเศษฯ มาเป็นกรณีศึกษาและแนวทางในการพัฒนาการท่องเที่ยวและการบริการที่พักแบบโฮมสเตย์ในพื้นที่ชุมชนที่มีความโดดเด่นด้านการเกษตร 2. นำองค์ความรู้ที่ได้จากการวิจัยมาเป็นนโยบายและการผลักดันแนวทางการพัฒนาการบริการที่พักสำหรับนักท่องเที่ยว รองรับการท่องเที่ยวของชุมชนที่เน้นความโดดเด่นเรื่องการท่องเที่ยวเชิงเกษตร เป็นการสร้างโอกาสทางเศรษฐกิจในการสร้างรายได้และอาชีพเสริม องค์การบริหารส่วนตำบลแม่ทราย อำเภอร้องกวาง จังหวัดแพร่ 01/03/2567- 01/03/2567
มจ.1-62-02-004.4 : กลยุทธ์การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารท้องถิ่นเชิงสร้างสรรค์ในเขตพื้นที่พิเศษอุทยานประวัติศาสตร์สุโขทัย-ศรีสัชนาลัย-กำแพงเพชรโดยการมีส่วนร่วมของชุมชน
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. สมบัติ กันบุตร(50)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. น้ำฝน รักประยูร(30)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. รัฐพงศ์ ปกแก้ว(10)
อาจารย์ ดร. สุภารัตน์ อำนาจ(10)
2562  : 815000 บาท (งบประมาณภายในสถาบัน)
1. จัดตั้งคณะกรรมการในชุมชนในการนำเสนอผลิตภัณฑ์ การท่องเที่ยว โฮมสเตย์ โดยดำเนินการภายใต้ชมรมการท่องเที่ยวโดยชุมชนฯ พัฒนารูปแบบการให้บริการบ้านพักแบบโฮมสเตย์ พร้อมกิจกรรมเกี่ยวกับวัฒนธรรม และประเพณี ที่สอดคล้องกับมาตรฐานโฮมสเตย์กับนักท่องเที่ยว 2. ออกแบบรายการอาหารท้องถิ่นของชุมชนในการต้อนรับนักท่องเที่ยว พร้อมบริการที่พักโฮมสเตย์ เน้นแสดงความเป็นวัฒนธรรมท้องถิ่นร่วมกับชมรมฯ สร้างโอกาสด้านเศรษฐกิจ รายได้เสริมจากการให้บริการที่พักโฮมสเตย์ และบริการนำเที่ยว พร้อมการจำหน่ายผลิตภัณฑ์สินค้าของที่ระลึกของท้องถิ่น ชมรมส่งเสริมการท่องเที่ยวโดยชุมชนบ้านคุกพัฒนา อำเภอศรีสัชนาลัย จังหวัดสุโขทัย 13/07/2564- 13/07/2564
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. สมบัติ กันบุตร(50)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. น้ำฝน รักประยูร(30)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. รัฐพงศ์ ปกแก้ว(10)
อาจารย์ ดร. สุภารัตน์ อำนาจ(10)
2562  : 815000 บาท (งบประมาณภายในสถาบัน)
1. จัดตั้งคณะกรรมการในชุมชนในการนำเสนอผลิตภัณฑ์ การท่องเที่ยว โฮมสเตย์ โดยดำเนินการภายใต้ชมรมการท่องเที่ยวโดยชุมชนฯ พัฒนารูปแบบการให้บริการบ้านพักแบบโฮมสเตย์ พร้อมกิจกรรมเกี่ยวกับวัฒนธรรมและประเพณี ที่สอดคล้องกับมาตรฐานโฮมสเตย์กับนักท่องเที่ยว 2. ออกแบบรายการอาหารท้องถิ่นของชุมชนในการต้องรับนักท่องเที่ยว เน้นแสดงความเป็นวัฒนธรรมท้องถิ่น สร้างโอกาสด้านเศรษฐกิจ รายได้เสริมจากการให้บริการที่พักโฮมสเตย์และบริการนำเที่ยวพร้อมจำหน่ายผลิตภัณฑ์สินค้าของที่ระลึกของท้องถิ่น ชมรมส่งเสริมการท่องเที่ยวโดยชุมชนนครชุม ต.นครชุม อ.เมือง จ.กำแพงเพชร 15/07/2564- 15/07/2564
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. สมบัติ กันบุตร(50)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. น้ำฝน รักประยูร(30)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. รัฐพงศ์ ปกแก้ว(10)
อาจารย์ ดร. สุภารัตน์ อำนาจ(10)
2562  : 815000 บาท (งบประมาณภายในสถาบัน)
1. นำกลยุทธ์การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารท้องถิ่นเชิงสาร้างสรรค์ในเขตพื้นที่พิเศษฯ เป็นกรณีศึกษาและแนวทางการพัฒนาวัตถุดิบผลผิตของชุมชนมาเพิ่มมูลค่าสร้างโอกาสทางเศรษฐกิจให้กับคนในท้องถิ่น 2. นำความรู้ที่ได้จากผลการวิจัยมาเป็นนโยบายและการออกแบบการสนับสนุนแนวทางการพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนด้วยการเพิ่มมูลค่าทรัพยากรท้องถิ่นด้วยการพัฒนาผลิตภัณฑ์ของฝาก กิจกรรมการท่องเที่ยวและการบริการที่พักแบบโฮมสเตย์ เป็นการสร้างโอกาสด้านรายได้และอาชีพเสริม องค์การบริหารส่วนตำบลแม่ทราย อำเภอร้องกวาง จังหวัดแพร่ 01/03/2567- 01/03/2567
มจ.1-62-02-004.2 : การพัฒนารูปแบบการสื่อความหมายของเครือข่ายวิสาหกิจการท่องเที่ยวชุมชนอย่างสร้างสรรค์ในเขตพื้นที่พิเศษอุทยานประวัติศาสตร์สุโขทัย -ศรีสัชนาลัย - กำแพงเพชรโดยการมีส่วนร่วมของชุมชนท้องถิ่นเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
อาจารย์ ดร. เกษราพร ทิราวงศ์(60)
อาจารย์ ดร. อำนวยพร ใหญ่ยิ่ง(40)
2562  : 565500 บาท (งบประมาณภายในสถาบัน)
1. การสื่อความหมายการท่องเที่ยวจากทรัพยากรการท่องเที่ยวทั้งธรรมชาติ และวัฒนธรรมชุมชน 2. การผลิตสื่อเพื่อประกอบการสื่อความหมายการท่องเที่ยวชุมชน 3. การจัดตั้งคณะกรรมการสื่อความหมาย และการกำหนดรูปแบบการสื่อความหมายการท่องเที่ยวโดยชุมชน ชมรมส่งเสริมการท่องเที่ยวโดยชุมชนนครชุม 19/05/2564- 19/05/2564
อาจารย์ ดร. เกษราพร ทิราวงศ์(60)
อาจารย์ ดร. อำนวยพร ใหญ่ยิ่ง(40)
2562  : 565500 บาท (งบประมาณภายในสถาบัน)
1. กำหนดประเด็นการสื่อความหมายการท่องเที่ยวจากทรัพยากรการท่องเที่ยวทั้งธรรมชาติและวัฒนธรรมของชุมชน 2. การผลิตสื่อเพื่อประกอบการสื่อความหมายการท่องเที่ยวชุมชน 3. จัดตั้งคณะทำงารฝ่ายสื่อความหมายโดยการมีส่วนร่วมของชุมชน และการกำหนดรูปแบบการสื่อความหมายการท่องเที่ยวในชุมชน ชมรมส่งเสริมการท่องเที่ยวโดยชุมชนบ้านคุกพัฒนา ตำบลสารจิตร อำเภอศรีสัชนาลัย จังหวัดสุโขทัย 19/05/2564- 19/05/2564
อาจารย์ ดร. เกษราพร ทิราวงศ์(60)
อาจารย์ ดร. อำนวยพร ใหญ่ยิ่ง(40)
2562  : 565500 บาท (งบประมาณภายในสถาบัน)
1. วิเคราะห์ศักยภาพของทรัพยากรการท่องเที่ยวในพื้นที่ตำบลส้าน อ.เวียงสา จ.น่าน เพื่อวางแผนพัฒนากิจกรรมการท่องเที่ยวชุมชน 2. ออกแบบปฏิทินการท่องเที่ยวชุมขน 3. พัฒนาโปรแกรมการท่องเที่ยวของชุมชน 02/11/2564- 02/11/2564
อาจารย์ ดร. เกษราพร ทิราวงศ์(60)
อาจารย์ ดร. อำนวยพร ใหญ่ยิ่ง(40)
2562  : 565500 บาท (งบประมาณภายในสถาบัน)
1. วิเคราะห์ศักยภาพของทรัพยากรการท่องเที่ยวในพื้นที่ตำบลปิงหลวง อ.นาหมื่น จ.น่าน เพื่อวางแผนพัฒนากิจกรรมการท่องเที่ยวชุมชน 2. ออกแบบปฏิทินการท่องเที่ยวชุมขน 3. พัฒนาโปรแกรมการท่องเที่ยวของชุมชน 13/11/2564- 13/11/2564
อาจารย์ ดร. เกษราพร ทิราวงศ์(60)
อาจารย์ ดร. อำนวยพร ใหญ่ยิ่ง(40)
2562  : 565500 บาท (งบประมาณภายในสถาบัน)
1. วิเคราะห์ศักยภาพของทรัพยากรการท่องเที่ยวในพื้นที่ตำบลหัวเมือง อ.สอง จ.แพร่ เพื่อวางแผนพัฒนากิจกรรมการท่องเที่ยวชุมชน 2. ออกแบบปฏิทินการท่องเที่ยวชุมขน 3. พัฒนาโปรแกรมการท่องเที่ยวของชุมชน 20/10/2564- 20/10/2564
อาจารย์ ดร. เกษราพร ทิราวงศ์(60)
อาจารย์ ดร. อำนวยพร ใหญ่ยิ่ง(40)
2562  : 565500 บาท (งบประมาณภายในสถาบัน)
1. นำผลการวิจัยไปเป็นกรณีศึกษาและแนวทางพัฒนาการสื่อความหมายของชุมชนการท่องเที่ยว เป็นการสร้างมูลค่าทรัพยากรการท่องเที่ยวอย่างสร้างสรรค์ รองรับกิจกรรมการท่องเที่ยว สู่การพัฒนาเศรษฐกิจท้องถิ่น 2. ทำให้เกิดแนวทางการทำงานอย่างมีส่วนร่วมและการทบทวนเรื่องราวด้านสังคม วัฒนธรรม ธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม สู่การออกแบบกิจกรรมการท่องเที่ยว เพิ่มทางเลือกทางเศรษฐกิจ สร้างโอกาสทางเศรษฐกิจและความเป็นอยู่ที่ดีของชุมชน องค์การบริหารส่วนตำบลแม่ทราย อำเภอร้องกวาง จังหวัดแพร่ 01/03/2567- 01/03/2567
มจ.1-62-01-022.2 : การประเมินสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพจากข้าวเหนียวก่ำพื้นเมืองอาบพลาสมาอุณหภูมิต่ำเพื่อประยุกต์ใช้เป็นสารกระตุ้นเชื้อโพรไบโอติกและสารสีในผลิตภัณฑ์โยเกิร์ต
อาจารย์ ดร. พัตรเพ็ญ เพ็ญจำรัส(50)
อาจารย์ ดร. จิรพงศ์ ศรศักดานุภาพ(20)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. อิศรา วัฒนนภาเกษม(10)
2562  : 423500 บาท (งบประมาณภายในสถาบัน)
การใช้ประโยชน์เชิงวิชาการ การอ้างอิงผลงานวิจัยที่มีการตีพิมพ์ในวารสารวิชาการ การใช้ประโยชน์เชิงวิชาการ การอ้างอิงผลงานวิจัยที่มีการตีพิมพ์ในวารสารวิชาการ 08/12/2566- 03/09/2567
มจ.1-61-074 : การประเมินศักยภาพเชิงทดลองและเศรษฐศาสตร์ของโมดูลเซลล์แสงอาทิตย์ 3 ชนิดในสภาวะการใช้งานจริง
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ลักขณา พันธุ์แสนศรี(50)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ว่าที่ร้อยตรี ดร. ธรรมศักดิ์ พันธุ์แสนศรี(50)
2561  : 288600 บาท (งบประมาณภายในสถาบัน)
การถ่ายทอดเทคโนโลยีเรื่อง "ระบบผลิตไฟฟ้าและระบบสูบน้ำโดยใช้พลังงานแสงอาทิตย์สำหรับการเกษตรและชีวิต" และลดค่าใช้จ่ายด้านพลังงาน ชุมชนบ้านวังโป่ง ต.ร้องกวาง อ.ร้องกวาง จ.แพร่ 22/09/2564- 22/09/2564 เพิ่มผลผลิตทางการเกษตร ลดต้นทุนด้านพลังงาน ซึ่งก่อให้เกิดการลดรายจ่ายและเพิ่มรายได้ให้กับชุมชน และส่งเสริมให้ชุมชนใช้วิถีชีวิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ซึ่งลดการใช้น้ำมันเชื้อเพลิง ทำให้ลดมลพิษทางอากาศ และช่วยทำให้สิ่งแวดล้อมในชุมชนดีขึ้น
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ลักขณา พันธุ์แสนศรี(50)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ว่าที่ร้อยตรี ดร. ธรรมศักดิ์ พันธุ์แสนศรี(50)
2561  : 288600 บาท (งบประมาณภายในสถาบัน)
1. การถ่ายทอดเทคโนโลยี เรื่อง ระบบผลิตไฟฟ้าและระบบสูบน้ำโดยใช้พลังงานแสงอาทิตย์สำหรับการเกษตรและชีวิต 2. เพิ่มแสงสว่างรอบตัวอาคารที่ทำการชมรมสตรีอำเภอร้องกวาง เพื่อความปอดภัยในทรัพย์สิน 3. ลดค่าใช้จ่ายด้านพลังงานบางส่วน และส่งเสริมให้สมาชิกใช้วิถีชีวิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ชมรมสตรีอำเภอร้องกวาง ตำบลทุ่งศรี อำเภอร้องกวาง จังหวัดแพร่ 25/01/2565- 23/05/2565 เพิ่มผลผลิตทางการเกษตร ลดต้นทุนด้านพลังงาน ซึ่อก่อให้เกิดการลดรายจ่ายและเพิ่มรายได้ให้กับชุมชน และส่งเสริมให้ชุมชนใช้วิถีชีวิตตามหลักปรัญาเศรษฐกิจพอเพียง ซึ่งลดการใช้น้ำมันเชื้อเพลิง ทำให้ลดมลพิษทางอากาศ และช่วยทำให้สิ่งแวดล้อมในชุมชนดีขึ้น และลดค่าใช้จ่ายด้านพลังงานไฟฟ้าได้เดือนละ 500 บาท
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ลักขณา พันธุ์แสนศรี(50)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ว่าที่ร้อยตรี ดร. ธรรมศักดิ์ พันธุ์แสนศรี(50)
2561  : 288600 บาท (งบประมาณภายในสถาบัน)
ได้ฐานการเรียนรู้และการถ่ายทอดเทคโนโลยีด้านการประยุกต์ใช้พลังงานแสงอาทิตย์สำหรับผลิตไฟฟ้าและสูบน้ำเพื่อการเกษตรและชีวิตประจำวัน ทำให้เกษตรกรเกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างสถาบันการศึกษาและชุมชน นอกจากนี้ยังทำให้ชุมชนใกล้เคียงที่สนใจมาศึกษาดูงานได้ สามารถลดต้นทุนค่าใช้จ่ายด้านพลังงานในการผลิตทางการเกษตรและชีวิตประจำวัน และลดการปลดปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์เนื่องจากเป็นพลังงานสะอาดและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม บ้านสุขสาใน หมู่ 5 ต.โป่งสา อ.ปาย จ.แม่ฮ่องสอน 15/02/2567- 17/02/2567
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ลักขณา พันธุ์แสนศรี(50)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ว่าที่ร้อยตรี ดร. ธรรมศักดิ์ พันธุ์แสนศรี(50)
2561  : 288600 บาท (งบประมาณภายในสถาบัน)
ได้ฐานการเรียนรู้และการถ่ายทอดเทคโนโลยีด้านการประยุกต์ใช้พลังงานแสงอาทิตย์สำหรับผลิตไฟฟ้าและสูบน้ำเพื่อการเกษตรและชีวิตประจำวัน ทำให้เกษตรกรเกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างสถาบันการศึกษาและชุมชน นอกจากนี้ยังทำให้ชุมชนใกล้เคียงที่สนใจมาศึกษาดูงานได้ สามารถลดต้นทุนค่าใช้จ่ายด้านพลังงานในการผลิตทางการเกษตรและชีวิตประจำวัน และลดการปลดปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์เนื่องจากเป็นพลังงานสะอาดและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม The Northern Agriculture and Forestry College (NAFC), Luang Prabang Province, Lao PDR 27/11/2566- 30/11/2566
มจ.2-60-056 : การดัดแปรสตาร์ชข้าวด้วยวิธีความร้อนชื้นต่อการเปลี่ยนแปลงคุณสมบัติทางเคมีกายภาพ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. อิศรา วัฒนนภาเกษม(70)
อาจารย์ ดร. พัตรเพ็ญ เพ็ญจำรัส(20)
2560  : 30000 บาท (งบประมาณภายในสถาบัน)
การใช้ประโยชน์เชิงวิชาการ การอ้างอิงผลงานวิจัยที่มีการตีพิมพ์ในวารสารวิชาการในระดับนานาชาติ การใช้ประโยชน์เชิงวิชาการ การอ้างอิงผลงานวิจัยที่มีการตีพิมพ์ในวารสารวิชาการ 01/01/2565- 30/09/2565
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. อิศรา วัฒนนภาเกษม(70)
อาจารย์ ดร. พัตรเพ็ญ เพ็ญจำรัส(20)
2560  : 30000 บาท (งบประมาณภายในสถาบัน)
การใช้ประโยชน์เชิงวิชาการ การอ้างอิงผลงานวิจัยที่มีการตีพิมพ์ในวารสารวิชาการ การใช้ประโยชน์เชิงวิชาการ การอ้างอิงผลงานวิจัยที่มีการตีพิมพ์ในวารสารวิชาการ 01/03/2566- 01/03/2566
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. อิศรา วัฒนนภาเกษม(70)
อาจารย์ ดร. พัตรเพ็ญ เพ็ญจำรัส(20)
2560  : 30000 บาท (งบประมาณภายในสถาบัน)
การใช้ประโยชน์เชิงวิชาการ การอ้างอิงผลงานวิจัยที่มีการตีพิมพ์ในวารสารวิชาการ การใช้ประโยชน์เชิงวิชาการ การอ้างอิงผลงานวิจัยที่มีการตีพิมพ์ในวารสารวิชาการ 01/10/2566- 03/09/2567
วิทยาลัยพลังงานทดแทน
: วิสาหกิจชุมชนนาร่องการเพิ่มประสิทธิภาพการเลี้ยงสัตว์น้าเศรษฐกิจโดยใช้โรงเรือนแสงอาทิตย์และการแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ปลาชุมชน
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ณัฐวุฒิ ดุษฎี(20)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. กิตติกร สาสุจิตต์(15)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. นิกราน หอมดวง(15)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ธเนศ ไชยชนะ(15)
2560  : 3091061 บาท (งบประมาณภายนอกสถาบัน)
ในปัจจุบันวิทยาลัยพลังงานทดแทน มหวิทยาลัยแม่โจ้ ได้เปิดหลักสูตรทาการเรียนวิทยาศาสตรบัณฑิต พลังงานทดแทน วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต วิศวกรรมพลังงานทดแทน และวิศวกรรมศาสตรดุษฎีบัณฑิต วิศวกรรมพลังงานทดแทน ตลอดระยะเวลาการลงพื้นที่บริการชุมชนได้เกิดการสร้างเครือข่ายชุมชน วิสาหกิจ ชุมชน และเครือข่ายทางด้านพลังงานทดแทนอย่างกว้างขวาง ทั้งนี้วิทยาลัยพลังงานทดแทน มหวิทยาลัยแม่โจ้ มีองค์ความรู้และเชี่ยวชาญด้านระบบบ่อเลี้ยงปลาพลังงานแสงอาทิตย์สาหรับชุมชน พร้อมที่จะต่อยอดนาองค์ ความรู้ถ่ายทอดในเชิงปฏิบัติจริงของรูปแบบวิสาหกิจชุมชน และนอกจากนี้ยังเป็นการส่งเสริมด้านการเรียนการ สอนของนักศึกษาในระดับปริญญาตรี ปริญญาโท และปริญญาเอก เป็นการสืบไป กลุ่มวิสาหกิจชุมชนกลุ่มทำขนมจีนบ้านบวกเปา ตำบลหนองแหย่ง อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ (กลุ่มทำน้ำพริกแกง ตราแม่อำพร) 01/09/2564- 01/09/2564 ในปัจจุบันวิทยาลัยพลังงานทดแทน มหวิทยาลัยแม่โจ้ ได้เปิดหลักสูตรทาการเรียนวิทยาศาสตรบัณฑิต พลังงานทดแทน วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต วิศวกรรมพลังงานทดแทน และวิศวกรรมศาสตรดุษฎีบัณฑิต วิศวกรรมพลังงานทดแทน ตลอดระยะเวลาการลงพื้นที่บริการชุมชนได้เกิดการสร้างเครือข่ายชุมชน วิสาหกิจ ชุมชน และเครือข่ายทางด้านพลังงานทดแทนอย่างกว้างขวาง ทั้งนี้วิทยาลัยพลังงานทดแทน มหวิทยาลัยแม่โจ้ มีองค์ความรู้และเชี่ยวชาญด้านระบบบ่อเลี้ยงปลาพลังงานแสงอาทิตย์สาหรับชุมชน พร้อมที่จะต่อยอดนาองค์ ความรู้ถ่ายทอดในเชิงปฏิบัติจริงของรูปแบบวิสาหกิจชุมชน และนอกจากนี้ยังเป็นการส่งเสริมด้านการเรียนการ สอนของนักศึกษาในระดับปริญญาตรี ปริญญาโท และปริญญาเอก เป็นการสืบไป
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ณัฐวุฒิ ดุษฎี(20)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. กิตติกร สาสุจิตต์(15)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. นิกราน หอมดวง(15)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ธเนศ ไชยชนะ(15)
2560  : 3091061 บาท (งบประมาณภายนอกสถาบัน)
1. ชุมชนได้องค์ความรู้ในเรื่องการแปรรูปผลผลิตทางการเกษตรและการแปรรูปปลา 2. องค์ความรู้ด้านเทคโนโลยีพลังงานทดแทนสำหรับการแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร 3. ชุมชนหรือกลุ่มมีรายได้จากการแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร 4. สามารถเผยแพร่องค์ความรู้และเทคโนโลยีสู่กลุ่มเป้าหมายอื่น ๆ ที่ใกล้เคียงกัน องค์การบริหารส่วนตำบลขุนคง 01/01/2567- 01/01/2570 เชิงเศรษฐกิจ เช่น งานวิจัยหรือนวัตกรรมเพื่อพัฒนาสิ่งประดิษฐ์ การจดทะเบียนทรัพย์สินทางปัญญา (สิทธิบัตร อนุสิทธิบัตร ลิขสิทธิ์ ฯลฯ) หรือผลประกอบการขององค์กร/หน่วยงาน/กลุ่ม ด้านรายได้หรือตัวอย่างบัญชีที่แสดงให้เห็นว่ามีรายได้เพิ่มขึ้นจากการได้นําผลงานวิจัยและนวัตกรรมไปใช้ประโยชน์ เชิงสังคม เช่น หลักฐานการถ่ายทอดเทคโนโลยีที่ได้จากงานวิจัยในชุมชน/ท้องถิ่น การได้รับหนังสือเชิญให้ความรู้จากชุมชน/องค์กร/หน่วยงานในพื้นที่ต่าง ๆ
สวก.-64.011 : ต้นแบบการพัฒนาระบบผลิตน้ำเพื่อการเกษตรจากอากาศโดยใช้ความเย็นพื้นดินร่วมกับพลังงานแสงอาทิตย์
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. นิกราน หอมดวง(45)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. กิตติกร สาสุจิตต์(15)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ยิ่งรักษ์ อรรถเวชกุล(10)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ชูรัตน์ ธารารักษ์(10)
อาจารย์ ดร. แสนวสันต์ ยอดคำ(5)
อาจารย์ ดร. ประนอม ยังคำมั่น(5)
2564  : 1026000 บาท (งบประมาณภายนอกสถาบัน)
โครงการดังกล่าวจะเป็นศูนย์การเรียนรู้และถ่ายทอดเทคโนโลยีทำให้เกษตรกรเกิดการแลกเปลี่ยนความรู้ระหว่างสถาบันการศึกษาและชุมชน นอกจากนี้ยังทำให้ชุมชนพื้นที่ใกบ้เคียงที่สนใจมาศึกษาดูงานได้และ กลุ่มเกษตรกรสามารถเข้ามาใช้ไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ที่โครงการติดตั้งใช้เพื่อใช้สูบน้ำเพื่อการเกษตรได้ นายสุรินทร์ น้อยเงิน (เกษตรกร) 27/09/2565- 31/12/2566 เกษตรกรมีความรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีการผลิตน้ำจากอากาศโดยใช้ความเย็นพื้นดินร่วมกัยพลังงานแสงอาทิตย์ และยังสามารถลดค่าใช้จ่ายในส่วนของค่าน้ำมันเชื้อเพลิงสำหรับสูบน้ำเพื่อการเกษตร
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. นิกราน หอมดวง(45)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. กิตติกร สาสุจิตต์(15)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ยิ่งรักษ์ อรรถเวชกุล(10)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ชูรัตน์ ธารารักษ์(10)
อาจารย์ ดร. แสนวสันต์ ยอดคำ(5)
อาจารย์ ดร. ประนอม ยังคำมั่น(5)
2564  : 1026000 บาท (งบประมาณภายนอกสถาบัน)
นำเอาองค์ความรู้และโทคโนโลยีโซล่าเซลล์พลังงานแสงอาทิตย์ไปใช้ในการดพิ่มหรือส่องแสงสว่างให้กับชุมชน คริสตจักรบ้านปรอโพ 07/02/2566- 07/02/2571 1.ช่วยส่งเสริมให้ชุมชนใช้แหล่งพลังงานที่มีความยั่งยืนและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม 2.ช่วยให้ชุมชนมีรายได้จากการขายของในช่วงการคืนให้เพิ่มขึ้น 3.ช่วยเพิ่มแสงสว่างในครัวเรือนภายในชุมชน
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. นิกราน หอมดวง(45)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. กิตติกร สาสุจิตต์(15)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ยิ่งรักษ์ อรรถเวชกุล(10)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ชูรัตน์ ธารารักษ์(10)
อาจารย์ ดร. แสนวสันต์ ยอดคำ(5)
อาจารย์ ดร. ประนอม ยังคำมั่น(5)
2564  : 1026000 บาท (งบประมาณภายนอกสถาบัน)
การนำเอาองค์ความรู้และเทคโนโลยีโซล่าเซลล์พลังงานแสงอาทิตย์ไปใช้ในการเพิ่มหรือสร้างแสงสว่างให้กับชุมชน มูลนิะิสันต์ขันแก้ว 07/02/2566- 07/02/2571 1.ช่วยส่งเสริมให้ชุมชนใช้แหล่งพลังงานที่มีความยั่งยืนและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม 2.ช่วยเพิ่มแสงสว่างในครัวเรือนภายในชุมชน
มจ.1-64-003.2 : การเพิ่มคุณค่าเศษวัสดุปาล์มน้ำมันเหลือศูนย์ด้วยกระบวนการไพโรไลซีสนำร่องระดับชุมชน
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. นิกราน หอมดวง(30)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. กิตติกร สาสุจิตต์(20)
อาจารย์ ดร. ภคมน ปินตานา(10)
Assoc. Prof. Dr. Rameshprabu Ramaraj(10)
2564  : 950000 บาท (งบประมาณภายในสถาบัน)
นำผลงานวิจัยและเทคโนโลยีเทคโนโลยีไปใช้ในการนำวัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตรในชุมชนไปใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุดได้แก่ การนำไปผลิตถ่านเพื่อนำไปแปรรูปหรือการพัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์ของชุมชน เช่น การดับกลิ่นสบู่ แชมพู เพื่อต่อยอด ผลิตภัณฑ์ของชุมชน กลุ่มวิสาหกิจชุมชนบ้านหัวทุ่ง ต.เชียงดาว อ.เชียงดาว จ.เชียงใหม่ 04/01/2567- 31/12/2567
มจ.3-57-015 : การประยุกต์ใช้ระบบแก๊สชีวภาพ ในโรงอาหารมหาวิทยาลัยแม่โจ้
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. รจพรรณ นิรัญศิลป์(50)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. กิตติกร สาสุจิตต์(50)
2557  : 50000 บาท (งบประมาณภายในสถาบัน)
ใช้เป็นทางเลือกในการจัดการเศษอาหารในครัวเรือน สนับสนุนการคัดแยกขยะ นายสุวัจน์ ณ วิชัย นายกเทศมนตรีตำบลสันป่าเปา 01/10/2565- 30/09/2567 1.เป็นองค์ความรู้อีกหนึ่งหนทางเลือกที่สามารถถ่ายทอดสู่ชุมชน 2.ช่วยลดภาระค่าใช้จ่ายเรื่องพลังงาน 3.สามารถจัดการเศษอาหารในเทศบาลได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ศูนย์กล้วยไม้และไม้ดอกไม้ประดับ
มจ.1-58-055 : ศึกษาสูตรอาหารที่เหมาะสมในการขยายพันธุ์กล้วยไม้สมุนไพรในสภาพปลอดเชื้อ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. จุฑามาศ พิลาดี(100)
2558  : 114000 บาท (งบประมาณภายในสถาบัน)
การศึกษาสูตรอาหารที่เหมาะสมของกล้วยไม้สมุนไพรในสภาพปลอดเชื้อจำนวน 4 ชนิด ได้แก่ แววมยุรา เอื้องคำ เพชรหึง และ ฟ้ามุ่ย หลังจากทำการย้ายลงอาหารเพาะเลี้ยง รวบรวมพันธุ์และขยายพันธุ์เพื่อผลิตเป็นตนพันธุ์เชิงการค้า บริษัทธรรมชาติกล้วยไม้ จำกัด 26/04/2566- 26/04/2567 นำองค์ความรู้มาช่วยการเพาะขยายพันธุ์กล้วยไม้ เพื่อประหยัดเวลา และเพิ่มโอกาศการจัดจำหน่ายตามความต้องการของลูกค้า