รายงานประกันคุณภาพ

ระบบและกลไกลการจัดการความรู้จากงานวิจัย

ช่วงเวลาที่ใช้ประโยชน์เริ่ม
ถึง


URL : อ้างอิงถึงรายงานแสดงผลข้อมูล

รายงานแสดงผลข้อมูลตามเงื่อนไขที่กำหนด
   - % หมายถึง ร้อยละความรับผิดชอบงานวิจัย
- รายงานจะแสดงผลเฉพาะงานวิจัยที่มีการนำไปใช้ประโยชน์และมีเอกสารอ้างอิงการนำไปใช้ประโยชน์เท่านั้น
ผู้ทำงานวิจัย (%) ปีงบประมาณที่ได้รับเงินสนับสนุน รายละเอียดของการนำผลงานไปใช้ประโยชน์
สิ่งที่นำไปใช้ประโยชน์ หน่วยงานหรือชุมชนที่นำไปใช้ ระยะเวลาที่นำไปใช้ประโยชน์ ประโยชน์ที่หน่วยงานหรือชุมชนได้รับ เอกสารประกอบการนำไปใช้ประโยชน์
คณะเทคโนโลยีการประมงและทรัพยากรทางน้ำ
IRTC-64-011 : โครงการการพัฒนาผลิตภัณฑ์ซินไบโอติกส์ร่วมกับวัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตร เพื่อลดการใช้ยาปฏิชีวนะในสัตว์น้ำ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. อุดมลักษณ์ สมพงษ์(100)
2564  : 200000 บาท (งบประมาณภายนอกสถาบัน)
บริษัท อุตสาหกรรม เทคโนโลยีชีวภาพ (ประเทศไทย) จำกัด ได้นำองค์ความรู้ “กระบวนการผลิตอาหารเสริมซินไบโอติกส์จากวัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตรเพื่อเป็นอาหารเสริมในสัตว์น้ำ” ไปใช้ในกิจการ เพื่อดำเนินการผลิตและจำหน่ายในอุตสาหกรรมอาหารสัตว์ โดยผลิตและจำหน่ายในประเทศไทยและต่างประเทศ บริษัท อุตสาหกรรม เทคโนโลยีชีวภาพ (ประเทศไทย) จำกัด 01/12/2565- 30/11/2570
IRTC-64-009 : โครงการการยกระดับผลผลิตปลานิลจากระบบไบโอฟลอคเข้าสู่ผลิตภัณฑ์คุณภาพสูง
รองศาสตราจารย์ ดร. นิสรา กิจเจริญ(100)
2564  : 335830 บาท (งบประมาณภายนอกสถาบัน)
กิจการ นายไบโอ ฟิชฟาร์มได้รับการถ่ายทอดองค์ความรู้ และเทคโนโลยีการเพาะเลี้ยงปลานิลอินทรีย์ในระบบไบโอฟลอค เพื่อเพิ่มมูลค่าและสร้างความแตกต่างในการเพาะเลี้ยงปลานิลทั่วไป โดยนายไบโอฟิชฟาร์มได้นำองค์ความรู้และเทคโนโลยีดังกล่าว มาใช้ในการ 1. พัฒนาคุณภาพของเนื้อปลานิลให้มีคุณภาพที่ดี (ไม่มีกลิ่นโคลน) และมี DHA 2. พัฒนาระบบการเลี้ยงเพื่อเพิ่มมูลค่าให้แก่ปลานิล โดยการเสริม DHA เข้าไปในระบบไบโอฟลอค ซึ่งก่อให้เกิดการยกระดับคุณภาพของเนื้อปลานิลอินทรีย์ให้มีคุณภาพสูงเทียบเท่าปลาทะเล ทำให้ผลผลิตมีมูลค่ามากขึ้น ส่งผลให้กิจการมีรายได้เพิ่มขึ้นอีกด้วย กิจการ นายไบโอ ฟิชฟาร์ม (NileBio Fish Farm) 01/10/2564- 30/09/2565
รองศาสตราจารย์ ดร. นิสรา กิจเจริญ(100)
2564  : 335830 บาท (งบประมาณภายนอกสถาบัน)
บริษัท ไนน์ไบโอ กรุ๊ป ได้นำกระบวนการและองค์ความรู้จากงานวิจัยไปใช้ในการต่อยอดเลี้ยงปลาด้วยระบบนวัตกรรมการผลิตปลานิลภายใต้การเลี้ยงในระบบไบโอฟลอค ซึ่งเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม มีความปลอดภัย ไร้กลิ่นโคลน และมีการเสริม DHA ในเนื้อปลา ซึ่งนำมาเพิ่มมูลค่าโดยการผลิตเป็นผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ ที่มีคุณภาพสูง ได้แก่ ปลานิลเสริม DHA แล่แช่แข็ง และ ปลานิลเสริม DHA รมควัน เป็นต้น บริษัท ไนน์ไบโอ กรุ๊ป 01/10/2564- 30/09/2566
มจ.2-63-093 : ศึกษาประสิทธิภาพระบบเลี้ยงปลาดุกและปลูกผักในบ้านอัจฉริยะ
อาจารย์ ดร. โดม อดุลย์สุข(100)
2563  : 15000 บาท (งบประมาณภายในสถาบัน)
1. สร้างต้นแบบของระบบเกษตรผสมผสานการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำร่วมกับการปลูกพืชด้วยระบบอัจฉริยะ ยกระดับการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำร่วมกับการปลูกพืชในยุคอินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่ง ให้เป็นเกษตรแม่นยำสูง 2. ประยุกต์ใช้ระบบโปรแกรมเมเบิลลอจิกคอลโทรลเลอร์ (PLC) ซึ่งเป็นระบบควบคุมการทำงานของเครื่องจักร หรือระบบการทำงานต่างๆ ที่ใช้ในโรงงานอุตสาหกรรมซึ่งมีความแม่นยำสูง มาใช้ในการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำร่วมกับการปลูกพืช 3. เพิ่มมูลค่าผลผลิตสินค้าอาหารปลอดภัย (เนื้อปลา-พืชผัก) ภายใต้โครงการบริการวิชาการของภาควิชาสัตว์ศาสตร์และสัตว์น้ำ ซึ่งสามารถเพิ่มมูลค่าผลผลิตสินค้าอาหารปลอดภัย ไม่ต่ำกว่า 30,000 บาท/ปี ภาควิชาสัตวศาสตร์และสัตว์น้ำ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 01/08/2565- 31/08/2569
อาจารย์ ดร. โดม อดุลย์สุข(100)
2563  : 15000 บาท (งบประมาณภายในสถาบัน)
นำองค์ความรู้จากงานวิจัยไปถ่ายทอดให้แก่นักศึกษาของคณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ และบุคคลภายนอกที่สนใจ รวมไปถึงพัฒนาเป็นศูนย์เรียนรู้ด้านเกษตรสมัยใหม่ สำหรับเป็นแหล่งศึกษาดูงานของชุมชนที่สนใจ คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ 04/01/2565- 27/02/2569
อวน.-63-002 : ประสิทธิภาพของชีวภัณฑ์ fish premix และ THEPTM1 ต่อการเจริญเติบโตและคุณภาพของปลานิล
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. จิราพร โรจน์ทินกร(80)
อาจารย์ ดร. ขจรเกียรติ์ ศรีนวลสม(20)
2563  : 310000 บาท (งบประมาณภายนอกสถาบัน)
บริษัท อุตสาหกรรม เทคโนโลยีชีวภาพ (ประเทศไทย) จำกัด ได้นำองค์ความรู้ “ประสิทธิภาพของชีวภัณฑ์ fish premix และ THEPTM1 ต่อการเจริญเติบโตและคุณภาพของปลานิล” ไปใช้ในกิจการ เพื่อดำเนินการผลิตและจำหน่ายในอุตสาหกรรมอาหารสัตว์ โดยผลิตและจำหน่ายในประเทศไทยและต่างประเทศ บริษัท อุตสาหกรรม เทคโนโลยีชีวภาพ (ประเทศไทย) จำกัด 01/12/2565- 30/11/2570
อวน.-63-001 : ประสิทธิภาพของชีวภัณฑ์ shrimp premix และ MEX1 ต่อสุขภาพและผลผลิตของกุ้งเศรษฐกิจ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. จิราพร โรจน์ทินกร(80)
2563  : 330000 บาท (งบประมาณภายนอกสถาบัน)
บริษัท อุตสาหกรรม เทคโนโลยีชีวภาพ (ประเทศไทย) จำกัด ได้นำองค์ความรู้ “ประสิทธิภาพของชีวภัณฑ์ shrimp premix และ MEX1 ต่อสุขภาพและผลผลิตของกุ้งเศรษฐกิจ” ไปใช้ในกิจการ เพื่อดำเนินการผลิตและจำหน่ายในอุตสาหกรรมอาหารสัตว์ โดยผลิตและจำหน่ายในประเทศไทยและต่างประเทศ บริษัท อุตสาหกรรม เทคโนโลยีชีวภาพ (ประเทศไทย) จำกัด 01/12/2565- 30/11/2570
มจ.1-63-02-003.7 : การประมาณค่าทางพันธุกรรมและการศึกษาระดับโมเลกุลเพื่อการพัฒนาสายพันธุ์ปลานิลจากระบบไบโอฟลอคเข้าสู่การเลี้ยงสัตว์น้ำอินทรีย์โดยการคัดเลือก
รองศาสตราจารย์ ดร. นิสรา กิจเจริญ(60)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. จิราพร โรจน์ทินกร(20)
อาจารย์ ดร. โดม อดุลย์สุข(20)
2563  : 3493000 บาท (งบประมาณภายในสถาบัน)
องค์ความรู้การประมาณค่าทางพันธุกรรมและการศึกษาระดับโมเลกุลเพื่อการพัฒนาพันธุ์ปลานิลจากระบบไบโอฟลอค เข้าสู่การเลี้ยงสัตว์น้ำอินทรีย์ กลุ่มวิสาหกิจชุมชนวังธรรมผลิตและแปรรูปปลาครบวงจร จ.อุดรธานี 30/07/2564- 30/07/2564
รองศาสตราจารย์ ดร. นิสรา กิจเจริญ(60)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. จิราพร โรจน์ทินกร(20)
อาจารย์ ดร. โดม อดุลย์สุข(20)
2563  : 3493000 บาท (งบประมาณภายในสถาบัน)
ทองพูลฟาร์ม ซึ่งเป็นฟาร์มเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำในเขต อำเภอสันป่าตอง ได้นำลูกพันธุ์ปลานิลอินทรีย์ พร้อมทั้งองค์ความรู้ที่ได้จากการวิจัยไปเพาะเลี้ยงจนกลายเป็นพ่อแม่พันธุ์ สำหรับใช้ในการเพาะ ขยายพันธุ์ปลานิลอินทรีย์ สู่การจัดจำหน่ายในเชิงพาณิชย์ ก่อให้เกิดรายได้ที่เพิ่มมากขึ้น ทองพูลฟาร์ม 01/10/2564- 17/04/2566
รองศาสตราจารย์ ดร. นิสรา กิจเจริญ(60)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. จิราพร โรจน์ทินกร(20)
อาจารย์ ดร. โดม อดุลย์สุข(20)
2563  : 3493000 บาท (งบประมาณภายในสถาบัน)
บริษัท อะควา รีเฟชเชอร์ ได้นำองค์ความรู้จากงานวิจัยไปใช้ในการผลิตลูกพันธุ์ปลานิล และต่อยอดการผลิตไปสู่การเป็นพ่อแม่พันธุ์เพื่อผลิตลูกพันธุ์ปลานิลจำหน่าย โดยได้มีการสอบถามจากเกษตรกรที่ซื้อลูกพันธุ์ไปเลี้ยง พบว่า ให้การยอมรับเป็นอย่างดี ดดยปลานิลมีน้ำหนักเฉลี่ย 400-500 กรัม เมื่อเลี้ยงในบ่อดินเป็นระยะเวลา 6 เดือน นอกจากนั้น ยังมีเกษตรกรที่ใช้พ่อแม่พันธุ์ปลานิลอินทรีย์จากการคัดพันธุ์ของโครงการวิจัยนี้ไปผลิตลูกพันธุ์ปลานิลแปลงเพศ พบว่า ปลาที่เลี้ยงมีน้ำหนักเฉลี่ย 700-1,000 กรัม เมื่อเลี้ยงในบ่อดินเป็นระยะเวลา 6-7 เดือน ซึ่งก่อให้เกิดการเพิ่มมูลค่าของผลผลิต ทำให้เกิดรายได้ที่เพิ่มสูงขึ้น บริษัท อะควา รีเฟชเชอร์ 01/10/2563- 30/09/2566
มจ.1-63-01-001 : การพัฒนาฟาร์มต้นแบบเกษตรอัจฉริยะบนระบบไอโอที ของการเลี้ยงปลากะพงขาวความหนาแน่นสูงในระบบปิดให้เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมและยั่งยืน
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. สายัณห์ อุ่นนันกาศ(50)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. จอมสุดา ดวงวงษา(40)
2563  : 1200000 บาท (งบประมาณภายในสถาบัน)
1. ใช้ในการแจ้งเตือนข้อมูลคุณภาพน้ำ ร่วมกับการจัดการในการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ 2. สามารถประหยัดเวลาในการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ 3. สามารถทราบผลคุณภาพน้ำได้ตลอดเวลา 4. สามารถบริหารจัดการในการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำได้อย่างตรงจุด 5. สามารถนำแนวทางในการวิจัยนี้เป็นทางประกอบในการตัดสินใจลงทุนเพาะเลี้ยงปลาชะโอน ในระบบน้ำหมุนเวียนแบบปิดขนาดเล็ก เพื่อเข้าสู่ภาคธุรกิจการค้าต่อไป 6. เป็นการยกระดับความสามารถในการบริหารจัดการ และกลยุทธ์ทางการตลาดในการเพาะเลี้ยงปลาชะโอนของเกษตรกรผู้เพาะเลี้ยงปลาชะโอน วิสาหกิจชุมชนผู้เพาะเลี้ยง และการแปรรูปสัตว์น้ำ ต.หารแก้ว อ.หางดง จ.เชียงใหม่ 13/01/2565- 05/10/2565
คณะบริหารธุรกิจ
OT-64-053 : การขยายพันธุ์เชื้อเห็ดและเทคนิคการดำรงชีวิตตามแบบเศรษฐกิจฐานรากโดยการพึงพาตนเอง
อาจารย์ ดร. อัณชยารัศมิ์ เนาว์โสภา(30)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. กัญญ์พัสวี กล่อมธงเจริญ(20)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ประภัสสร วรรณสถิตย์(15)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ โสภณ ฟองเพชร(15)
2564  : 60000 บาท (ทุนส่วนตัว)
นำผลงานวิจัยไปใช้และได้รับประโยชน์จากผลงานวิจัย โดยมีการให้ชาวบ้านในพื้นที่ ทำการขยายเชื้อเห็ดป่าในพื้นที่ชุมชน เพื่อสร้างรายได้ให้กับชาวบ้านและส่งเสริมการทำเกษตรอินทรีย์ โดยการอนุรักษ์ทรัพยากรธรมชาติร่วมกับการดำรงชีวิตตามแบบเศรษฐกิจฐานรากโดยการพึ่งพาตนเองได้เป็นอย่างดี ชุมชนแม่โจ้ 09/08/2564- 09/08/2565 ใช้ประโยชน์ในเรื่องของการสร้างแหล่งอาหารจากทรัพยากรธรรมชาติ การลดสารเคมีจากการทำการเกษตร โดยไม่ทำลายทรัพยากรตามธรรมชาติและสร้างรายได้ให้กับชาวบ้านในชุมชนอย่างยั่งยืน
0.2-64.21 : การยอมรับเทคโนโลยีสารสนเทศต่อการใช้งานของผู้ปฏิบัติงานในระบบบัญชีคอมพิวเตอร์ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (e-LAAS) ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดลำพูน
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. กุลชญา แว่นแก้ว(20)
รองศาสตราจารย์ ดร. ชัยยศ สัมฤทธิ์สกุล(20)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ศฐา วรุณกูล(20)
2563  : 0 บาท (อื่น ๆ)
สามารถนำมาเป็นแนวทางในการพัฒนาผุ้ปฏิบัติงานในระบบให้มีการรับรู้และความสอดคล้อง ในระบบ e-LASS เพื่อให้การปฏิบัติงานมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น เทศบาลตำบลทาทุ่งหลวง 01/10/2565- 30/09/2566 องค์กรได้ตระหนักถึงความสำคัญของการรับรู้และความสอดคล้องของผุ้ปฏิบัติงานในระบบ e-LAAS จนก่อให้เกิดการพัฒนา องค์กรให้มีการปฏิบัติงานอย่างมีประสิทธิภาพ
OLUM-64-001 : สำรวจความพึงพอใจของประชาชนต่อการดำเนินงานขององค์การบริหารส่วนจังหวัดลำพูน ประจำปี 2564
รองศาสตราจารย์ ดร. จำเนียร บุญมาก(50)
รองศาสตราจารย์ ดร. จุฑาภรณ์ ชนะถาวร(50)
2564  : 250000 บาท (งบประมาณภายนอกสถาบัน)
นำข้อมูลไปใช้ในการเป็นแนวปฏิบัติงานให้ตรงกับความต้องการของผู้รับบริการและผู้ปฏิบัติได้ถูกต้องตามระเบียบกฎหมายและเป็นไปตามนโยบายของผู้บริหาร ตลอดจน ผลสัมฤทธิ์ของงานที่มีประสิทธิภาพ กองการศึกษา องค์การบริหารส่วนจังหวัดลำพูน 01/10/2564- 30/09/2565
รองศาสตราจารย์ ดร. จำเนียร บุญมาก(50)
รองศาสตราจารย์ ดร. จุฑาภรณ์ ชนะถาวร(50)
2564  : 250000 บาท (งบประมาณภายนอกสถาบัน)
นำไปใช้เป็นแนวทางในการดำเนินงานและนำไปต่อยอดในการบริหารงานและบุคลากร ตลอดจนการพัฒนาบริการที่สามารถตอบสนองความต้องการประชาชนและพัฒนาสาธารณชนให้มีประสิทธิภาพ กองช่าง องค์การบริหารส่วนจังหวัดลำพูน 01/10/2564- 01/09/2565
รองศาสตราจารย์ ดร. จำเนียร บุญมาก(50)
รองศาสตราจารย์ ดร. จุฑาภรณ์ ชนะถาวร(50)
2564  : 250000 บาท (งบประมาณภายนอกสถาบัน)
-นำไปใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาหน่วยงานในด้านต่างๆ โดยเฉพาะหน่วยงานราชการที่เป็น อปท.ขนาดใหญ่ให้บริการสาธารณะแก่ประชาชน สามารถประเมินปีก่อนๆ และปีปัจจุบันได้อย่างชัดเจน เห็นข้อผิดพลาดและข้อพัฒนาที่จะนำไปปรับปรุงได้ -ได้ข้อมูล ข้อเท็จจริงที่เห็นเชิงประจักษ์ โดยเฉพาะคณะวิจัยที่มีผลงานที่ได้รับการรับรองมีความน่าเชื่อถือ ดังนั้นหน่วยงานจึงได้รับประโยชน์จากข้อเท็จจริงที่ประชาชนแสดงความคิดเห็น กองยุทธศาสตร์ องค์การบริหารส่วนจังหวัดลำพูน 01/10/2564- 30/09/2565
รองศาสตราจารย์ ดร. จำเนียร บุญมาก(50)
รองศาสตราจารย์ ดร. จุฑาภรณ์ ชนะถาวร(50)
2564  : 250000 บาท (งบประมาณภายนอกสถาบัน)
นำไปใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาองค์กรและแนวทางให้บริการประชาชนดีขึ้นและตรงกับความต้องการของประชาชน สำนักปลัด องค์การบริหารส่วนจังหวัดลำพูน 01/10/2564- 30/09/2565
มจ.2-64-020 : ระบบธุรกิจอัจริยะเพื่อวิเคราะห์และพยากรณ์การผลิตข้าว กรณีศึกษากลุ่มผลิตข้าวจังหวัดเชียงใหม่
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ฉัตร ชูชื่น(60)
น.ส. สุธีรา หมื่นแสน(40)
2564  : 25000 บาท (งบประมาณภายในสถาบัน)
การใช้ข้อมูลวิเคราะห์และพยากรณ์ในการผลิตข้าวของ จ.เชียงใหม่ ในการประกอบการวางแผนการผลิตข้าวให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น เกษตรกรผู้ผลิตข้าว 06/07/2565- 06/07/2565 การใช้ประโยชน์เชิงวิชาการ
มจ.2-64-013 : ช่องทางการจำหน่ายและการบริหารต้นทุนการผลิตภัณฑ์น้ำมะเกี๋ยงของมหาวิทยาลัยแม่โจ้
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ศิริกุล ตุลาสมบัติ(100)
2564  : 30000 บาท (งบประมาณภายในสถาบัน)
แนวทางในการลดต้นทุนการผลิต แนวทางการเพิ่มผลกำไรจากการเพิ่มช่องทางการจัดจำหน่าย คณะวิศวกรรมและอุตสาหกรรมเกษตร 01/08/2564- 01/08/2565 1. ได้ช่องทางการจัดจำหน่าย 2. ทราบต้นทุนการผลิตน้ำมะเกี๋ยง 3. สามารถจัดการกระบวนการผลิตที่มีประสิทธิภาพ 4. สามารถลดต้นทุนการผลิตที่ไม่จำเป็นลง
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ศิริกุล ตุลาสมบัติ(100)
2564  : 30000 บาท (งบประมาณภายในสถาบัน)
วิธีการคำนวณต้นทุนและราคาจำหน่ายของปุ๋ยยี่ฮักดิน กุล่มแปลงใหญ่ลำไยตำบลหนองตอง 01/06/2565- 31/07/2565
OT-62-026 : ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการเป็นสำนักงานบัญชีคุณภาพ The Facter effect on Accounting Firm Quality Certification
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. กุลชญา แว่นแก้ว(50)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ศฐา วรุณกูล(20)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ อัชญา ไพคำนาม(15)
2563  : 20000 บาท (ทุนส่วนตัว)
เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการองค์กร โดยห้างหุ้นส่วนจำกัด แอคเค้าท์ มาย โฮม นำผลงานวิจัยไปเป็นแนวทางในการรบริหารจัดการสำนักงานบัญชีได้เป็นอย่างดี สามารถเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการด้านการนำองค์กรโดยการสร้างความเชื่อมั่นและความพึงพอใจแ้กผู้มีส่วนได้เสีย ได้แก่ ลูกค้า พันธมิตรทางธุรกิจ หน่วยงานภาครัฐและเอกชนมีความเชื่อมั่น ไว้วางใจต่อคุณภาพการบริการสำนักงานมากขึ้น ห้างหุ้นส่วนจำกัดฯ สามารถพัฒนาแนวทางการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการด้านการดำเนินงานทีมุ่งผลสัมฤทธิ์ได้โดยการนำเทคโนโลยีต่างๆ มาใช้งานให้เกิดประโยชน์ เช่น Cloud storage ที่นิยมใช้โดยทั่วไป เนื่องจากมีพื้นฐานเพียงพอต่อการจัดเก็บข้อมูลและมีความปลอดภัยเป็นที่ยอมรับ ห้างหุ้นส่วนจำกัด แอคเค้าท์ มาย โฮม 21/09/2564- 21/09/2564 หลังจากที่หน่วยงาน ได้มีการพัฒนาตามข้อเสนอแนะของผลการวิจัย ทำให้หน่วยงานสามารถเพิ่มลูกค้าได้จำนวน 1-2 ราย
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. กุลชญา แว่นแก้ว(50)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ศฐา วรุณกูล(20)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ อัชญา ไพคำนาม(15)
2563  : 20000 บาท (ทุนส่วนตัว)
สำนักงานบัญชีนำไปใช้เพื่อการบริหารจัดการสำนักงานบัญชีให้มีประสิทธิภาพสูงสุด สำนักงานบัญชี แอคเค้าท์มายโฮม 01/11/2565- 31/08/2566 เป็นแนวทางในการบริหารจัดการ สำนักงานบัญชี เพื่อมุ่งเป้าสู่การเป็นสำนักงานบัญชีคุณภาพ เป็นประโยชน์ในการวางแผนดำเนินงาน ให้ตรงตามปัจจัยที่เกี่ยวข้อง เพื่อมุ่งเป้าส๔ู่การเป็นสำนักงานบัญชีคุณภาพ
0.6-62.1 : ความสัมพันธ์ระหว่างการวางแผนภาษีกับนโยบายการจ่ายเงินปันผลของ บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ศฐา วรุณกูล(60)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. กุลชญา แว่นแก้ว(40)
2562  : 0 บาท (อื่น ๆ)
สำนักงานบัญชีได้นำผลงานวิจัยไปใช้ในการจัดทำบัญชีและวางแผนภาษีให้แก่ลูกค้าเพื่อให้ลูกค้ามีการเสียภาษีที่ถูกต้องตามกฎหมายและสามารถประหยัดภาษีได้ สำนักงานบัญชี แอคเค้าท์มายโฮม 01/11/2565- 31/08/2566 ใช้เป็นแนวทางในการให้บริการจัดทำบัญชี และวางแผนภาษีของลูกค้าที่มาใช้บริการในสำนักงานบัญชี
คณะผลิตกรรมการเกษตร
สวก.-63-006 : โครงการพัฒนาระบบควมคุมแรงดึงระเหยน้ำในอากาศสำหรับต้นแบบระบบโรงงานผลิตพืชขนาดเล็กติดตั้งในเฟอร์นิเจอร์
รองศาสตราจารย์ ดร. สิริวัฒน์ สาครวาสี(70)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. โชติพงศ์ กาญจนประโชติ(30)
2563  : 1625280 บาท (งบประมาณภายนอกสถาบัน)
เรื่อง ระบบควบคุมแรงดึงระเหยน้ำในอากาศสำหรับต้นแบบระบบโรงงานผลิตพืชขนาดเล็กติดตั้งในเฟอร์นิเจอร์ จด อนุสิทธิบัตร เลขที่การยื่นขอจดทะเบียน : 2203002127 วันที่ที่ยื่นขอจดทะเบียน : 30/8/2565 สำนักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (องค์การมหาชน) มหาวิทยาลัยแม่โจ้ บริษัท ยู-เฮลธี จำกัด สำนักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (องค์การมหาชน) มหาวิทยาลัยแม่โจ้ บริษัท ยู-เฮลธี จำกัด 30/08/2565- 30/08/2566
วช-65-001 : การวิจัยและพัฒนาจุลินทรีย์ปฏิปักษ์ในการควบคุมโรคไหม้และเพลี้ยกระโดดสีน้ำตาลศัตรูข้าวที่สำคัญเพื่อการประยุกต์ใช้ควบคุมโดยชีววิธี
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. พิภัทร เจียมพิริยะกุล(100)
2565  : 1750000 บาท (งบประมาณภายนอกสถาบัน)
เทศบาลตำบลสันผีเสื้อได้นำเอาองค์ความรู้จากงานวิจัยมาปรับใช้เป็นโครงการนวัตกรรมท้องถิ่น “โครงการป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคและแมลงศัตรูพืชโดยชีววิธี (Biocontrol)”ซึ่งขับเคลื่อนโครงการโดยกองส่งเสริมการเกษตร เทศบาลตำบลสันผีเสื้อ อำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่เพื่อแก้ไขปัญหาสำคัญเร่งด่วนของชุมชนได้แก่ ปัญหาสารเคมีตกค้างที่มีผลกระทบต่อสุขภาพของเกษตรกรผู้ผลิตและผู้บริโภคในพื้นที่ ปัญหาการกลับมาระบาดของแมลงศัตรูพืชชนิดเดิม ปัญหาการเข้าถึงแมลงศัตรูธรรมชาติและเชื้อราปฏิปักษ์ได้ยากของเกษตรกรปัญหาการขาดความสามารถในการผลิตพืชอาหารปลอดภัยในเขตพื้นที่อำเภอเมืองเชียงใหม่และเกี่ยวเนื่องกับปัญหาความมั่นคงทางอาหารของจังหวัดเชียงใหม่ซึ่งมีความสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี ในที่ยุทธศาสตร์ที่ ๒ การสร้างความสามารถในการแข่งขัน ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ ๑ การเกษตรสร้างมูลค่า และยุทธศาสตร์ที่ ๕ ด้านการสร้างการเติบโตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ ๑ สร้างการเติบโตอย่างยั่งยืนบนสังคมเศรษฐกิจสีเขียว โดยการใช้ นวัตกรรมผลิตภัณฑ์ (เชื้อราปฏิปักษ์และแมลงศัตรูธรรมชาติ) ในการป้องกันควบคุมโรคและแมลงศัตรูพืชทดแทนการใช้สารเคมี และนวัตกรรมกระบวนการ คือ ธนาคารชีววิธี (Biocontrol Bank)เพื่อเป็นหน่วยงานหลักในการผลิตหัวเชื้อสด (เชื้อราปฏิปักษ์) ได้แก่ เชื้อราไตรโคเดอร์มา เชื้อราบิวเวอเรีย และเชื้อราเมทาไรเซียมที่มีคุณภาพ และเพาะเลี้ยงเพิ่มปริมาณแมลงศัตรูธรรมชาติ ได้แก่ มวนพิฆาต มวนเพชฌฆาต แมลงหางหนีบและหนอนนกให้เพียงพอต่อความต้องการของเกษตรกรตลอดฤดูปลูกในรูปแบบการบริหารจัดการธนาคารชุมชน โดยหลักการให้เกษตรกร ฝาก เป็นปัจจัยการผลิตแมลงศัตรูธรรมชาติ เช่น ข้าวสารสำหรับผลิตหัวเชื้อราสด เมล็ดข้าวฟ่าง พืชผักสำหรับเลี้ยงหนอนนกหรือปัจจัยการผลิตอื่นๆ และให้เกษตรกร เบิกถอน เป็นเชื้อราปฏิปักษ์และแมลงศัตรูธรรมชาติแต่ละชนิดตามการนำไปใช้ประโยชน์ นวัตกรรมดังกล่าวนับเป็นส่วนหนึ่งของ“ผลิตภัณฑ์สีเขียว”(Green Product) เทศบาลตำบลสันผีเสื้อ ตำบลสันผีเสื้อ อำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ 01/01/2563- 30/12/2566 ผลการนำงานวิจัยมาปรับใช้ดำเนินโครงการนวัตกรรมก่อให้เกิดประโยชน์ทั้งทางตรงและทางอ้อมต่อผู้ที่เกี่ยวข้อง ๓ กลุ่ม ได้แก่ ๑)สมาชิกกลุ่มเกษตรกรผู้ผลิตพืชผักปลอดสารพิษจำนวน ๓๐ รายและผู้ผลิตข้าวปลอดสารพิษจำนวน ๑๐๐ ราย สามารถยกระดับผลผลิตทางการเกษตรเพื่อสร้างมูลค่าให้สูงขึ้น โดยอาศัยนวัตกรรมผลิตภัณฑ์ (เชื้อราปฏิปักษ์และแมลงศัตรูธรรมชาติ) และนวัตกรรมกระบวนการ (ธนาคารชีววิธี) ซึ่งมีความสอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขันด้านการเกษตรสร้างมูลค่า เกษตรปลอดภัย และเกษตรชีวภาพ ๒) เทศบาลตำบลสันผีเสื้อได้รับประโยชน์ในประเด็นเรื่องสุขภาพที่ดีของราษฎรในพื้นที่และประเด็นการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมและทรัพยากรชีวภาพของท้องถิ่นได้อย่างยั่งยืน สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างการเติบโตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม สร้างการเติบโตอย่างยั่งยืนบนสังคมเศรษฐกิจสีเขียว และที่สำคัญคือช่วยประหยัดงบประมาณด้านการสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม ๓) กลุ่มผู้บริโภคทั้งในและนอกพื้นที่ประมาณ ๓,๐๐๐ ราย ได้บริโภคพืชผักมีคุณภาพตามมาตรฐานเกษตรปลอดสารพิษ และเกษตรอินทรีย์ส่งผลดีต่อสุขภาพของผู้บริโภคทั้งภายในและภายนอกชุมชนในวงกว้าง พร้อมทั้งสร้างความมั่นใจแก่ผู้บริโภคต่อความมั่นคงทางอาหารปลอดภัยในเขตพื้นที่ตำบลสันผีเสื้อและจังหวัดเชียงใหม่ดังสโลแกน“แหล่งผลิตกะหล่ำปลอดสารพิษต้องยกเครดิตให้สันผีเสื้อ” ๔) เทศบาลตำบลสันผีเสื้อได้รับรางวัลชมเชย ประเภทเทศบาลตำบล ในการคัดเลือกองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีการบริหารจัดการบ้านเมืองที่ดี (โครงการนวัตกรรมท้องถิ่น ประจำปีงบประมาณ 2566) และได้รับเงินรางวัลจำนวน 800,000 บาท
ปตท.-64-001 : การทดสอบพันธุ์สตรอเบอรี่ในวัสดุปลูกโรงเรือน โครงการไม้เมือง
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ปรีดา นาเทเวศน์(100)
2564  : 495000 บาท (งบประมาณภายนอกสถาบัน)
จัดซื้อผลสตราเบอรี่สายพันธุ์พระราชทาน 80 สนับสนุนโครงการฮารุมิกิ ภายในงบเงิน 2,455,000 บาท บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน)สำนักงานใหญ่ 01/12/2565- 31/03/2566 การดำเนินงานวิจัยเพื่อพัฒนาสตรอเบอรี่ที่มีคุณภาพจำหน่ายได้
มจ.2-64-065 : การเตรียมความพร้อมและการปรับตัวต่อแนวโน้มการขยายตัวของเมืองของเกษตรกรในอำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ปิยะ พละปัญญา(50)
รองศาสตราจารย์ ดร. พุฒิสรรค์ เครือคำ(30)
2564  : 30000 บาท (งบประมาณภายนอกสถาบัน)
การเตรียมความพร้อมของประชาชนในชุมชนเพื่อเตรียมตัวรับการเปลี่ยนแปลงของการขยายตัวเมือง รวมถึงการวางแผนการกิจกรรมเพื่อสนับสนุนการปรับตัว ม.9 ต.แม่แฝก อ.สันทราย จ.เชียงใหม่ 01/10/2564- 30/09/2567 ข้อมูลพื้นฐานเพื่อวางแผนการบริหาร จัดกิจกรรม และการใช้ข้อมูลเพื่อสื่อสารกับคนในชุมชนเพื่อเตรียมรับการเปลี่ยนแปลง
มจ.2-64-062 : ผลของการใช้สารแหนแดงต่อการเจริญเติบโตและการให้ผลผลิตของดาวเรืองตัดออก
อาจารย์ ดร. ประนอม ยังคำมั่น(100)
2564  : 30000 บาท (งบประมาณภายในสถาบัน)
การแข่งขันนำเสนอผลงานนวัตกรรมสู่การพัฒนาเป็นผู้ประกอบการธุรกิจนวัตกรรม (Startup Gate Pitching Challenge) ซึ่งจัดโดย อุทยานวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีเกษตรและอาหาร (MAP) โดย ฝ่ายบ่มเพาะธุรกิจเทคโนโลยีและพัฒนาระบบนิเวศนวัตกรรม มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เมื่อวันเสาร์ที่ 2 เมษายน 2565 ได้รับงบประมาณสนับสนุนในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ต้นแบบและทดสอบความเป็นไปได้ทางการตลาด นักศึกษาเป็นผู้ประกอบการ 01/10/2564- 30/09/2565
IRTC-64-003 : โครงการยกระดับคุณภาพรสชาติกาแฟอราบิก้าพิเศษโดยพัฒนากระบวนการตากกาแฟ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. วาสนา วิรุญรัตน์(60)
2564  : 300000 บาท (งบประมาณภายนอกสถาบัน)
นำผลสรุปของงานวิจัยมาตัดสินใจในการปรับปรุงกระบวนการตากกาแฟกลางแจ้ง และทดสอบผลของการใช้เทคนิคการลดความชื้น Low Temperature Low Humidity Drying บริษัท กาแฟอาข่า อาม่า จำกัด 01/09/2564- 31/12/2566 ช่วยลดปริมาณข้อบกพร้องของแกาแฟที่เกิดจากสาเหตุของการตากกาแฟ ช่วยให้ผลผลิตของบริษัทเป็นกาแฟพิเศษที่รสชาติดี(สม่ำเสนมอ)ตามแหล่งปลูก
TCELS.-64-003 : การพัฒนาการกักเก็บน้ำผึ้งในรูปของเม็ดบีดอัลจีเนตเพื่อต่อยอดผลิตภัณฑ์ด้านอาหารและเครื่องดื่มของกลุ่มวิสาหกิจชุมชน
ดร. นรินทร์ ท้าวแก่นจันทร์(50)
อาจารย์ ดร. กอบลาภ อารีศรีสม(20)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ภาวิณี อารีศรีสม(20)
2564  : 100000 บาท (งบประมาณภายนอกสถาบัน)
ดำเนินการจัดฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการแก่ กลุ่มวิสาหกิจชุมชน ผู้ประกอบการ บุคคลทั่วไปที่ให้ความสนใจ โดยงานได้จัดขึ้นเมื่อวันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2565 ณ ศูนย์บริการวิชาการ คณะผลิตกรรมการเกษตร ลงทะเบียนเข้ามาฝึกอบรมเป็นจำนวน 26 คน เข้า โดยแบ่งเป็น กลุ่มวิชาหกิจชุมชม จำนวน 4 คน ผู้ประกอบการ 3 คน เกษตรกร 5 คน และบุคคลทั่วไป 14 คน โดยการเข้าฝึกอบรมได้จัดเป็นแบบ 2 รูปแบบพร้อมกันคือ ผู้ที่ฝึกการอบรมแบบออนไซต์เป็นจำนวน 11 คน และผู้ที่ชมการฝึกการอบรมผ่านระบบออนไลน์เป็นจำนวน 16 คน กลุ่มวิสาหกิจชุมชน และผู้ประกอบการสามารถผลิตเม็ดบีดน้ำผึ้งเพื่อนำไปใช้ในการต่อยอดผลิตภัณฑ์ด้านอาหารและเครื่องดื่มสุขภาพ ทำให้มีรายได้เพิ่มขึ้น ตลอดจนเกษตรกรผู้เลี้ยงผึ้งสามารถมีรายได้เพิ่มขึ้น การทำให้น้ำผึ้งอยู่ในรูปของเม็ดบีด ด้วยกรรมวิธีเอนแคปซูเลชั่น เพิ่มช่องทางในการจัดจำหน่าย สร้างความน่าสนใจให้กับผู้บริโภค กลุ่มวิสาหกิจชุมชน ผู้ประกอบการ บุคคลทั่วไปที่ให้ความสนใจ 07/10/2565- 07/10/2565
RPF-64-002 : ชุดโครงการวิจัยและพัฒนาเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตไฮเดรนเยียมูลนิธิโครงการหลวง โครงการย่อยที่ 4 การบ่งชี้ถึงปัจจัยที่ควบคุมความสม่ำเสมอของสีดอกไฮเดรนเยีย
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. สาวิกา กอนแสง(50)
2564  : 385000 บาท (งบประมาณภายนอกสถาบัน)
นำอัตราการใช้อลูมิั่มซัลเฟต และซัลเฟอร์ ที่ได้จากงานวิจัยไปทดสอบในแปลงปลูกไฮเดรนเยียภายในศูนย์ พบว่า pH ดินลดลง และทำให้สีดอกของไฮเดรนเยียเปลี่ยนแปลงเป็นสีชมพูอมม่วงและสีม่วงอมฟ้า ตามระดับ pH ที่เปลี่ยนแปลง ศูนย์พัฒนาโครงการหลวงขุนแปะ 01/10/2565- 31/08/2566 ทำให้ได้แนวทางในการผลิตดอกไฮเดรนเยียให้ได้สีของดอกตามความต้องการของตลาด
สวทช.-64-001 : การถ่ายทอดเทคโนโลยีแอพพลิเคชั่น Smart NPK ร่วมกับชุดวิเคราะห์ดินแบบพกพาสำหรับการจัดการดินและปุ๋ยเพื่อการปลูกพืชแปลงใหญ่
รองศาสตราจารย์ ดร. ศุภธิดา อ่ำทอง(50)
รองศาสตราจารย์ ดร. ชวโรจน์ ใจสิน(20)
2564  : 1675500 บาท (งบประมาณภายนอกสถาบัน)
เกษตรกร เจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตร สามารถนำผลการวิเคราะห์ดินของพื้นที่ต่างๆ มาคำนวณ ปริมาณปุ๋ยให้เหมาะสมกับระดับธาตุอาหารในดินของแต่ละพื้นที่ และชนิดพืช เกษตรกรผู้สนใจทั่วไป 01/10/2564- 31/12/2565
รองศาสตราจารย์ ดร. ศุภธิดา อ่ำทอง(50)
รองศาสตราจารย์ ดร. ชวโรจน์ ใจสิน(20)
2564  : 1675500 บาท (งบประมาณภายนอกสถาบัน)
การถ่ายทอดองค์ความรู้จากผลงานวิจัยของ รองศาสตราจารย์ ดร. ศุภธิดา อ่ำทอง ศูนย์จัดการดินและปุ๋ยชุมชน ได้แลกเปลี่ยนองศ์ความรู้ ปัญหา เพื่อสร้างแนวทางในการปลูกพืช กระตุ้นให้เกษตรกรมีการปรับตัวในด้านการใช้เทคโนโลยี โดยเฉพาะการใช้แอพพลิเคชั่น UNT AGROMET และ Smart NPK สามารถนำมาใช้วางแผน ตั้งรับและเฝ้าระวังเพื่อลดความเสี่ยงหรือความเสียหายจากสภาพอากาศและความความชื้นของดิน และช่วยตัดสินใจวางแผนการปลูกพืชในฤดูกาลต่อไป เพื่อลดต้นทุนปัจจัยการผลิต ค่าปุ๋ย เพิ่มผลผลิตและคุณภาพให้แก่พืชผลทางการเกษตร ศูนย์จัดการดินและปุ๋ยชุมชน ตำบลไชยสถาน อำเภอเมือง จังหวัดน่าน 13/03/2566- 12/03/2567 สามารถเพิ่มศักยภาพการปลูกพืชได้ เช่น การจัดการดินและน้ำ และลดความเสี่ยงความเสียหายที่เกิดจากผลผลิตเสียหายจากภัยแล้ง และนำเทคโนโลยีต่าง ๆ ไปใช้หรือปรับให้เหมาะสมในพื้นที่ทำการเกษตรของตนเองได้อย่างมีประสิทธิภาพ ได้ผลผลิตสูงและลดความเสียหายต่อพืชผลทางการเกษตร
บพข.-63-001 : การจัดการระบบการผลิตสตรอว์เบอรี่บนพื้นที่สูงด้วยพื้นฐานระบบเกษตรสมัยใหม่
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ปรีดา นาเทเวศน์(100)
2563  : 1200000 บาท (งบประมาณภายนอกสถาบัน)
กลุ่มวิสาหกิจชุมชนสตรอว์เบอรีปลอดภัยแม่ยางห้าตำบลบ่อแก้ว อำเภอสะเมิง จังหวัดเชียงใหม่ เพื่อพัฒนาระบบการผลิตสตรว์เบอร์รี่เพื่อเพิ่มมูลค่าอุตสาหกรรมสตรอว์เบอร์รี่ปลอดภัยในพื้นที่ โดยการนำเทคโนโลยีด้านการผลิตไหลแม่พันธุ์ปลอดโรคและการจัดการดินและปุ๋ยตามความต้องการของพืช ด้วยการตรวจวิเคราะห์ความอุดมสมบูรณ์ของดินในแปลงปลุกสตรอว์เบอรีของเกษตรกรแต่ละราย แล้วนำผลวิเคราะห์มาทำการกำหนดอัตราการให้ปุ๋ยตามความต้องการของสตรอว์เบอรีแต่ละรายที่เข้าร่วมโครงการ บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน) 01/12/2565- 31/03/2566 ทางโครงการได้รับความร่วมมือกับ บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน) ในการรับซื้อผลผลิตของเกษตรกร รวมทั้งหาแหล่งจำหน่ายผลผลิตในท้องถิ่นเพื่อรองรับผลผลิตจากเกษตรกรแต่ละราย สำหรับสร้างรายได้ให้กับเกษตรกร ในส่วนของการจำหน่ายผลผลิตให้กับ บ.ปตท จำกัด (มหาชน) นั้น เป็นการจัดจำหน่ายตามชั้นคุณภาพและมีการตรวจสอบความปลอดภัย โดยการตรวจสารเคมีตกค้าง ให้สามารถจำหน่ายได้ในราคาที่สูง
มจ.1-63-02-009.1 : การพัฒนาโรงงานต้นแบบของการเพาะเลี้ยงเพิ่มปริมาณแมลงศัตรูธรรมชาติ
รองศาสตราจารย์ ดร. ระวี คเณชาบริรักษ์(70)
อาจารย์ ดร. วงค์พันธ์ พรหมวงศ์(10)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ผานิตย์ นาขยัน(10)
รองศาสตราจารย์ ดร. พุฒิสรรค์ เครือคำ(5)
นาย สัมพันธ์ ตาติวงค์(5)
2563  : 3200000 บาท (งบประมาณภายในสถาบัน)
นำเสนอผลงานนวัตกรรมสู่การพัฒนาเป็นผู้ประกอบการธุรกิจนวัตกรรม (Startup Gate Pitching Challenge) ซึ่งจัดโดย อุทยานวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีเกษตรและอาหาร (MAP) โดย ฝ่ายบ่มเพาะธุรกิจเทคโนโลยีและพัฒนาระบบนิเวศนวัตกรรม มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เมื่อวันเสาร์ที่ 2 เมษายน 2565 ได้รับงบประมาณสนับสนุนในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ต้นแบบและทดสอบความเป็นไปได้ทางการตลาด จำนวน 50,000 บาท นักศึกษาเป็นผู้ประกอบการ 01/10/2564- 30/09/2565
ปตท.-63-002 : การคัดเลือกพันธุ์และการพัฒนาระบบเพิ่มปริมาณและคุณภาพผลผลิตสตรอเบอรี่ในโรงงาน
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ปรีดา นาเทเวศน์(100)
2563  : 495000 บาท (งบประมาณภายนอกสถาบัน)
จัดซื้อผลสตรอเบอรี่สายพันธุ์พระราชทาน 80 สนับสนุนโครงการฮารุมิกิ ภายในงบเงิน 2,455,000 บาท บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน)สำนักงานใหญ่ 01/12/2565- 31/03/2566 การดำเนินงานวิจัยเพื่อพัฒนาสตรอเบอรี่ที่มีคุณภาพ
มจ.2-62-094 : การศึกษานิเวศวิทยา ลักษณะพันธุ์ วงจรชีวิต และการเจริญเติบโตของผักชีป่า
อาจารย์ วินัย แสงแก้ว(100)
2562  : 50000 บาท (งบประมาณภายในสถาบัน)
เพื่อเพาะขยายพันธุ์ให้มีจำนวนมากขึ้น ส่งเสริมให้มีการอนุรักษ์ในพื้นที่อย่างถูกต้องตามวิชาการ วิสาหกิจชุมชนผู้เพาะเลี้ยง ฟ้ามุ๋ยปงไคร้ 02/02/2561- 30/09/2566 อนุรักษ์พันธุ์กล้วยไม้พื้นถิ่น
อาจารย์ วินัย แสงแก้ว(100)
2562  : 50000 บาท (งบประมาณภายในสถาบัน)
การอนุรักษ์ เพาะขยายพันธุ์ การเพิ่มผลผลิต การเจริญเติบโต กลุ่มเกษตรกรตำบลทาสบเส้า อำเภอแม่ทา จังหวัดลำพูน 11/02/2562- 30/09/2566 การอนุรักษ์ต้นพ่อ แม่พันธุ์ผักชีป่าในถิ่นที่อยู่เดิม
มจ.2-61-084 : การศึกษาสูตรอาหารที่เหมาะสมในการขยายพันธุ์กล้วยไม้ฟาแลนนอฟซิสในสภาพปลอดเชื้อ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. จุฑามาศ พิลาดี(100)
2561  : 50000 บาท (งบประมาณภายในสถาบัน)
การถ่ายทอดเทคโนโลยีการเพาะ ขยายพันธุ์ อนุบาล กล้าไม้ดอกอย่างมีคุณภาพ เพื่อลดรายจ่าย เพิ่มมุลการผลิตไม้ดอกให้มีคุณภาพ กลุ่มผุ้ปลูกไม้ดอกไม้ประดับ 01/07/2565- 30/10/2565
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. จุฑามาศ พิลาดี(100)
2561  : 50000 บาท (งบประมาณภายในสถาบัน)
การศึกษาสูตรอาหารที่เหมาะสมในการขยายพันธุ์กล้วยไม้ฟาแลนนอฟซิสในสภาพปลอดเชื้อ เพื่อให้ได้การขยายพันธุ์ของต้นพันธุ์ที่แข็งแรง เร่งการเจริญเติบโตให้เร็วขึ้น บริษัทธรรมชาติกล้วยไม้ จำกัด 06/10/2566- 06/10/2566 เพาะเมล็ดพันธุ์กล้วยไม้ตามความต้องการของตลาด และลูกค้าที่มีความต้องการ
สวพ.-63-001 : การศึกษาวิธีการจัดการศัตรูพืชสำคัญแบบผสมผสานสำหรับการปลูกองุ่นบนพื้นที่สูง
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ฉัตรสุดา เผือกใจแผ้ว(40)
รองศาสตราจารย์ ดร. ณัฐดนัย ลิขิตตระการ(15)
ดร. จักรพงษ์ สุภาวรรณ์(15)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. เจนจิรา หม่องอ้น(10)
2563  : 500000 บาท (งบประมาณภายนอกสถาบัน)
1. นำองค์ความรู้ด้านการป้องกันกำจัดโรคพืชและแมลงศัตรูพืช มาเรียบเรียงและแเผยแพร่ใน เรื่อง “ปลูกองุ่นปลอดภัย ต้องทำอย่างไร...” ผ่านทางเว็บไซต์ของหน่วยงาน https://www.hrdi.or.th/Articles/Detail/125ตั้งแต่วันที่ 28 มกราคม 2564 2. ใช้องค์ความรู้จากงานวิจัยนี้ดำเนินโครงการวิจัย เรื่อง “การปลูกองุ่นภายใต้ระบบการจัดการศัตรูพืชแบบผสมผสานเพื่อลดการใช้สารเคมี” ปีงบประมาณ 2564 ในพื้นที่โครงการพัฒนาพื้นที่สูงแบบโครงการหลวงจำนวน 14 แห่ง เกษตรกร 44 ราย สถาบันวิจัยและพัฒนาพื้นที่สูง 01/10/2563- 30/09/2570 เกษตรกรในพื้นที่โครงการพัฒนาพื้นที่สูงแบบโครงการหลวง ยอมรับวิธีการปลูกองุ่นภายใต้ระบบการจัดการศัตรูพืชแบบผสมผสานเพื่อลดการใช้สารเคมี ปลอดภัยต่อตัวเกษตรกร สร้างความเชื่อมั่นและปลอดภัยแก่ผู้บริโภค และเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
สวก.-62-014 : แอพพลิเคชั่นการจัดการดิน น้ำและปุ๋ยเพื่อการปลูกข้าวแปลงใหญ่
รองศาสตราจารย์ ดร. ศุภธิดา อ่ำทอง(55)
2562  : 1980400 บาท (งบประมาณภายนอกสถาบัน)
เกษตรกร เจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตร สามารถนำผลการวิเคราะห์ดินของพื้นที่ต่างๆ มาคำนวณ ปริมาณปุ๋ยให้เหมาะสมกับระดับธาตุอาหารในดินของแต่ละพื้นที่ และชนิดพืช เกษตรกรผู้สนใจทั่วไป 01/10/2564- 31/12/2565
อพ.สธ.-62-003 : การศึกษาความหลากหลายทางพันธุกรรมและปัจจัยการเจริญเติบโตของกล้วยไม้สมุนไพร นกคุ้มไฟ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. เยาวนิตย์ ธาราฉาย(50)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ทิพย์สุดา ตั้งตระกูล(20)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ปฏิภาณ สุทธิกุลบุตร(15)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. นฤมล เข็มกลัดเงิน(5)
นาย อดิศักดิ์ การพึ่งตน(5)
อาจารย์ วินัย แสงแก้ว(5)
2562  : 350000 บาท (งบประมาณภายนอกสถาบัน)
เพื่อเพาะขยายพันธุ์ให้มีจำนวนมากขึ้น ส่งเสริมให้มีการอนุรักษ์ในพื้นที่อย่างถูกต้องตามหลักวิชาการ วิสาหกิจชุมชนผู้เพาะเลี้ยง ฟ้ามุ๋ยปงไคร้ 13/06/2561- 30/09/2566 อนุรักษ์ต้นพ่อ แม่พันธุ์กล้วยไม้นกคุ้มไฟในพื้นที่ถิ่นที่อยู่เดิม
สวก-62-010 : การพัฒนาพันธุ์ปทุมมาลูกผสมข้ามชนิดเพื่อการค้า(ปีที่2)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. เฉลิมศรี นนทสวัสดิ์ศรี(100)
2562  : 832700 บาท (งบประมาณภายนอกสถาบัน)
แสดงเจตจำนงขอรับอนุญาตให้ใช้สิทธิผลงานวิจัย ปทุมมา จำนวน 10 สายพันธ์ุ รูปแบบการอนุญาตให้ใช้สิทธิแต่เพียงผู้เดียวทั้งในประเทศและต่างประเทศ เป็นระยะเวลา 10 ปี บริษัทสดใส ล้านนาจำกัด 25/11/2564- 30/11/2575
สวทช-62-006 : โครงการการถ่ายทอดเทคโนโลยีแอพพลิเคชั่น Smart NPK สำหรับการจัดการดินและปุ๋ยเพื่อการปลูกพืชแปลงใหญ่ของจังหวัดเชียงใหม่าร
รองศาสตราจารย์ ดร. ศุภธิดา อ่ำทอง(50)
2562  : 1375000 บาท (งบประมาณภายนอกสถาบัน)
เกษตรกร เจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตร สามารถนำผลการวิเคราะห์ดินของพื้นที่ต่างๆ มาคำนวณ ปริมาณปุ๋ยให้เหมาะสมกับระดับธาตุอาหารในดินของแต่ละพื้นที่ และชนิดพืช เกษตรกรผู้สนใจทั่วไป 01/10/2564- 31/12/2565
รองศาสตราจารย์ ดร. ศุภธิดา อ่ำทอง(50)
2562  : 1375000 บาท (งบประมาณภายนอกสถาบัน)
ได้ดำเนินงานผ่านโครงการสร้างเครือข่ายผู้ปลูกมันสำปะหลัง โดยดำเนินเทคโนโลยีถ่ายทอดให้แก่เกษตรกรจังหวัดอุบลราชธานี จังหวัดยโสธร และจังหวัดอำนาจเจริญ เพื่อใช้ตรวจวิเคราะห?ดินให้เกษตรกรได้ใส่ผลตามค่าวิเคราะห์ดินในการปลูกมันสำปะหลัง โดยผลการดำเนินงานในแปลงต้นแบบ พบว่าแปลงของเกษตรกรต้นแบบพบว่าผลการตรวจวิเคราะห์ดินมีอินทรีย์วิตถุในระดับปานกลาง มีฟอสฟอรัสในระดับปานกลาง และมีโพแทสเซียมในระดับต่ำมาก จึงปรับปริมาณการใส่ปุ๋ยอินทรีย์ตามค่าวิเคราะห์ดิน จากเดิมประมาณ 250 กิโลกรัมต่อไร่ เป็น 2,578 กิโลกรัมต่อไร่ เพื่อเก็บเกี่ยวพบว่าเกษตรกรมีรายได้เพิ่มขึ้นประมาณ 5,000 บาทต่อไร่ โดยรายได้เพิ่มขึ้นร้อยละ 53.19 จาก 17,155บาทต่อไร่ เป็น 26,280 บาทต่อไร่ ผลผลิตต่อไร่เพิ่มขึ้นร้อยละ 53.19 จาก 4,700 กิโลกรัมต่อไร่ เป็น 7,200 กิโลกรัมต่อไร่ นำหนักต่อต้นเฉลี่ยเพิ่มขึ้น ร้อยละ 74.55 จากเดิม 2.2 กิโลกรัมต่อต้น เพิ่มขึ้นเป็น 3.84 กิโลกรัมต่อต้น มีจำนวนหัวต่อต้นเฉลี่ยเพิ่มขึ้นร้อยละ 13.64 จากเดิม 13.2 หัวต่อต้น เพิ่มขึ้นเป็น 15 หัวต่อต้น ผลผลิตต่อไร่เฉลี่ยเพิ่มขึ้นร้อยละ 56.52 จากเดิม 4.6 ันต่อไร่ เพิ่มขึ้นเป็น 7.2 ตันต่อไร่ และมีเปอร์เซ็นต์แป้งเฉลี่ยเพิ่มขึ้น จากเดิม ร้อยละ 26 เป็น ร้อยละ 27 สำนักงานพัฒนาวิทยาศษสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ 01/02/2566- 01/02/2567 งานวิจัยมีผลดี สามารถช่วยยกระดับการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิให้แก่เกษตรกร และเทคโนโลยีใช้ง่ายเกษตรกรสามารถดำเนินการตรวจและวิเคราะห์ผลได้เอง ส่งผลให้การขยายผลถ่ายทอดเทคโนโลยีโดย สวทช สามารถดำเนินงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ เกษตรกรสามารถวางแผนการผลิต เตรียมความพร้อมให้เหมาะสมกับพืช
มจ.1-62-01-035 : กระบวนการเรียนรู้เพื่อพัฒนาศักยภาพการจัดการเศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์ วิสาหกิจชุมชน อำเภอสะเมิง จังหวัดเชียงใหม่
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. กังสดาล กนกหงษ์(40)
ผศ.ดร. วรทัศน์ อินทร์คคัฆพร(30)
2562  : 1001030 บาท (งบประมาณภายในสถาบัน)
การพัฒนากลุ่มให้มีความเข้มแข็ง สร้างความร่วมมือในการดำเนินงานภายในกลุ่ม เพิ่มช่องทางการจัดจำหน่ายผลิตภัณฑ์ คัดเลือกเพื่อพัฒนาผลิตภััณฑ์ แนวทางการพัฒนากลุ่มให้มีความยั่งยืน หรือพัฒนาเป็นวิสาหกิจชุมชน กลุ่มผู้สูงอายุ 15/06/2565- 30/11/2565
มจ.1-62-01-032.3 : ผลของความเข้มแสงต่อการเจริญเติบโต ปริมาณผลผลิต และปริมาณสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพบางชนิดของกระชายดำ
อาจารย์ ดร. แสงเดือน อินชนบท(60)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. เทิดศักดิ์ โทณลักษณ์(25)
2562  : 340000 บาท (งบประมาณภายในสถาบัน)
กำหนดแผนการปลูกและดูแลรักษา สายพันธุ์ที่เหมาะสมในพื้นที่ชุมชนและฤดูกาล เพื่อการผลิตจำหน่าย สามารถเป็นวิทยากรชุมชนถ่ายทอดความรู้ ให้แก่เกษตรกรในชุมชน กลุ่มผู้ปลูกผักปลอดภัย ตำบลแม่แฝก 29/09/2564- 29/09/2564
อาจารย์ ดร. แสงเดือน อินชนบท(60)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. เทิดศักดิ์ โทณลักษณ์(25)
2562  : 340000 บาท (งบประมาณภายในสถาบัน)
ถ่ายทอดเทคโนโลยีและองค์ความรู้การจัดการพื้นที่การผลิตกระชายดำในระบบเกษตรอินทรีย์ ให้กับวิสาหกิจชุมชนกลุ่มเกษตรอินทรีย์ตำบลวอแก้ว และทางกลุ่มฯ ได้ทราบถึงศักยภาพการให้ผลิตกระชายดำอินทรีย์ในพื้นที่ สำหรับใช้เป็นแนวทางในการวางแผนขยายพื้นที่ปลูกกระชายดำอินทรีย์ของกลุ่มฯ เกษตรกรกลุ่มวิสาหกิชุมชน ตำบลวอแก้ว 01/09/2565- 30/09/2565
มจ.1-62-01-032.2 : ผลของปุ๋ยมูลสัตว์ต่อการเจริญเติบโต ปริมาณผลผลิต และปริมาณสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพบางชนิดของกระชายดำ
รองศาสตราจารย์ ดร. วีณา นิลวงศ์(50)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. เทิดศักดิ์ โทณลักษณ์(30)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ผานิตย์ นาขยัน(10)
2562  : 340000 บาท (งบประมาณภายในสถาบัน)
ถ่ายทอดเทคโนโลยีและองค์ความรู้การจัดการพื้นที่การผลิตกระชายดำในระบบเกษตรอินทรีย์ ให้กับวิสาหกิจชุมชนกลุ่มเกษตรอินทรีย์ตำบลวอแก้ว และทางกลุ่มฯ ได้ทราบถึงศักยภาพการให้ผลิตกระชายดำอินทรีย์ในพื้นที่ สำหรับใช้เป็นแนวทางในการวางแผนขยายพื้นที่ปลูกกระชายดำอินทรีย์ของกลุ่มฯ เกษตรกรกลุ่มวิสาหกิชุมชน ตำบลวอแก้ว 01/09/2564- 30/09/2565
มจ.1-62-01-032.1 : การเพาะเลี้ยงแคลคูลัสและการใช้รังสีแกมมาสำหรับชักนำให้เกิดความแปรปรวนทางพันธุกรรมในกระชายดำ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. เทิดศักดิ์ โทณลักษณ์(60)
อาจารย์ ดร. กิตติคุณ พระกระจ่าง(20)
อาจารย์ ดร. สุรีย์พร สราภิรมย์(10)
อาจารย์ ดร. แสงเดือน อินชนบท(10)
2562  : 340000 บาท (งบประมาณภายในสถาบัน)
ถ่ายทอดเทคโนโลยีและองค์ความรู้การจัดการพื้นที่การผลิตกระชายดำในระบบเกษตรอินทรีย์ ให้กับวิสาหกิจชุมชนกลุ่มเกษตรอินทรีย์ตำบลวอแก้ว และทางกลุ่มฯ ได้ทราบถึงศักยภาพการให้ผลิตกระชายดำอินทรีย์ในพื้นที่ สำหรับใช้เป็นแนวทางในการวางแผนขยายพื้นที่ปลูกกระชายดำอินทรีย์ของกลุ่มฯ เกษตรกรกลุ่มวิสาหกิชุมชน ตำบลวอแก้ว 01/09/2564- 30/09/2565
มจ.1-62-01-032 : การพัฒนาการผลิตและการใช้ประโยชน์จากพืชสมุนไพรไทย: กรณีศึกษากระชายดำ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. เทิดศักดิ์ โทณลักษณ์(40)
อาจารย์ ดร. แสงเดือน อินชนบท(15)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. กาญจนา นาคประสม(15)
ดร. นรินทร์ ท้าวแก่นจันทร์(15)
รองศาสตราจารย์ ดร. วีณา นิลวงศ์(15)
2562  : 340000 บาท (งบประมาณภายในสถาบัน)
กำหนดแผนการปลูกและดูแลรักษา สายพันธุ์ที่เหมาะสมในพื้นที่ชุมชนและฤดูกาล เพื่อการผลิตจำหน่าย สามารถเป็นวิทยากรชุมชนถ่ายทอดความรู้ ให้แก่เกษตรกรในชุมชน กลุ่มผู้ปลูกผักปลอดภัย ตำบลแม่แฝก 29/09/2564- 29/09/2564
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. เทิดศักดิ์ โทณลักษณ์(40)
อาจารย์ ดร. แสงเดือน อินชนบท(15)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. กาญจนา นาคประสม(15)
ดร. นรินทร์ ท้าวแก่นจันทร์(15)
รองศาสตราจารย์ ดร. วีณา นิลวงศ์(15)
2562  : 340000 บาท (งบประมาณภายในสถาบัน)
ถ่ายทอดเทคโนโลยีและองค์ความรู้การจัดการพื้นที่การผลิตกระชายดำในระบบเกษตรอินทรีย์ ให้กับวิสาหกิจชุมชนกลุ่มเกษตรอินทรีย์ตำบลวอแก้ว และทางกลุ่มฯ ได้ทราบถึงศักยภาพการให้ผลิตกระชายดำอินทรีย์ในพื้นที่ สำหรับใช้เป็นแนวทางในการวางแผนขยายพื้นที่ปลูกกระชายดำอินทรีย์ของกลุ่มฯ เกษตรกรกลุ่มวิสาหกิชุมชน ตำบลวอแก้ว 01/09/2564- 30/09/2565
OT-62-002 : บทบาทของผู้นำครัวเรือนเกษตรกรในการจัดการเพื่อรับมือกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศในเขตพื้นที่จังหวัดลำพูน
รองศาสตราจารย์ ดร. พุฒิสรรค์ เครือคำ(70)
2562  : 0 บาท (ทุนส่วนตัว)
นำเสนอบทบาทของผู้นำครัวเรือนต่อการรองรับการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศและพื้นที่ในชุมชน การสำรวจข้อมูลและนำข้อมูลที่ได้วางแผนงานส่งเสริมการการปรับตัวของคนในชุมชน นายเฉลิมชัย ปันทิพย์ ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน ม.9 ต.แม่แฝก อ.สันทราย จ.เชียงใหม่ 01/10/2562- 30/09/2569 นำข้อมูลที่ได้รับมาวางแผนการปรับตัวกับการเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อม
สกว.-61-016 : การพัฒนาต้นแบบระบบปิดและระบบ ioT เพื่อผลิตสตรอเบอร์รี่ภายใต้แสงไฟเทียทในตู้คอนเทรเนอร์
รองศาสตราจารย์ ดร. สิริวัฒน์ สาครวาสี(100)
2561  : 3689500 บาท (งบประมาณภายนอกสถาบัน)
ลงนามอนุญาตให้ใช้สิทธิในผลงานวิจัยและนำเสนองานวิจัยเด่น"Maejo Licensing and Pitching Day 2021 เรื่อง “ระบบโรงงานพืชเพื่อการปลูกสตรอเบอร์รี่”ระหว่าง มหาวิทยาลัยแม่โจ้ กับบริษัท ชีวิค มีเดีย จำกัด บริษัท ชีวิค มีเดีย จำกัด 10/03/2565- 10/03/2570
สวทช.(น)-61-002 : การพัฒนาชุดประเมินคุณภาพแบบพกพา(Test kit) โดยวิธีวิเคราะห์ Permanganate Oxidizable Carbon
รองศาสตราจารย์ ดร. ศุภธิดา อ่ำทอง(100)
2561  : 100000 บาท (งบประมาณภายนอกสถาบัน)
เกษตรกร เจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตร สามารถนำผลการวิเคราะห์ดินของพื้นที่ต่างๆ มาคำนวณ ปริมาณปุ๋ยให้เหมาะสมกับระดับธาตุอาหารในดินของแต่ละพื้นที่ และพื้นแต่ละชนิด เกษตรกรผู้สนใจทั่วไป 01/10/2564- 31/12/2565
มจ.1-61-034 : การจัดการความรู้ด้านการดำเนินงานเพื่อพัฒนาศักยภาพเครือข่ายวิสาหกิจชุมชน จังหวัดเชียงใหม่
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. กังสดาล กนกหงษ์(40)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. พหล ศักดิ์คะทัศน์(20)
รองศาสตราจารย์ ดร. พุฒิสรรค์ เครือคำ(20)
รองศาสตราจารย์ ดร. สายสกุล ฟองมูล(20)
2561  : 271400 บาท (งบประมาณภายในสถาบัน)
การใช้ข้อมูล เพื่อการวางแผนบริหารจัดการ พืชในท้องถิ่น มีการส่งเสริมพืชผักสวนครัวและพืชสมุนไพร เพื่อจำหน่ายสร้างรายได้ครัวเรือน พัฒนาเกกษตรกรตัวอย่างพื้นที่สำหรับถ่ายทอดองค์ความรู้ให้แก่เพื่อนเกษตรกร มีการพัฒนาเครือข่ายเกษตรกร กระบวนการสร้างการมีส่วนร่วมของคนนชุมขน ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 3 ต.แม่แฝก อ.สันทราย จ.เชียงใหม่ 29/09/2564- 29/09/2564
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. กังสดาล กนกหงษ์(40)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. พหล ศักดิ์คะทัศน์(20)
รองศาสตราจารย์ ดร. พุฒิสรรค์ เครือคำ(20)
รองศาสตราจารย์ ดร. สายสกุล ฟองมูล(20)
2561  : 271400 บาท (งบประมาณภายในสถาบัน)
การถ่ายทอดองค์ความรู้ด้านผลิต แปรูปสมุนไพรให้แก่สมาชิกกลุ่ม ถ่ายทอดการเพิ่มช่องทางการจำหน่ายด้วยระบบออนไลน์ สร้างความเข้มแข็งให้แ่กลุ่มวิสาสหกิจ กลุ่มวิสาหกิจชุมชนแรรูปสมุนไพร 01/06/2565- 30/10/2565
มจ.1-61-031 : การพัฒนารูปแบบการส่งเสริมแบบมีส่วนร่วมของกลุ่มเกษตรกรในการปลูกพืชสวนครัวพื้นบ้านล้านนา ในพื้นที่อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่
รองศาสตราจารย์ ดร. พุฒิสรรค์ เครือคำ(55)
รองศาสตราจารย์ ดร. สายสกุล ฟองมูล(15)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. กังสดาล กนกหงษ์(15)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. พหล ศักดิ์คะทัศน์(15)
2561  : 146400 บาท (งบประมาณภายในสถาบัน)
การใช้ข้อมูล เพื่อการวางแผนบริหารจัดการ พืชในท้องถิ่น มีการส่งเสริมพืชผักสวนครัวและพืชสมุนไพร เพื่อจำหน่ายสร้างรายได้ครัวเรือน พัฒนาเกกษตรกรตัวอย่างพื้นที่สำหรับถ่ายทอดองค์ความรู้ให้แก่เพื่อนเกษตรกร มีการพัฒนาเครือข่ายเกษตรกร กระบวนการสร้างการมีส่วนร่วมของคนนชุมขน ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 3 ต.แม่แฝก อ.สันทราย จ.เชียงใหม่ 29/09/2564- 29/09/2564
รองศาสตราจารย์ ดร. พุฒิสรรค์ เครือคำ(55)
รองศาสตราจารย์ ดร. สายสกุล ฟองมูล(15)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. กังสดาล กนกหงษ์(15)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. พหล ศักดิ์คะทัศน์(15)
2561  : 146400 บาท (งบประมาณภายในสถาบัน)
การถ่ายทอดเทคนิค และพัฒนาการมีส่วนร่วมของกลุ่มเพื่อการผลิตปุ๋ยลอดภัย จากเศษวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตร ใบไม้ในพื้นที่ชุมชน เพื่อนำมาใช้การปลูกพืชผักสวนครัว ลดรายจ่ายในครัวเรือน และการดูแลสุขภาพคนในชุมชนด้วยผักปลอดภัย กลุ่มเกษตรกรในพื้นที่ตำบลเหมืองแก้ว 01/06/2565- 30/10/2565
รองศาสตราจารย์ ดร. พุฒิสรรค์ เครือคำ(55)
รองศาสตราจารย์ ดร. สายสกุล ฟองมูล(15)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. กังสดาล กนกหงษ์(15)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. พหล ศักดิ์คะทัศน์(15)
2561  : 146400 บาท (งบประมาณภายในสถาบัน)
สร้างการมีส่วนร่วมของคนในชุมชนในการดำเนินกิจกรรมต่างๆ การนำผลงานวิจัยไปต่อยอดในเชิงชุมชน และลดรายจ่ายในครัวเรือน ข้อมูลพื้นฐานสำหรับการส่งเสริมเกษตรกรในพื้นที่ ผู้ใหญ่บ้าน ม.3 ตำบลแม่แฝก อ.สันทราย จ.เชียงใหม่ 30/09/2563- 30/09/2569 สร้างกระบวนการมีส่วนร่วม สร้างสัมพันธ์อันดีระหว่างคนในชุมชน ข้อมูลประกอบการบริหารการจัดการมีส่วร่วมของคนในชุมชน
มจ.2-58-117 : การศึกษาศักยภาพพันธุ์พืชพื้นเมือง: การพัมนาสู่การทำต้นกล้างอกเชิงการค้า
อาจารย์ ทวีป เสนคำวงศ์(100)
2558  : 50000 บาท (งบประมาณภายในสถาบัน)
สาขาวิชาพืชผักจัดบรรยาย หัวข้อ "การเพาะกล้าผัก"และ "การเพาะผักงอกแบบมืออาชีพ" โดยอาจารย์ ทวีป เสนคำวงศ์ สังกัดสาขาวิชาพืชสวน โดยจะมีการเผยแพร่ระบบออนไลน์ในวันที่ 26 และ วันที่ 28 ธันวาคม 2564 เพื่อร่วมฉลองครบรอบ 45 ปี คณะผลิตกรรมการเกษตร ให้แก่เกษตรกร ผู้สนใจทั่วไป เพื่อสร้างรายได้เสริม ในช่วงวิกฤตการณ์โรคระบาดโควิด 19 ได้นำองค์ความรู้ถ่ายทอดผ่านระบบ online https://www.youtube.com/watch?v=h3S9Dqtdvk8 เกษตรกรผู้สนใจทั่วไป 01/11/2564- 30/09/2565
สวก.-60-004 : การพัฒนาพันธุ์ปทุมมาลูกผสมข้ามชนิดเพื่อการค้า
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. เฉลิมศรี นนทสวัสดิ์ศรี(80)
อาจารย์ ดร. ประนอม ยังคำมั่น(10)
2560  : 1655500 บาท (งบประมาณภายนอกสถาบัน)
นำเทคโนโลยีจากงานวิจัยเพื่อเพาะพันธุ์ กล้าไม้ดอกไม้ประดับเพื่อจำหน่ายในประเทศและต่างประเทศเพื่อการส่งออก สำนักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (องค์กรมหาชน) 09/05/2561- 09/05/2561 1. งานวิจัยที่ได้รับการสนับสนุนจากแหล่งทุนภายนอก 2. ผลจากงานวิจัยสามารถจดทะเบียนพันธุ์และรับรองพันธุ์พืช 3. ผลจากงานวิจัยสามารถจำหน่ายให้แก่หน่วยงานภายนอก ก่อให้เกิดรายได้ต่อหน่วยงาน 4. ผลงานสร้างขื่อเสียงให้แก่มหาวิทยาลัย
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. เฉลิมศรี นนทสวัสดิ์ศรี(80)
อาจารย์ ดร. ประนอม ยังคำมั่น(10)
2560  : 1655500 บาท (งบประมาณภายนอกสถาบัน)
แสดงเจตจำนงขอรับอนุญาตให้ใช้สิทธิผลงานวิจัย ปทุมมา จำนวน 10 สายพันธ์ุ รูปแบบการอนุญาตให้ใช้สิทธิแต่เพียงผู้เดียวทั้งในประเทศและต่างประเทศ เป็นระยะเวลา 10 ปี บริษัทสดใส ล้านนาจำกัด 25/11/2564- 25/11/2575
RPF-49-012 : การผลิตปุ๋ยหมักมูลไส้เดือนดินจากวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตรและวัสดุอินทรีย์จากชุมชนสำหรับส่งเสริมเกษตรกรอินทรีย์ในพื้นที่สูงของมูลนิธิโครงการหลวง
ศาสตราจารย์ ดร. อานัฐ ตันโช(100)
2549  : 307500 บาท (งบประมาณภายนอกสถาบัน)
เป็นแหล่งศึกษาดูงานเผยแพร่องค์ความรู้ให้แก่เกษตรกร ทำให้ลดการใช้ปุ๋ยเคมี ผลผลิตปลอดภัยจากสารเคมี ลดต้นทุนการผลิต ไส้เดือนดินสามารถนำมาเป็นอาหารสัตว์ กองทุนปุ๋ยอินทรีย์และไฮโดรโพนิคส์มูลนิธิโครงการหลวง 03/10/2565- 31/12/2566 ศักยภาพกำจัดขยะอินทรีย์ในอัตราไม่น้อยกว่า 18,000 ตัน/ปี และผลิตปุ๋ยมูลไส้เดือนดินและน้ำหมักมูลไส้เดือนรวมไม่น้อยกว่า 360 ตัน/ปี ซึ่งทางกองทุนปุ๋ยอินทรีย์และไฮโดรโพนิคส์ได้พัฒนาผลิตภัณฑ์จากมูลไส้เดือนดินและน้ำหมักมูลไส้เดือนดิน เพื่อเป็นสินค้าของกองทุนฯ สำหรับจำหน่าย ณ ร้านโครงการหลวงสาขาตลาดคำเที่ยง และร้านโครงการหลวงสาขาอื่น ๆ อีกด้วย ซึ่งก่อให้เกิดรายได้แก่กองทุนฯ และได้รับคำแนะนำจาก ศาสตราจารย์ ดร.อานัฐ ตันโช ในขบวนการผลิตเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของสินค้าให้มีคุณภาพ
มจ.1-53-037/54-015 : การรวบรวมและศึกษาลักษณะประจำพันธุ์ของแตงไทยในเขต ภาคเหนือตอนบนของประเทศไทย
อาจารย์ ดร. แสงเดือน อินชนบท(95)
2554  : 265000 บาท (งบประมาณภายในสถาบัน)
กำหนดแผนการปลูกและดูแลรักษา สายพันธุ์ที่เหมาะสมในพื้นที่ชุมชนและฤดูกาล เพื่อการผลิตจำหน่าย สามารถเป็นวิทยากรชุมชนถ่ายทอดความรู้ ให้แก่เกษตรกรในชุมชน กลุ่มผู้ปลูกผักปลอดภัย ตำบลแม่แฝก 01/10/2563- 31/12/2565
มจ.1-53-037 : การรวบรวมและศึกษาลักษณะประจำพันธุ์ของแตงไทยในเขตภาคเหนือตอนบนของประเทศไทย
อาจารย์ ดร. แสงเดือน อินชนบท(80)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดำเกิง ป้องพาล(10)
นาย ปรีชา รัตนัง(10)
2553  : 180000 บาท (งบประมาณภายในสถาบัน)
กำหนดแผนการปลูกและดูแลรักษา สายพันธุ์ที่เหมาะสมในพื้นที่ชุมชนและฤดูกาล เพื่อการผลิตจำหน่าย สามารถเป็นวิทยากรชุมชนถ่ายทอดความรู้ ให้แก่เกษตรกรในชุมชน กลุ่มผู้ปลูกผักปลอดภัย ตำบลแม่แฝก 01/10/2563- 31/12/2565
คณะพัฒนาการท่องเที่ยว
มจ.1-62-01-002.7 : การยกระดับสินค้าและบริการในธุรกิจร้านอาหารด้วยอณูศิลปวิทยาการ: กรณีศึกษาร้านอาหาร Medium Rare จ. เชียงใหม่
อาจารย์ ดร. มนสิชา อินทจักร(20)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ชุติมา คงจรูญ(30)
อาจารย์ ดร. วลัยลดา ถาวรมงคลกิจ(20)
2562  : 283200 บาท (งบประมาณภายในสถาบัน)
การนำนวัตกรรมไปใช้ในการเชื่อมโยงองค์ความรู้และภูมิปัญญาจากผลงานวิจัย ให้สามารถนำไปต่อยอดและขยายผลให้เกิดประโยชน์ได้อย่าง เป็นรูปธรรมโดยผ่านช่องทางการอนุญาตให้ใช้สิทธิในผลงานวิจัย สาหกิจชุมชนวนเกษตรอินทรีย์เชียงราย 01/10/2564- 30/09/2565
สพภ.-57-002 : การสร้างต้นแบบ Best Practice ธุรกิจสปาโดยใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น(แบบล้านนา) ภายใต้กิจกรรมสร้างต้นแบบ Best Practice ธุรกิจสปาโดยใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น จังหวัดเชียงราย
อาจารย์ ดร. ปานแพร เชาวน์ประยูร อุดมรักษาทรัพย์(30)
รองศาสตราจารย์ ดร. เฉลิมชัย ปัญญาดี(20)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ทัดพงศ์ อวิโรธนานนท์(20)
2557  : 896000 บาท (งบประมาณภายนอกสถาบัน)
ผลจากการนำไปใช้ประโยชน์หรือแก้ปัญหา : ได้นำต้นแบบการประกอบธุรกิจสปาโดยใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นมาปรับใช้กับพื้นที่และได้ดำเนินการจัดตั้งกลุ่มวิสาหกิจชุมชนท่องเที่ยวหมู่บ้านแม่ตะมาน โดยได้มีการนำเอารูปแบบสปามาใช้ในการสร้างรายได้ให้กับกลุ่มและสมาชิกในกลุ่ม มูลค่าทางเศรษฐกิจที่ได้ : ชุมชนมีแผนในการนำรูปแบบการประกอบธรกิจสปามาประยุกต์ใช้กับบ่อน้ำร้อนบ้านแม่ตะมานซึ่งอยู่ในพื้นที่ คาดว่าจะมีรายได้เมื่อมีการเปิดรับนักท่องเที่ยวภายหลังจากสถานการณ์โควิดดีขึ้น ตำบลกื๊ดช้าง อำเภอแม่แตง จังหวัดเชียงใหม่ 15/06/2564- 28/06/2565
คณะวิทยาศาสตร์
วท.64-001 : กระบวนการสร้างผลิตภัณฑ์อัพไซเคิลจากของเหลือใช้ชุมชน
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. นภัสถ์ จันทร์มี(40)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ศุภรัตน์ นาคสิทธิพันธุ์(30)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. โชคชัย ยาทองไชย(30)
2564  : 0 บาท (งบประมาณภายนอกสถาบัน)
- กลุ่มสตรี แม่บ้านมีโอกาสด้านรายได้จากการขาย หรือรายได้จากการจัด Workshop - ลดภาระในการจัดเก็บ ขน และกำจัดมูลฝอยทั่วไป ตามประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่องการจัดการมูลฝอย พ.ศ. 2560 และ ข้อกำหนดของราชการท้องถิ่นและกฎหมายว่าด้วยการสาธารณสุข สำนักงานเทศบาลตำบลทาทุ่งหลวง 18/08/2564- 18/08/2564
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. นภัสถ์ จันทร์มี(40)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ศุภรัตน์ นาคสิทธิพันธุ์(30)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. โชคชัย ยาทองไชย(30)
2564  : 0 บาท (งบประมาณภายนอกสถาบัน)
ร่วมกันพัฒนาผลิตภัณฑ์ไม้แกะสลักและส่งเสริมการขายผ่านการประชาสัมพันธ์ในรูปแบบสื่อออนไลน์ ร้านชุติมาแอนติค 05/09/2565- 05/09/2565 มีการเข้าถึงช่องทางการขายจากสื่อประชาสัมพันธ์ สินค้าเริ่มขายได้และมีผู้สนใจติดต่อเข้ามาเรื่อยๆ เป็นโอกาสก่อให้เกิดรายได้
บริษัท ฟาร์มโตะ (ไทยแลนด์) จำกัด-64-001 : การพัฒนางานวิจัยบรรจุภัณฑ์อาหารจากเส้นใยข้าวโพดเลี้ยงสัตว์
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ธวัฒน์ สร้อยทอง(30)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. สุพัตรา วงศ์แสนใหม่(30)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ปราณรวีร์ สุขันธ์(10)
อาจารย์ ดร. เนตราพร ด้วงสง(10)
รองศาสตราจารย์ ดร. ดวงพร อมรเลิศพิศาล(10)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. เรวดี วงศ์มณีรุ่ง(10)
2564  : 600000 บาท (งบประมาณภายนอกสถาบัน)
วิสาหกิจชุมชนปลูกและแปรรูปพืชผักปลอดสารพิษเม้าท์ศิโยน 01/01/2565- 31/03/2565 สามารถใช้บรรจุภัณฑ์อาหารจากต้นกล้วยทดแทนชามโฟมและพลาสติก ในการจัดประชุมสัมมนา และจัดงานเลี้ยงของชุมชน
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ธวัฒน์ สร้อยทอง(30)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. สุพัตรา วงศ์แสนใหม่(30)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ปราณรวีร์ สุขันธ์(10)
อาจารย์ ดร. เนตราพร ด้วงสง(10)
รองศาสตราจารย์ ดร. ดวงพร อมรเลิศพิศาล(10)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. เรวดี วงศ์มณีรุ่ง(10)
2564  : 600000 บาท (งบประมาณภายนอกสถาบัน)
เพื่อต่อยอดเป็นผลิตภัณฑ์เชิงพาณิชย์ในอนาคต บริษัท ฟาร์มโตะ (ไทยแลนด์) จำกัด 01/10/2565- 30/09/2566 ได้ผลิตภัณฑ์เพื่อนำไปต่อยอดเป็นผลิตภัณฑ์เพื่อสร้างรายได้ให้บริษัทในอนาคต
อพ.สธ.-64-006 : การบันทึกสายพันธุ์ของรวงผึ้งที่พบในเขตพื้นที่ภาคเหนือของประเทศไทย
อาจารย์ ดร. รัฐพร จันทร์เดช(50)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ปารวี กาญจนประโชติ(50)
2564  : 125000 บาท (งบประมาณภายนอกสถาบัน)
สามารถจำแนกสายพันธุ์ของมะปี๊ดให้ถูกต้องตามลักษณะพันธุกรรม วิสาหกิจชุมชนพัฒนาทรัพยากรชีวภาพตำบลวันยาว 01/10/2565- 30/09/2566 สามารถยืนยันความถูกต้องของสายพันธุ์มะปี๊ด เมื่อมีการแจกจ่ายหรือจำหน่ายต้นพันธุ์ต่อไป
มจ.2-64-053 : ระบบการจัดการข้อมูลเพื่อประชาสัมพันธ์และกิจกรรมทางการศึกษามนุษยปรัชญาปฐมวัย
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ก่องกาญจน์ ดุลยไชย(100)
2564  : 6000 บาท (งบประมาณภายในสถาบัน)
เป็นเว็บไซต์เผยแพร่ข้อมูลของหน่วยงานให้เป็นที่รู้จัก ศูนย์การเรียนฮอมขวัญ สำนักงานเขจพื้นที่การศึกษาเชียงใหม่เขต 2 01/10/2564- 30/09/2565 เผยแพร่แนวทางการศึกษาแบบมนุษย์ปรัชญาในประเทศไทยได้กว้างขางมากขึ้น
อพ.สธ.-64-001 : การศึกษาข้อมูลทางพฤกษศาสตร์ พันธุกรรมและองค์ประกอบทางพฤกษเคมีของรวงผึ้งเพื่อประโยชน์ทางการอนุรักษ์
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ปารวี กาญจนประโชติ(100)
2564  : 475000 บาท (งบประมาณภายนอกสถาบัน)
นำงานวิจัยนำไปใช้ในการเลือกพัฒนาผลิตภัณฑ์ให้เกิดคุณค่าสูงสุด วิสาหกิจชุมชนพัฒนาทรัพยากรชีวภาพตำบลวันยาว อ.ขลุง จ.จันทบุรี 01/10/2565- 30/09/2566 สามารถเลือกใช้ส่วนต่างๆของมะปี๊ดไปใช้ประโยชน์ในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ต่างๆ เช่น ชามะปี๊ด น้ำมะปี๊ด รวมไปถึงการนำไปพัฒนาผลิตภัณฑ์ในดลุ่มเครื่องสำอาง เช่น โลชั่นกันยุง เป็นต้น
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ปารวี กาญจนประโชติ(100)
2564  : 475000 บาท (งบประมาณภายนอกสถาบัน)
ทราบองค์ประกอบของส่วนต่างๆของมะปี๊ดในแต่ละพันธุ์ เพื่อนำไปใช้ในการเลือกพัฒนาผลิตภัณฑ์ให้เกิดคุณค่าสูงสุด วิสาหกิจชุมชนพัฒนาทรัพยากรชีวภาพตำบลวันยาว 01/10/2565- 30/09/2566 สามารถเลือกใช้ส่วนต่างๆของมะปี๊ดไปใช้ประโยชน์ในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ต่างๆ เช่น ชามะปี๊ด น้ำมะปี๊ด รวมไปถึงการนำไปพัฒนาผลิตภัณฑ์ในดลุ่มเครื่องสำอาง เช่น โลชั่นกันยุง เป็นต้น
มจ.1-64-002.1 : การพัฒนาผลิตภัณฑ์ด้านเภสัชกรรมจากสมุนไพรพื้นบ้านภาคเหนือมะแขว่น
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ฉันทนา ซูแสวงทรัพย์(25)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ธีระพล เสนพันธุ์(22)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ว่าที่ร้อยตรี ดร. ธนากร ลัทธิ์ถีระสุวรรณ(10)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. สถาพร แสงสุโพธิ์(8)
รองศาสตราจารย์ ดร. เพิ่มศักดิ์ ศิริวรรณ(5)
2564  : 2500000 บาท (งบประมาณภายในสถาบัน)
นำความรู้จากการสกัดน้ำมันหอมระเหยของสมุนไพร ไปทำ น้ำสมุนไพรมะแขว่นเพื่อสุขภาพ และสร้างเป็นผลิตภัณฑ์สินค้าในวิสาหกิจชุมชนเกษตรสุขภาพครบวงจร บ้านดงเจริญชัย เพื่อนำไปใช้ในการดูแลสุขภาพและสร้างรายได้ให้กับชุมชน วิสาหกิจชุมชนเกษตรสุขภาพครบวงจร บ้านดงเจริญชัย 01/10/2564- 30/09/2565
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ฉันทนา ซูแสวงทรัพย์(25)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ธีระพล เสนพันธุ์(22)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ว่าที่ร้อยตรี ดร. ธนากร ลัทธิ์ถีระสุวรรณ(10)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. สถาพร แสงสุโพธิ์(8)
รองศาสตราจารย์ ดร. เพิ่มศักดิ์ ศิริวรรณ(5)
2564  : 2500000 บาท (งบประมาณภายในสถาบัน)
สารสกัดมะแขว่นและสารสกัดใบเมี่ยงที่สกัดด้วยเทคนิคไมโครเวฟ ด้วยน้ำนำมาใช้เป็นส่วนผสมในผลิตภัณฑ์ ร่วมพัฒนาตำรับสเปย์ระงับกลิ่นปากใบเมี่ยงและเซรัมบำรุงผิวหน้ามะแขว่นโดยการใช้องค์ความรู้และตำรับจากงานวิจัยนำไปปรับปรุงและพัฒนาต่อยอด บริษัท ซี แอนด์ เค คอสเมติก จำกัด 01/10/2564- 30/09/2565 ได้นำสารสกัดจากใบเมี่ยงไปใช้ผสมในสเปรย์ระงับกลิ่นปากและเซรัมบำรุงผิวหน้า ได้ผลอตสเปรย์ระงับกลิ่นปาก 300 ขวด จำหน่ายขวดละ 550 บาท และเซรั่มบำรุงผิวหน้า 300 ขวด จำหน่ายขวดละ 250 บาท
มจ.1-64-002 : การเพิ่มมูลค่าสมุนไพรพื้นบ้านภาคเหนือมะแขว่นสู่พืชเศรษฐกิจและการพัฒนาผลิตภัณฑ์ทางเภสัชกรรม
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ธีระพล เสนพันธุ์(10)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ อัชญา ไพคำนาม(10)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ฉันทนา ซูแสวงทรัพย์(10)
2564  : 3600000 บาท (งบประมาณภายในสถาบัน)
ร่วมพัฒนาตำรับสบู่มะแข่วนสำหรับลดการเกิดสิวและซีรัมบำรุงผิวหน้ามะแขว่นโดยการใช้องค์ความรู้และตำรับจากงานวิจัย บริษัท บัวรดา จำกัด 01/01/2564- 15/06/2565 ได้นำสารสกัดมะแขว่นไปใช้ผสมในสบู่มะแข่วนลดการเกิดสิวและซีรัมบำรุงผิวหน้ามะแขว่น อยู่ระหว่างการพัฒนาตำรับสบู่มะแขว่นสำหรับลดการเกิดสิว และได้ผลิตซีรัมบำรุงผิวหน้ามะแขว่น 300 ขวด จำหน่ายขวดละ 350 บาท
มจ.2-63-043 : การพัฒนากระบวนการตรวจสอบลักษณะทางสัณฐานวิทยาและพันธุกรรมของสตรอเบอรี่พันธุ์การค้า
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ปารวี กาญจนประโชติ(60)
ดร. ณิชมน ธรรมรักษ์(40)
2563  : 10000 บาท (งบประมาณภายในสถาบัน)
ใช้ในการตรวจสอบสายพันธุ์มะปี๊ดในแปลงรวบรวมพันธุ์ ของวิสาหกิจชุมชน วิสาหกิจชุมชนพัฒนาทรัพยากรชีวภาพตำบลวันยาว 01/10/2565- 30/09/2566 สามารถจำแนกพันธุ์ของมะปี๊ดที่รวบรวมไว้ให้ถูกต้อง และสามารถยืนยันพันธุ์เมื่อมีการแจกจ่ายหรือจำหน่ายให้ถูกต้อง
มจ.1-63-01-001 : การพัฒนาฟาร์มต้นแบบเกษตรอัจฉริยะบนระบบไอโอที ของการเลี้ยงปลากะพงขาวความหนาแน่นสูงในระบบปิดให้เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมและยั่งยืน
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. สายัณห์ อุ่นนันกาศ(50)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. จอมสุดา ดวงวงษา(40)
2563  : 1200000 บาท (งบประมาณภายในสถาบัน)
1. ใช้ในการแจ้งเตือนข้อมูลคุณภาพน้ำ ร่วมกับการจัดการในการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ 2. สามารถประหยัดเวลาในการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ 3. สามารถทราบผลคุณภาพน้ำได้ตลอดเวลา 4. สามารถบริหารจัดการในการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำได้อย่างตรงจุด 5. สามารถนำแนวทางในการวิจัยนี้เป็นทางประกอบในการตัดสินใจลงทุนเพาะเลี้ยงปลาชะโอน ในระบบน้ำหมุนเวียนแบบปิดขนาดเล็ก เพื่อเข้าสู่ภาคธุรกิจการค้าต่อไป 6. เป็นการยกระดับความสามารถในการบริหารจัดการ และกลยุทธ์ทางการตลาดในการเพาะเลี้ยงปลาชะโอนของเกษตรกรผู้เพาะเลี้ยงปลาชะโอน วิสาหกิจชุมชนผู้เพาะเลี้ยง และการแปรรูปสัตว์น้ำ ต.หารแก้ว อ.หางดง จ.เชียงใหม่ 13/01/2565- 05/10/2565
มจ.1-63-03-002 : การบำบัดน้ำเสียจากอุตสาหกรรมการผลิตผ้าหม้อห้อมด้วยการใช้เชื้อจุลินทรีย์ผสม
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. วุฒิกานต์ ปุระพรหม(50)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ศิราภรณ์ ชื่นบาล(40)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ฐปน ชื่นบาล(10)
2563  : 350000 บาท (งบประมาณภายในสถาบัน)
การนำจุลินทรีย์ซึ่งใช้งานในวิจัยไปประยุกต์ใช้ร่วมกับการบำบัดของเสียที่เกิดขึ้นในกระบวนการผลิต พบว่าสามารถบำบัดของเสีย / น้ำเสียที่เกิดขึ้นจากกระบวนการผลิตได้อย่างมีประสิทธิภาพ บริษัท YELLOW BEAN COFFEE 01/10/2564- 30/09/2565 ระบบบำบัดน้ำเสียของโรงงานไม่มีกลิ่นรบกวนและน้ำเสียที่ผ่านการบำบัดสามารถนำไปรดน้ำต้นไม้ได้ ลดค่าใช้จ่ายในการบำบัดน้ำเสียจากกระบวนการผลิต
มจ.2-62-091 : โครงการใช้จุลินทรีย์เพื่อลดกลิ่นเหม็นของบ่อขยะ บริเวณชุมชนบ้านโปง
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ฐปน ชื่นบาล(50)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ภานุวัฒน์ เมฆะ(30)
น.ส. อาษิรญา อินทนนท์(20)
2562  : 5000 บาท (งบประมาณภายในสถาบัน)
- โครงการพัฒนาดอยตุงฯ สามารถใช้จุลินทรีย์ไปใช้ในการกำจัดกลิ่นห้องน้ำภายในพื้นที่โครงการฯ ได้อย่างดีและมีประสิทธิภาพ - ชุมชนโดยรอบสามารถนำจุลินทรีย์ไปใประโยชน์เพื่อดับกลิ่นห้องน้ำภายในครัวเรือน โครงการพัฒนาดอยตุงฯ 01/10/2564- 30/09/2565
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ฐปน ชื่นบาล(50)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ภานุวัฒน์ เมฆะ(30)
น.ส. อาษิรญา อินทนนท์(20)
2562  : 5000 บาท (งบประมาณภายในสถาบัน)
นำจุลินทรีย์ผสมไปใช้ในการบำบัดน้ำเสียจากกระบวนการผลิตกาแฟ โรงงาน YELLOW BEAN COFFEE 01/10/2565- 30/09/2566 ระบบบำบัดน้ำเสียของโรงงานไม่มีกลิ่นรบกวนและน้ำเสียที่ผ่านการบำบัดสามารถนำไปรดน้ำต้นไม้ ชุมชนโดยรอบสามารถนำจุลินทรีย์ไปใช้ประโยชน์ในครัวเรือน ลดค่าใช้จ่ายในการบำบัดน้ำเสียจากกระบวนการผลิตได้มากกว่าร้อยละ 30
สอวช.-62-002 : การพัฒนากระบวนการผลิตสิ่งทอด้วยไมโครแคปซูลกลิ่นหอมและต้านเชื้อแบคทีเรียด้วยสารสกัดธรรมชาติ
รองศาสตราจารย์ ดร. อรุณี คงดี อัลเดรด(100)
2562  : 359200 บาท (งบประมาณภายนอกสถาบัน)
ผลจากการนำไปใช้ประโยชน์หรือแก้ปัญหา - สามารถเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์ด้วยการเพิ่มเติมคุณสมบัติพิเศษของผลิตภัณฑ์สิ่งทอโดยใช้กระบวนการตกแต่งสำเร็จด้วยไมโครแคปซูล มูลค่าทางเศรษฐกิจที่ได้ - สร้างมูลค่าเพิ่มให้แก่สินค้าของบริษัทได้เพิ่มขึ้นประมาณ 10-15% ต่อชิ้น - สามารถนำความรู้และเทคโนโลยีดังกล่าวไปประยุกต์ใช้ในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ได้เพิ่มมากขึ้น บริษัท วรณ์อีโคครีเอชัน จำกัด 01/10/2563- 30/09/2564
รองศาสตราจารย์ ดร. อรุณี คงดี อัลเดรด(100)
2562  : 359200 บาท (งบประมาณภายนอกสถาบัน)
เพื่อหาแนวทางการเพิ่มคุณภาพผลิตภัณฑ์ผ้าฝ้ายพื้นเมือง เพื่อหาแนวทางในการใช้สารเคมีที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม เพื่อได้แนวทางการพัฒนาผลิตภัณฑ์สิ่งทอให้มีมูลค่าเพิ่มด้วยการวิจัยและพัฒนา กลุ่มพัฒนาอาชีพผ้าฝ้ายอำพัน 01/10/2564- 30/09/2565 ทางกลุ่มได้ผลิตภัณฑ์ใหม่ที่สามารถแข่งขันกับชุมชนอื่นหรือกลุ่มอาชีพอื่นได้ มีรายได้เพิ่มขึ้นจากการจำหน่ายผลิตภัณฑ์สิ่งทอพื้นเมือง ได้ถึง 70% คิดเป็นเงิน 5,000บาท/เดือน
อวน-บริษัทใบธง จำกัด-62-003 : การพัฒนาผลิตภัณฑ์หัวเชื้อจุลินทรีย์ในการผลิตปุ๋ยหมักเชิงพาณิชย์จากวัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตร
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ศิราภรณ์ ชื่นบาล(50)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ศรีกาญจนา คล้ายเรือง(35)
2562  : 300000 บาท (งบประมาณภายนอกสถาบัน)
นำจุลินทรีย์ผสมไปใช้ในการบำบัดน้ำเสียจากกระบวนการผลิตกาแฟของโรงงาน YELLOW BEAN COFFEE 01/10/2564- 30/09/2565 ชุมชนโดยรอบสามารถนำจุลินทรีย์ไปใช้ประโยชน์เพื่อดับกลิ่นห้องน้ำภายในครัวเรือน ระบบบำบัดน้ำเสียของโรงงานไม่มีกลิ่นรบกวนและน้ำเสียที่ผ่านการบำบัดสามารถนำไปใช้รดน้ำต้นไม้บริวณรอบโรงงาน ลดค่าใช้จ่ายในการบำบัดน้ำเสียจากกระบวนการผลิตได้มากกว่าร้อยละ 30
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ศิราภรณ์ ชื่นบาล(50)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ศรีกาญจนา คล้ายเรือง(35)
2562  : 300000 บาท (งบประมาณภายนอกสถาบัน)
พัฒนาผลิตภัณฑ์หัวเชื้อจุลินทรีย์จากวัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตร บริษัท ใบธง จำกัด 01/10/2565- 30/09/2566 เป็นจุลินทรีย์ชีวภาพเหมาะสำหรับเพิ่มความอุดมสมบูรณ์ของดิน และเป็นหัวเชื้อเร่งการย่อยสลายในการทำปุ๋ยหมัก เพิ่มธาตุอาหารแก่พืชจากกระบวนการย่อยสลาย ใช้ได้ผลดีกับนาข้าว พืชผัก ไม้ผล และไม้ดอกไม้ประดับทุกชนิด เสริมสร้างการเจริญเติบโต
อพ.สธ.-62-003 : การศึกษาความหลากหลายทางพันธุกรรมและปัจจัยการเจริญเติบโตของกล้วยไม้สมุนไพร นกคุ้มไฟ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. เยาวนิตย์ ธาราฉาย(50)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ทิพย์สุดา ตั้งตระกูล(20)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ปฏิภาณ สุทธิกุลบุตร(15)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. นฤมล เข็มกลัดเงิน(5)
นาย อดิศักดิ์ การพึ่งตน(5)
อาจารย์ วินัย แสงแก้ว(5)
2562  : 350000 บาท (งบประมาณภายนอกสถาบัน)
เพื่อเพาะขยายพันธุ์ให้มีจำนวนมากขึ้น ส่งเสริมให้มีการอนุรักษ์ในพื้นที่อย่างถูกต้องตามหลักวิชาการ วิสาหกิจชุมชนผู้เพาะเลี้ยง ฟ้ามุ๋ยปงไคร้ 13/06/2561- 30/09/2566 อนุรักษ์ต้นพ่อ แม่พันธุ์กล้วยไม้นกคุ้มไฟในพื้นที่ถิ่นที่อยู่เดิม
มจ.1-62-01-033.2 : การพัฒนากระบวนการผลิตน้ำเชื่อมฟรุกโตโอลิโกแซคคาไรด์เข้มข้นจากหัวหอมแขก (Allium cepa var. viviparum) ในระดับกึ่งอุตสาหกรรม
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ไพโรจน์ วงศ์พุทธิสิน(100)
2562  : 585000 บาท (งบประมาณภายในสถาบัน)
การนำนวัตกรรมไปใช้ในการ เชื่อมโยงองค์ความรู้และภูมิปัญญาจากผลงานวิจัย ให้สามารถนำไปต่อยอดและขยายผลให้เกิดประโยชน์ได้อย่าง เป็นรูปธรรมโดยผ่านช่องทางการอนุญาตให้ใช้สิทธิในผลงานวิจัย บริษัท สมาเฮลท์ตี้แคร์ จำกัด 01/10/2564- 30/09/2565
มจ.1-62-01-032.2 : ผลของปุ๋ยมูลสัตว์ต่อการเจริญเติบโต ปริมาณผลผลิต และปริมาณสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพบางชนิดของกระชายดำ
รองศาสตราจารย์ ดร. วีณา นิลวงศ์(50)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. เทิดศักดิ์ โทณลักษณ์(30)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ผานิตย์ นาขยัน(10)
2562  : 340000 บาท (งบประมาณภายในสถาบัน)
ถ่ายทอดเทคโนโลยีและองค์ความรู้การจัดการพื้นที่การผลิตกระชายดำในระบบเกษตรอินทรีย์ ให้กับวิสาหกิจชุมชนกลุ่มเกษตรอินทรีย์ตำบลวอแก้ว และทางกลุ่มฯ ได้ทราบถึงศักยภาพการให้ผลิตกระชายดำอินทรีย์ในพื้นที่ สำหรับใช้เป็นแนวทางในการวางแผนขยายพื้นที่ปลูกกระชายดำอินทรีย์ของกลุ่มฯ เกษตรกรกลุ่มวิสาหกิชุมชน ตำบลวอแก้ว 01/09/2564- 30/09/2565
มจ.1-62-01-032.1 : การเพาะเลี้ยงแคลคูลัสและการใช้รังสีแกมมาสำหรับชักนำให้เกิดความแปรปรวนทางพันธุกรรมในกระชายดำ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. เทิดศักดิ์ โทณลักษณ์(60)
อาจารย์ ดร. กิตติคุณ พระกระจ่าง(20)
อาจารย์ ดร. สุรีย์พร สราภิรมย์(10)
อาจารย์ ดร. แสงเดือน อินชนบท(10)
2562  : 340000 บาท (งบประมาณภายในสถาบัน)
ถ่ายทอดเทคโนโลยีและองค์ความรู้การจัดการพื้นที่การผลิตกระชายดำในระบบเกษตรอินทรีย์ ให้กับวิสาหกิจชุมชนกลุ่มเกษตรอินทรีย์ตำบลวอแก้ว และทางกลุ่มฯ ได้ทราบถึงศักยภาพการให้ผลิตกระชายดำอินทรีย์ในพื้นที่ สำหรับใช้เป็นแนวทางในการวางแผนขยายพื้นที่ปลูกกระชายดำอินทรีย์ของกลุ่มฯ เกษตรกรกลุ่มวิสาหกิชุมชน ตำบลวอแก้ว 01/09/2564- 30/09/2565
มจ.1-62-01-002.7 : การยกระดับสินค้าและบริการในธุรกิจร้านอาหารด้วยอณูศิลปวิทยาการ: กรณีศึกษาร้านอาหาร Medium Rare จ. เชียงใหม่
อาจารย์ ดร. มนสิชา อินทจักร(20)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ชุติมา คงจรูญ(30)
อาจารย์ ดร. วลัยลดา ถาวรมงคลกิจ(20)
2562  : 283200 บาท (งบประมาณภายในสถาบัน)
การนำนวัตกรรมไปใช้ในการเชื่อมโยงองค์ความรู้และภูมิปัญญาจากผลงานวิจัย ให้สามารถนำไปต่อยอดและขยายผลให้เกิดประโยชน์ได้อย่าง เป็นรูปธรรมโดยผ่านช่องทางการอนุญาตให้ใช้สิทธิในผลงานวิจัย สาหกิจชุมชนวนเกษตรอินทรีย์เชียงราย 01/10/2564- 30/09/2565
วช.-62-003 : การจัดการของเสียและกลิ่นจากการเลี้ยงสุกรเพื่อสร้างอาชีพในชุมชนอย่างยั่งยืนโดยใช้หลักการตามแนวทางปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดยการมีส่วนร่วมของชุมชนในเขตภาคเหนือตอนบน
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ศิราภรณ์ ชื่นบาล(40)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ฐปน ชื่นบาล(25)
2562  : 807000 บาท (งบประมาณภายนอกสถาบัน)
การนำจุลินทรีย์ Bacillus sp,(Mk-8) ซึ่งใช้งานในวิจัยไปประยุกต์ใช้ร่วมกับการบำบัดของเสียที่เกิดขึ้นในกระบวนการผลิต พบว่าสามารถบำบัดของเสีย / น้ำเสียที่เกิดขึ้นจากกระบวนการผลิตได้อย่างมีประสิทธิภาพ บริษัท YELLOW BEAN COFFEE 01/10/2564- 30/09/2565 ระบบบำบัดน้ำเสียของโรงงานไม่มีกลิ่นรบกวนและน้ำเสียที่ผ่านการบำบัดสามารถนำไปรดน้ำต้นไม้ได้
มจ.2-61-059 : การตั้งตำรับผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางจากสารสกัดสมุนไพร
รองศาสตราจารย์ ดร. ฐิติพรรณ ฉิมสุข(100)
2561  : 15000 บาท (งบประมาณภายในสถาบัน)
การพัฒนาผลิตภัณฑ์ตำรับผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางจากสารสกัดสมุนไพรรูปแบบสมุนไพรรักษาสิว ห้างหุ้นส่วนจำกัด รจ๋า คอนเนคชั่นส์ 01/10/2564- 30/09/2565 ได้ตำรับสูตรสบู่และต้นแบบผลิตภัณฑ์พร้อมจำหน่าย แบบกล่องบรรจุภัณฑ์
มจ.1-61-068 : วัสดุผสมระหว่างดินและน้ำยางคอมพาวนด์เสริมแรงด้วยเส้นใยคาร์บอน
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. นภัสถ์ จันทร์มี(50)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ฐิตินันท์ รัตนพรหม(30)
อาจารย์ ดร. สุภาพร ดาวทอง(20)
2561  : 272100 บาท (งบประมาณภายในสถาบัน)
โรงงานบ้านกระดาษ 10/03/2565- 30/09/2565 ได้ทางเลือกในการกำจัดเศษพอลิเมอร์เหลือทิ้งของโรงงานโดยการนำมาใช้เป็นวัสดุตั้งต้นในการทำแผ่นปูพื้น มีแนวทางเลือกในการกำจัดเศษพอลิเมอร์เหลือทิ้งของทางโรงงาน เพื่อหลีกเลี่ยงการเผาที่จะทำให้เกิดผลกระทบต่อสุขภาพของคนในพื้นที่
มจ.1-61-109 : การศึกษาความเป็นไปได้ของการบำบัดน้ำทิ้งจากฟาร์มสุกรด้วยพืชน้ำที่มีคุณค่าทางเศรษฐกิจ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ศิราภรณ์ ชื่นบาล(45)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ฐปน ชื่นบาล(35)
นาย พนมเทียน ทนคำดี(20)
2561  : 135600 บาท (งบประมาณภายในสถาบัน)
การนำจุลินทรีย์ Bacillus sp,(Mk-8) ซึ่งใช้งานในวิจัยไปประยุกต์ใช้ร่วมกับการบำบัดของเสียที่เกิดขึ้นในกระบวนการผลิต พบว่าสามารถบำบัดของเสีย / น้ำเสียที่เกิดขึ้นจากกระบวนการผลิตได้อย่างมีประสิทธิภาพ บริษัท YELLOW BEAN COFFEE 01/10/2564- 30/09/2565 ระบบบำบัดน้ำเสียของโรงงานไม่มีกลิ่นรบกวนและน้ำเสียที่ผ่านการบำบัดสามารถนำไปรดน้ำต้นไม้ได้
มจ.1-61-020 : การผลิตเอนไซม์ย่อยสลายลิกโนเซลลูโลสโดยแบคทีเรียที่อยู่ร่วมกับไลเคนเพื่อย่อยสลายวัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตร
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ฐปน ชื่นบาล(40)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ศิราภรณ์ ชื่นบาล(30)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ศรีกาญจนา คล้ายเรือง(30)
2561  : 246600 บาท (งบประมาณภายในสถาบัน)
ผลจากการนำไปใช้ประโยชน์หรือแก้ปัญหา - ระบบบำบัดน้ำเสียของโรงงานมีประสิทธิภาพ ไม่มีกลิ่นเหม็นรบกวนชุมชนโดยรอบ มูลค่าทางเศรษฐกิจที่ได้ - ลดค่าใช้จ่ายในการบำบัดน้ำเสียจากกระบวนการผลิตได้มากกว่าร้อยละ 30 บริษัท YELLOW BEAN COFFEE 01/10/2563- 30/09/2564
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ฐปน ชื่นบาล(40)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ศิราภรณ์ ชื่นบาล(30)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ศรีกาญจนา คล้ายเรือง(30)
2561  : 246600 บาท (งบประมาณภายในสถาบัน)
นำหัวเชื้อจุลินทรีย์ไปใช้ในการย่อยสลายพืชและวัสดุเหลือทิ้งในแปลงให้เป็นปุ๋ยหมักที่มีประสิทธิภาพ วิสาหกิจชุมชนแปลงใหญ่ลำไยตำบลหนองตอง 01/10/2564- 30/09/2565 สามารถใช้จุลินทรีย์ในการย่อยสลายวัชพืชและวัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตรให้เป็นปุ๋ยและวัสดุปลูก นำกลับมาใช้ในการเพาะปลูกแบบผสมผสานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ลดต้นทุนการผลิตลำไยทั้งในและนอกฤดูกาลได้มกกว่าร้อยละ 30
สวทช.(น)-59-001 : การปรับปรุงคุณภาพน้ำมันการเลี้ยงกุ้งก้ามกรามด้วยน้ำหมักมูลไส้เดือน
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ฐปน ชื่นบาล(100)
2559  : 200000 บาท (งบประมาณภายนอกสถาบัน)
พัฒนาระบบบำบัดน้ำเสียของชุมชน สามารถเปลี่ยนน้ำเสีย ให้สามารถนำกลับมาใช้ประโยชน์ เช่น การนำไปรดน้ำต้นไม้ วิสาหกิจชุมชนกลุ่มเกษตรทำสวนสะลวง 01/10/2565- 30/09/2566 ทำลายตัวการที่ทำให้เกิดโรค หรือแหล่งแพร่ระบาดของเชื้อโรค ช่วยเปลี่ยนสภาพน้ำเสียให้อยู่ในสภาพที่สามารถนำกลับมาใช้ได้ ไม่ก่อให้เกิดความเดือดร้อน ซึ่งผลกระทบที่เกิดขึ้น เช่น กลิ่น และสีของน้ำเสีย ป้องกันไม่ให้เกิดภาวะมลพิษทางน้ำ
มจ.2-59-100 : การขยายพันธุ์บุกโดยเทคนิคการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช
อาจารย์ ดร. รัฐพร จันทร์เดช(60)
ดร. ณิชมน ธรรมรักษ์(40)
2559  : 12000 บาท (งบประมาณภายในสถาบัน)
เพื่อขยายพันต้นบุก โดยใช้ชิ้นส่วนลำต้นในการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ สวนเกษตรนายเอ็ม 01/10/2565- 30/09/2566 สามารถขยายพันธุ์ต้นบุกได้อย่างมีประสิทธิภาพ ภายในระยะเวลาอันรวดเร็ว
วท.001-060 : การย่อยสลายสารไกลโฟเสตทางชีวภาพโดยแบคทีเรียแยกจากดินเกษตร
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ฐปน ชื่นบาล(100)
2557  : 0 บาท (งบประมาณภายในสถาบัน)
การนำจุลินทรีย์ที่คัดแยกได้จากงานวิจัยและมีการทดสอบประสิทธิภาพในระดับห้องปฏิบัติการไปประยุกต์ใช้ร่วมกับจุลินทรีย์ทางการเกษตรอื่นๆ เพื่อลดปริมาณสารไกลโฟเสตที่ตกค้างในดิน ซึ่งพบว่าสามารถฟื้นฟูดินได้อย่างมีประสิทธิภาพ หจก.ป.พุฒไก่สด 01/10/2563- 30/09/2564
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ฐปน ชื่นบาล(100)
2557  : 0 บาท (งบประมาณภายในสถาบัน)
นำจุลินทรีย์ที่คัดแยกได้จากงานวิจัยและมีการทดสอบประสิทธิภาพในระดับห้องปฏิบัติการไปประยุกต์ใช้ร่วมกับจุลินทรีย์ทางการเกษตรอื่นๆ เพื่อลดปริมาณสารไกลโฟเสตที่ตกค้างในดิน วิสาหกิจชุมชนกลุ่มเกษตรทำสวนสะลวง 01/10/2565- 30/09/2566 ช่วยรักษาสภาพแวดล้อม เนื่องจากไม่มีการใช้ปุ๋ยเคมีและสารเคมีทางการเกษตรทุกชนิด จึงไม่มีสารพิษตกค้างในสภาพแวดล้อม ช่วยปรับปรุงและพัฒนาดินให้มีความอุดมสมบูรณ์เหมาะสมต่อการเพาะปลูก จึงช่วยคุ้มครองพื้นที่ในการทำการเกษตร
เพ็ญศิริไหมไทย-58-001 : การผลิตเส้นไหมสีเดียวและเส้นไหมสีผสมจากเศษไหมเหลือทิ้ง
รองศาสตราจารย์ ดร. อรุณี คงดี อัลเดรด(100)
2558  : 94270 บาท (งบประมาณภายนอกสถาบัน)
ผลิตเส้นไหมจากเศษเส้นไหม ผลิตเส้นไหมสีเดียวและสีผสมจากเศษไหมสีต่างๆ หจก.เพ็ญศิริไหมไทย 01/10/2565- 30/09/2566 นำเส้นไหมที่ได้จากงานวิจัย มาทอเป็นผืนผ้าชนิดใหม่โดยผสมผสานกับไหมมาตรฐานจากโรงงาน โดยทอเป็นผืนผ้าขนาดเล็กเพื่อใช้เป็นของฝาก ของที่ระลึก จากท้องถิ่น ทั้งนี้ในกระบวนการปั่นเส้นไหมอาจเข้าร่วมกับชุมชนที่มีความสามารถในการปั่นเส้นด้ายจากฝ้ายเป็นทักษะดั้งเดิม ภูมิปัญญาดั้งเดิมของชุมชน เพื่อเป็นการสร้างงานและอนุรักษ์กระบวนการผลิตบางอย่างของชุมชนให้คงอยู่ต่อไป
สวทช.(น)-58-001 : การศึกษาการผลิตก๊าซชีวภาพจากการหมักเศษวัชพืช/ของเหลือใช้จากการเกษตรร่วมกับของเสียจากสุกร
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ฐปน ชื่นบาล(100)
2558  : 200000 บาท (งบประมาณภายนอกสถาบัน)
สภาวะที่เหมาะสมในการผลิตก๊าซชีวภาพ สามารถประยุกต์ใช้และผลิตก๊าซชีวภาพได้อย่างมีประสิทธิภาพและหลากหลาย ห้างหุ้นส่วนจำกัด กรีน ซัน ซีวิล แอนด์ เอ็นไวรันเมนท็อล เอ็นจิเนียริ่ง 01/10/2563- 30/09/2564
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ฐปน ชื่นบาล(100)
2558  : 200000 บาท (งบประมาณภายนอกสถาบัน)
นำจุลินทรีย์ไปจัดการกลิ่นเหม็นที่เกิดจากน้ำเสียของชุมชน โรงงาน YELLOW BEAN COFFEE 01/10/2565- 30/09/2566 สามารถใช้จุลินทรีย์ในการกำจัดกลิ่นและขยะได้อย่างมีประสิทธิภาพ ชุมชนโดยรอบสามารถนำจุลินทรีย์ไปใช้ประโยชน์เพื่อการดับกลิ่นได้
มช-58-001 : ระบบการจัดการฟาร์มไก่ไข่มาตรฐาน
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ภานุวัฒน์ เมฆะ(100)
2558  : 420336 บาท (อื่น ๆ)
การบริหาจัดการสำหรับวิสาหกิจชุมชนขนาดกลางและขนาดย่อม (SME) ในการจัดการข้อมูลการเลี้ยงไก่ไข่ เพื่อเก็บข้อมูลจากการเลี้ยงไก่ไข่ภายในฟาร์ม เช่น จำนวนไก่ จำนวนไข่ จำนวนอาหาร จำนวนยา ปริมาณน้ำ รายรับยจ่ายภายในฟาร์ม เป็นต้น อีกทั้งข้อมูลการรักษาของสัตวแพทย์ประจำฟาร์ม บริษัท สบามภาคินฟาร์ม จำกัด 01/10/2564- 30/09/2565 ได้มีการใช้ระบบจัดการฟาร์มไก่ไข่มาตรฐานอย่างต่อเนื่อง ซึ่งส่งผลกระทบต่อกระบวนการผลิตภายในฟาร์ม โดยระบบสามารถเชื่อมต่อข้อมูลทั้งหมดที่เกี่ยวข้องกับการเลี้ยงไก่ไข่ภายในฟาร์ม อีกทั้งผู้ใช้งานสามารถบันทึกข้อมูลการเลี้ยงไก่ไข่รายวัน และสามารถเรียกดูรายงานเพื่อดูแนวโน้มการผลิตและใช้ในการวิเคราะห์กระบวนการผลิตและวางแผนในอนาคตได้ และสามารถเพิ่มจำนวนไข่ไก่ในเชิงปริมาณและคุณภาพ มากไปกว่านั้นคือกำไรที่ได้จากระบบจัดการรายรับ-รายจ่าย และข้อมูลสุขภาพไก่ไข่ภายในฟาร์มที่มีการจัดการข้อมูลโดยสามารถนำมาวิเคราะห์ได้อย่างเป็นรูปธรรม
สวพ-56-004 : การวิจัยและพัฒนาวิธีการที่เหมาะสมสำหรับกักเก็บสารสกัดและน้ำมันหอมระเหยเพื่อเพิ่มความคงสภาพสำหรับนำไปพัฒนาผลิตภัณฑ์เชิงพาณิชย์
รองศาสตราจารย์ ดร. อรุณี คงดี อัลเดรด(100)
2556  : 347000 บาท (งบประมาณภายนอกสถาบัน)
การเพิ่มความคงสภาพของสารสกัดจากขมิ้นขัน ไพล มะหาด และกวาวเครือโดยการกักเก็บในนีโอดซมเพื่อเป็นส่วนผสมในเครื่องสำอางและยารักษาโรค ร้านเวชกรโอสถ 01/10/2564- 30/09/2565 บริษัทได้สูตรเครื่องสำอางใหม่หลายสูตรที่มีการผสมนีโอโซมบรรจุสารสกัดจากธรรมชาติ เกิดการวิจัยต่อยอดขึ้นในบริษัทเพื่อปรับเทคนิคการเตรียมนีโอโซมให้เหมาะกับสารสกัดธรรมชาติและตัวยาสมุนไพรบางชนิด
ร.พ.แม่จัน-56-001 : ศึกษาต้นแบบระบบบำบัดน้ำเสียของโรงพยาบาลแม่จัน อำเภอแม่จัน
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ฐปน ชื่นบาล(100)
2556  : 98000 บาท (งบประมาณภายนอกสถาบัน)
นำจุลินทรีย์ไปจัดการกลิ่นเหม็นที่เกิดจากน้ำเสียของชุมชน วิสาหกิจชุมชนแปลงใหญ่ลำไยตำบลหนองตอง 01/10/2564- 30/10/2565 สามารถใช้จุลินทรีย์ในการกำจัดกลิ่นขยะและห้องน้ำได้อย่างมีประสิทธิภาพ ชุมชนโดยรอบสามารถนำจุลินทรีย์ไปใช้ประโยชน์เพื่อการดับกลิ่นได้
วช.-55-008 : การผลิตต้นพันธุ์กล้วยไม้เพื่อรองรับผลกระทบจากสถานการณ์อุทกภัย
อาจารย์ ดร. รัฐพร จันทร์เดช(100)
2555  : 1124000 บาท (งบประมาณภายนอกสถาบัน)
ศึกษาแนวทางการผลิตต้นกล้วยไม้ในสภาวะที่เกิดอุทกภัย สวนเกษตรนายเอ็ม 01/10/2565- 30/09/2566 สามารถนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ในการเตรียมพร้อมต้นพันธุ์กล้วยไม้ เพื่อไม่ให้เกิดความเสียหายในสภาพภูมิอากาศที่มีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา
สกว.-55-010 : การส่งเสริมอาชีพการเลี้ยงไก่ประดู่หางดำเชียงใหม่ของชุมชนบ้านห้วยแก้ว ต.แม่แฝก อ.สันทราย จ.เชียงใหม่
รองศาสตราจารย์ ดร. วาที คงบรรทัด(100)
2555  : 255300 บาท (งบประมาณภายนอกสถาบัน)
ส่งเสริมให้เกษตรกรในชุมชนได้ปฏิบัติการเลี้ยงไก่ประดู่หางดำจริง เพื่อให้ความรู้ความเข้าใจในการเลี้ยงไก่ประดู่หางดำเป็นอาชีพหลัก ชุมชนห้วยแก้ว ตำบลแม่แฝก อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ 01/10/2564- 30/09/2565 เกษตรกรยังคงเลี้ยงไก่ประดู่หางดำเป็นอาชีพหลักหลังจากเสร็จสิ้นการเนินการของโครงการ เกษตรกรมีรายได้จากการขายไก่ประดู่หางดำเพื่อเป็นรายได้อย่างต่อเนื่อง โดยการขายเป็นไก่ชำแหละตามการสั่งของลูกค้าเฉลี่ยเดือนละ 10 ตัวๆละ 65-80 บาท คิดเป็นเงิน 650-800 บาท/เดือน เกษตรลดรายจ่ายจากการซื้ออาหารโปรตีนจากเนื้อไก่คิดเป็นเงินประมาณ 500 บาท/เดือน
มจ.1-55-059 : การจัดการและการใช้ประโยชน์ของเสียจากฟาร์มสุกรขนาดเล็กแบบครบวงจร
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ฐปน ชื่นบาล(100)
2555  : 1152000 บาท (งบประมาณภายในสถาบัน)
นำเทคโนโลยีที่แล้วเสร็จพร้อมนำไปใช้ประโยชน์ในภาคการผลิต บริการ และภาคธุรกิจ โรงงาน YELLOW BEAN COFFEE 01/10/2565- 30/09/2566 ระบบบำบัดน้ำเสียของโรงงานมีประสิทธิภาพ ไม่มีกลิ่นเหม็รบกวนชุมชนโดยรอบ ลดค่าใช้จ่ายในการบำบัดน้ำเสสียของโรงงาน
ทบ(พร)-54-001 : ศึกษา วิจัย แนวทางการจัดการมูลฝอยของเทศบาลตำบลเด่นชัย
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ฐปน ชื่นบาล(100)
2554  : 50000 บาท (งบประมาณภายนอกสถาบัน)
เป็นแนวทางในการนำก้านเห็ดที่เหลือทิ้งไปใช้ให้เกิดประโยชน์ บริษัท ล้านนา กรีนเฮาส์ จำกัด 01/10/2564- 30/09/2565 ลดปริมาณของเสียที่เกิดจากการเก็บเกี่ยวผลผลิต ได้มากกว่าร้อยละ 10
สวทช.(น)-54-004 : การคัดแยกจุลินทรีย์ที่สามารถย่อยสลายสารกลุ่มไกลโฟเสทและBipyridiliums เพื่อใช้ฟื้นฟูดินและแหล่งน้ำทางการเกษตรที่มีการปนเปื้อนสารกำจัดวัชพืช
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ฐปน ชื่นบาล(100)
2554  : 200000 บาท (งบประมาณภายนอกสถาบัน)
สามารถผลิตปุ๋ยหมักจากวัชพืชและเปลือกกาแฟโดยใช้จุลินทรีย์ มาช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการย่อยสลายและสามารถนำไปใช้ทดแทนปุ๋ยเคมี ส่งเสริมให้เกิดการลดการเผาทำลายวัสดุทางการเกษตร บริษัท YELLOW BEAN COFFEE 01/10/2563- 30/09/2564
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ฐปน ชื่นบาล(100)
2554  : 200000 บาท (งบประมาณภายนอกสถาบัน)
ศึกษาประสิทธิภาพการย่อยสลายสารกลุ่มไกลโฟเสทและ Bipyridiliums ที่ปนเปื้อนในดินและนำของบริษัท บริษัท ใบธง จำกัด 01/10/2565- 30/09/2566 นำจุลินทีย์ที่คัดแยกได้จากงานวิจัย ซึ่งมีการทดสอบประสิทธิภาพในระดับห้องปฏิบัติการไปใช้ในพื้นที่จริง ซึ่งพบว่าสามารถใช้ในการลดปริมาณสารกลุ่มไกลโฟเสทและ Bipyridiliums ซึ่งปนเปื้อนในดินพื้นที่การเกษตรของบริษัทได้จริง
มจ.1-53-059 /54-044 : การคัดแยกและประยุกต์ใช้จุลินทรีย์ที่สามารถกำจัดก๊าซไฮโดรเจนซัลไฟด์ในกระบวนการผลิตก๊าซชีวภาพ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ฐปน ชื่นบาล(40)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ศิราภรณ์ ชื่นบาล(30)
ดร. ณิชมน ธรรมรักษ์(30)
2554  : 275000 บาท (งบประมาณภายในสถาบัน)
คัดแยกจุลินทรีย์ที่สามารถลดปริมาณก๊าซไฮโดรเจนซัลไฟด์ในก๊าซชีวภาพ ศึกษาประสิทธิภาพการลดปริมาณก๊าซไฮโดรเจนซัลไฟด์ ในระบบการผลิตระดับครัวเรือน และฟาร์มขนาดเล็ก บริษัท ใบธง จำกัด 01/10/2565- 30/09/2566 สามารถนำไปประยุกต์ใช้ในการผลิตก๊าซชีวภาพ เพื่อใช้เป็นพลังงานให้เครื่องจักรในโรงงานอุตสาหกรรมได้ สามารถนำไปประยุกต์ใช้ในการกำจัดก๊าซไฮโดรเจนซัลไฟด์ในแก๊สชีวภาพ เพื่อแก้ปัญหาเรื่องการกัดกร่อนท่อและภาชนะรองรับ
มจ.1-53-060 : การบำบัดน้ำทิ้งจากฟาร์มเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำด้วยพืชน้ำและสาหร่าย
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ศิราภรณ์ ชื่นบาล(40)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ฐปน ชื่นบาล(35)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ศรีกาญจนา คล้ายเรือง(25)
2553  : 100000 บาท (งบประมาณภายในสถาบัน)
เพื่อศึกษาประสิทธิภาพในการบำบัดน้ำเสีย โดยใช้จุลินทรีย์ที่ตรึงบนตัวกลาง หจก. ป.พุฒ ไก่สด 01/10/2564- 30/09/2565 การนำจุลินทรีย์ที่ใช้ในการวิจัยไปประยุกต์ใช้ในการบำบัดของเสียที่เกิดขึ้นในกระบวนการผลิต พบว่า จุลินทรีย์ที่ได้จากงานวิจัยสามารถขดลองเสียและบำบัดน้ำเสที่เกิดขึ้นจากกระบวนการผลิต ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
คณะวิศวกรรมและอุตสาหกรรมเกษตร
สวทช.- บริษัท ยูนิครอค จำกัด-64-001 : การพัฒนาอาหารเสริมไบโอแคลเซียมจากกระดูกจระเข้น้ำเค็ม
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ธีระพล เสนพันธุ์(100)
2564  : 496100 บาท (งบประมาณภายนอกสถาบัน)
บริษัท ยูนิ-ครอค จำกัด 01/05/2564- 30/09/2564
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ธีระพล เสนพันธุ์(100)
2564  : 496100 บาท (งบประมาณภายนอกสถาบัน)
เกิดการสร้างผลิตภัณฑ์ใหม่ นั่นคือ อาหารเสริมไบโอแคลเซียมจากกระดูกจระเข้น้ำเค็ม บ. ยูนิ-ครอค จำกัด 04/01/2565- 05/10/2565 สร้างผลิตภัณฑ์นวัตกรรมใหม่ๆให้กับบริษัท เกิดการเพิ่มมูลค่าวัสดุเศษเหลือกระดูกจระเข้น้ำเค็มซึ่งเป็นวัสดุเศษเหลือที่ไม่มีค่า เกิดการสร้างราย ได้สร้างกำไรและสร้างผลประกอบการให้กับบริษัท
สวทช.-ศิริพรฟาร์ม จิ้งหรีด เชียงใหม่-64-003 : การพัฒนาผลิตภัณฑ์จิ้งหรีดทอดสมุนไพร
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. นักรบ นาคประสม(50)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. กาญจนา นาคประสม(50)
2564  : 217600 บาท (งบประมาณภายนอกสถาบัน)
ฟาร์มสามารถพัฒนาศักยภาพด้านการผลิต ให้ผลิตภัณฑ์อาหารที่มีคุณภาพ ทำให้ได้กระบวนการผลิตและสูตรผลิตภัณฑ์จิ้งหรีดทอดกรอบสมุนไพรเพื่อสุขภาพ และรวมไปถึงหนอนไหมและสะดิ้ง ศิริพรฟาร์มจิ้งหรีด เชียงใหม่ 15/07/2564- 05/10/2565 ฟาร์มสามารถเพิ่มยอดรายได้ โดยจากการประเมินผลกระทบทางเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น ทำให้มีกำไรเพิ่มขึ้นไม่ต่ำกว่า 600,000 บาท
สวทช.-บริษัท สตรัท โปรเฟสชั่น จำกัด-64-002 : การพัฒนาผลิตภัณฑ์น้ำมันสกัดเย็นจากมะม่วงหิมพานต์
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. กาญจนา นาคประสม(50)
อาจารย์ ดร. จิตราพร งามพีระพงศ์(50)
2564  : 207400 บาท (งบประมาณภายนอกสถาบัน)
เป็นผลิตภัณฑ์ที่สามารถช่วยเพิ่มมูลค่าให้กับมะม่วงหิมพานต์ตกเกรดหรือราคาตกต่ำ และเพื่อการพัฒนา กระบวนการผลิตและผลิตภัณฑ์ใหม่ให้มีความหลากหลายในท้องตลาด สามารถนำไปทดสอบการตลาดและทำการ ขายทางออนไลน์และหน้าร้านทำให้มีรายได้เพิ่มขึ้นมากกว่า 10% จากผลิตภัณฑ์ใหม บริษัท สตรัท โปรเฟสชั่น จำกัด 01/08/2565- 05/10/2565 งานวิจัยมีผลดีคือทำให้ได้ผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพตัวใหม่สำหรับบริษัท ได้แก่ ผงแป้งมะม่วงหิมพานต์ และน้ำมัน (Mixed Oil) ที่มีประโยชน์เพื่อสุขภาพ
IRTC-64-008 : โครงการนวัตกรรมผงปรุงรสสมุนไพรจากผักคะน้าเม็กซิโก
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ธีระพล เสนพันธุ์(100)
2564  : 200000 บาท (งบประมาณภายนอกสถาบัน)
วิสาหกิจชุมชนการท่องเที่ยว เกษตรอินทรีย์และวิถีชุมชนคนเจียงฮาย 01/04/2564- 30/09/2564
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ธีระพล เสนพันธุ์(100)
2564  : 200000 บาท (งบประมาณภายนอกสถาบัน)
.เกิดการสร้างผลิตภัณฑ์ใหม่ นั่นคือ ผลิตภัณฑ์ผงปรุงรสสมุนไพรจากผักคะน้าเม็กซิโก ประธานกลุ?มวิสาหกิจชุมชนการท?องเที่ยวเกษตรอินทรีย?และวิถีชุมชนคนเจียงฮาย 25/01/2565- 05/10/2565 สร้างผลิตภัณฑ์นวัตกรรมใหม่ๆ นั่นคือ ผลิตภัณฑ์ผงปรุงรสสมุนไพรจากผักคะน้าเม็กซิโกให้กับบริษัท เกิดการเพิ่มมูลค่า เกิดการสร้างรายได้สร้างกำไรและสร้างผลประกอบการให้กับบริษัท
สวก.-64-005 : การเพิ่มมูลค่าถั่วแดงหลวงโดยพัฒนาแป้งโดแช่แข็งขนมปังเพื่อสุขภาพ
2564  : 682133 บาท (งบประมาณภายนอกสถาบัน)
ทดลองพัฒนาเพื่อการเตรียมจำหน่ายสู่ตลาด บ. อารื เค บี ทริปเปิ้ลซี จำกัด 01/04/2565- 04/10/2565 เป็นผลิตภัณฑ์ที่มีคุณค่าทางโภชนาการ เหมาะแก่กลุ่มผู้บริโภคในปัจจุบันที่สนใจผลิตภัณฑ์เกี่ยวกับสุขภาพและดีต่อสุขภาพมากขึ้น งานวิจัยนี้จึงทำให้องค์กรมีผลิตภัณฑ์ที่ดีและเป็นทางเลือกให้แก่ผู้บริโภคเพิ่มมากขึ้น
สวทช.-บริษัท พลีพรีม จำกัด-64-003 : การสร้างโรงเรือนอบแห้งพลังงานแสงอาทิตย์แบบเรือนกระจกสำหรับหัวปลีกล้วยอบแห้ง
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. นักรบ นาคประสม(60)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. กาญจนา นาคประสม(40)
2564  : 668470 บาท (งบประมาณภายนอกสถาบัน)
ทางบริษัท พลีพรีม ซึ่งเป็นบริษัทที่ผลิตภัณฑ์อาหารจากงานวิจัยเพื่อมารดาตั้งครรภ์และให้นมบุตรโดยเฉพาะ โดยมุ่งเน้นการใช้ประโยชน์ในส่วนของสมุนไพร น ามาพัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์เครื่องดื่ม คือ สมุนไพร จากเดิมต้องให้บริษัทฯ อื่นทำการอบแห้งปลีกล้วยทำให้พบปัญหาต่างๆ จึงได้ทำการสร้างโรงเรือนอบแห้งพลังงานแสงอาทิตย์แบบเรือนกระจกร่วมกับระบบฮีตเตอร์ เพื่อสร้างมาตรฐานในกระบวนการผลิต เพิ่มมูลค่า และรายได้ให้กับบริษัท บ.พลีพรีม จำกัด 01/10/2563- 05/10/2565 สามารถเพิ่มรายได้ให้กับทางบริษัทฯ สำหรับการรับทำอบแห้งพืชผักสมุนไพรต่างๆ โดยมีมูลค่าที่เพิ่มขึ้นร้อยละ 20 ต่อปี
มจ.1-62-01-032 : การพัฒนาการผลิตและการใช้ประโยชน์จากพืชสมุนไพรไทย: กรณีศึกษากระชายดำ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. เทิดศักดิ์ โทณลักษณ์(40)
อาจารย์ ดร. แสงเดือน อินชนบท(15)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. กาญจนา นาคประสม(15)
ดร. นรินทร์ ท้าวแก่นจันทร์(15)
รองศาสตราจารย์ ดร. วีณา นิลวงศ์(15)
2562  : 340000 บาท (งบประมาณภายในสถาบัน)
กำหนดแผนการปลูกและดูแลรักษา สายพันธุ์ที่เหมาะสมในพื้นที่ชุมชนและฤดูกาล เพื่อการผลิตจำหน่าย สามารถเป็นวิทยากรชุมชนถ่ายทอดความรู้ ให้แก่เกษตรกรในชุมชน กลุ่มผู้ปลูกผักปลอดภัย ตำบลแม่แฝก 29/09/2564- 29/09/2564
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. เทิดศักดิ์ โทณลักษณ์(40)
อาจารย์ ดร. แสงเดือน อินชนบท(15)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. กาญจนา นาคประสม(15)
ดร. นรินทร์ ท้าวแก่นจันทร์(15)
รองศาสตราจารย์ ดร. วีณา นิลวงศ์(15)
2562  : 340000 บาท (งบประมาณภายในสถาบัน)
ถ่ายทอดเทคโนโลยีและองค์ความรู้การจัดการพื้นที่การผลิตกระชายดำในระบบเกษตรอินทรีย์ ให้กับวิสาหกิจชุมชนกลุ่มเกษตรอินทรีย์ตำบลวอแก้ว และทางกลุ่มฯ ได้ทราบถึงศักยภาพการให้ผลิตกระชายดำอินทรีย์ในพื้นที่ สำหรับใช้เป็นแนวทางในการวางแผนขยายพื้นที่ปลูกกระชายดำอินทรีย์ของกลุ่มฯ เกษตรกรกลุ่มวิสาหกิชุมชน ตำบลวอแก้ว 01/09/2564- 30/09/2565
มจ.1-62-01-029.1 : การผลิตปุ๋ยอินทรีย์และวัสดุปลูกจากเศษวัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตรด้วยวิธีการ หมักแบบไม่พลิกกลับกอง
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. แสนวสันต์ ยอดคำ(75)
รองศาสตราจารย์ ดร. พัชรี อินธนู(25)
2562  : 278630 บาท (งบประมาณภายในสถาบัน)
เทศบาลตำบลหนองล่อง 13/07/2564- 13/07/2564
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. แสนวสันต์ ยอดคำ(75)
รองศาสตราจารย์ ดร. พัชรี อินธนู(25)
2562  : 278630 บาท (งบประมาณภายในสถาบัน)
เกษตรกรสามารถผลิตปุ๋ยอินทรีย์ไว้ใช้เอง เพื่อลดต้นทุนการผลิต ใช้ปุ๋ยอินทรีย์แทนปุ๋ยเคมี ลดการเผาเศษวัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตรในพื้นที่ ลดปัญหาหมอกควัน มลพิษทางอากาศที่ส่งผลต่อสุขภาพของประชาชน เทศบาลตำบลหนองล่อง 24/03/2565- 07/10/2565 เกษตรกรมีการรวมกลุ่มกันผลิตปุ๋ยอินทรีย์ ส่วนหนึ่งนำไปแจกจ่ายให้กับสมาชิกและอีกส่วนหนึ่งแบ่งจำหน่ายเพื่อมีรายได้ให้กับกลุ่ม และต่อยอดการผลิตปุ๋ยอินทรีย์ต่อไป
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. แสนวสันต์ ยอดคำ(75)
รองศาสตราจารย์ ดร. พัชรี อินธนู(25)
2562  : 278630 บาท (งบประมาณภายในสถาบัน)
เกษตรผลิตปุ๋ยอินทรีย์ไว้ใช้เอง ลดต้นทุนการผลิต ใช้ปุ๋นอินทรีย์แทนปุ๋ยเคมี ลดการเผาเศษวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตร เทศบาล 01/03/2565- 30/09/2566 เกษตรผลิตปุ๋ยอินทรีย์ไว้ใช้เอง ลดต้นทุนการผลิต ใช้ปุ๋นอินทรีย์แทนปุ๋ยเคมี ลดการเผาเศษวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตร ลดปัยหาหมอกควัน มลพิษทางอากาศ
สกว.-62-005 : การผลิตถ่านชีวภาพจากเศษวัสดุเกษตรและการนำไปใช้ประโยชน์ทางด้านพลังงาน
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ธนศิษฏ์ วงศ์ศิริอำนวย(28)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. นำพร ปัญโญใหญ่(28)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ทิพาพร คำแดง(28)
รองศาสตราจารย์ ดร. จีราภรณ์ อินทสาร(7)
รองศาสตราจารย์ เสมอขวัญ ตันติกุล(7)
2562  : 4103800 บาท (งบประมาณภายนอกสถาบัน)
องค์ความรู้การผลิตถ่านชีวภาพจากเศษวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตร บริษัท ซุพรีม รีนิวเอเบิล เอ็นเนอร์ยี่ จำกัด 30/09/2564- 30/09/2564
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ธนศิษฏ์ วงศ์ศิริอำนวย(28)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. นำพร ปัญโญใหญ่(28)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ทิพาพร คำแดง(28)
รองศาสตราจารย์ ดร. จีราภรณ์ อินทสาร(7)
รองศาสตราจารย์ เสมอขวัญ ตันติกุล(7)
2562  : 4103800 บาท (งบประมาณภายนอกสถาบัน)
ช่วยลดการเผาเศษวัสดุในชุมชน โดยการนำมาผลิตเป็นถ่านชีวภาพ สำหรับเป็นเชื้อเพลิงด้านพลังงานและใช้ในการบำรุงดิน บริษัท ซุพรีม รีนิวเอเบิล เอ็นเนอร์ยี่ จำกัด 01/05/2565- 28/09/2565 ลดต้นทุนการผลิตวัสดุปรับปรุงดิน และลดต้นทุนในการดูแลด้านสุขภาพของคนในชุมชน
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ธนศิษฏ์ วงศ์ศิริอำนวย(28)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. นำพร ปัญโญใหญ่(28)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ทิพาพร คำแดง(28)
รองศาสตราจารย์ ดร. จีราภรณ์ อินทสาร(7)
รองศาสตราจารย์ เสมอขวัญ ตันติกุล(7)
2562  : 4103800 บาท (งบประมาณภายนอกสถาบัน)
นำงานวิจัยไปใช้ปรับปรุงประสิทธิภาพของระบบผลิตแก๊สของเตาเผาแก๊สซิฟรายเออร์ รวมถึงการทำความสะอาดแก๊สให้มีความสะอาดเพื่อใช้เป็นเชื้อเพลิงผลิตไฟฟ้า ทำให้เกิดประโยชน์เรื่องของการลดต้นทุนการผลิต ได้แก็สเชื้อเพลิงที่มีคุณภาพสูงขึ้น บริษัท ซุพรีม รีนิวเอเบิล เอ็นเนอร์ยี่ จำกัด 01/05/2566- 26/09/2566
มจ.1-61-068 : วัสดุผสมระหว่างดินและน้ำยางคอมพาวนด์เสริมแรงด้วยเส้นใยคาร์บอน
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. นภัสถ์ จันทร์มี(50)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ฐิตินันท์ รัตนพรหม(30)
อาจารย์ ดร. สุภาพร ดาวทอง(20)
2561  : 272100 บาท (งบประมาณภายในสถาบัน)
โรงงานบ้านกระดาษ 10/03/2565- 30/09/2565 ได้ทางเลือกในการกำจัดเศษพอลิเมอร์เหลือทิ้งของโรงงานโดยการนำมาใช้เป็นวัสดุตั้งต้นในการทำแผ่นปูพื้น มีแนวทางเลือกในการกำจัดเศษพอลิเมอร์เหลือทิ้งของทางโรงงาน เพื่อหลีกเลี่ยงการเผาที่จะทำให้เกิดผลกระทบต่อสุขภาพของคนในพื้นที่
มจ.2-59-041 : การใช้จุลินทรีย์ผลิตน้ำเชื่อมจากเมล็ดข้าวอินทรีย์หัก
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. กนกวรรณ ตาลดี(50)
นาง จันทร์จิรา วันชนะ(50)
2559  : 35000 บาท (งบประมาณภายในสถาบัน)
สามารถนำงานวิจัยไปใช้แก้ปัญหาเรื่องของการยืดอายุของผลิตภัณฑ์ ทั้งสามารถนำความเข้าใจเชิงทฤษฎีจากงานวิจัยมาประยุกต์ใช้สำหรับการพัฒนาผลิตภัณฑ์ชนิดอื่นๆ เกี่ยวกับระบบรีทอร์ต การพาสเจอร์ไรซ์ เทคนิคการควบคุมอุณหภูมิ รวมถึงกระบวนการเก็บรักษาผลิตภัณฑ์อย่างถูกวิธี และอื่นๆ ที่สามารถรักษามาตรฐานและยืดอายุผลิตภัณฑ์ได้ บ.ที เอช ที (ประเทศไทย) จำกัด 05/11/2564- 04/10/2565 ผลงานวิจัยทำให้บริษัทเกิดความมั่นใจ เชื่อมั่นในตัวผลิตภัณฑ์เป็นอย่างมาก เิกดองคืความรู้ที่สามารถควบคุมปัจจัยการผลิต ทั้งเป็นเหมือนฐานสำคัญในการต่อยอดในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ การขยายตลาด การสื่อสารสาธารณะ ต่อยอดสู่ความเป็นไปได้ใหม่ๆ ของการเพิ่มมูลค่า ด้วยการเพิ่มคุณค่าของผลิตภัณฑ์ที่ได้มาตรฐานอย่างเป็นสากล จากผลการวิจัยครั้งนี้
มจ.2-58-044 : ผลิตภัณฑ์ฟองน้ำยางธรรมชาติโดยใช้รำสกัดน้ำมันและเปลือกลำไยเป็นสารตัวเติม
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดริญญา มูลชัย(100)
2558  : 25000 บาท (งบประมาณภายในสถาบัน)
ช่วยเหลือเด็กที่บกพร่องทางร่างกายและนำมาสร้างสรรค์เป็นผลงานศิลปะได้ โรงเรียนศรีสังวาลย์ เชียงใหม่ 23/05/2565- 31/08/2565 สามารถนำมาทำเป็นเบาะรองนั่งสำหรับเด็กที่บกพร่องทางร่างกายได้
มจ.2-56-078 : การศึกษาและพัฒนาอุปกรณ์ตรวจวัดทางการเกษตรแบบไร้สาย สำหรับระบบเกษตรแม่นยำ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. โชติพงศ์ กาญจนประโชติ(80)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ธนศิษฏ์ วงศ์ศิริอำนวย(10)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. นำพร ปัญโญใหญ่(10)
2556  : 30000 บาท (งบประมาณภายในสถาบัน)
นำงานวิจัยไปใช้สำหรับเป็นต้นแบบในการพัฒนาต่อยอดอุปกรณ์ในระบบเกษตรสมัยใหม่ สำหรับเป็นผลิตภัณฑ์ใหม่ บริษัท โมเดิร์น อะกรีเทค เดฟ จำกัด 15/05/2566- 15/09/2566
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. โชติพงศ์ กาญจนประโชติ(80)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ธนศิษฏ์ วงศ์ศิริอำนวย(10)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. นำพร ปัญโญใหญ่(10)
2556  : 30000 บาท (งบประมาณภายในสถาบัน)
นำงานวิจัยไปเป็นผลิตภัณฑ์ใหม่ของบริษัทและนำไปสนับสนุนการใช้งาน่วมกันบริการจัดการแร่ธาตุอาหารสำหรับสวนผลไม้ ช่วยเพิ่มรายได้และให้เกษตรกรสวนผลไม้มีเครื่องมือในการบริหารจัดการน้ำได้อย่างมีประสิทธิภาพ บริษัท คิวแมน เฟอร์ติไลเซอร์ จำกัด 01/01/2565- 31/12/2566
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. โชติพงศ์ กาญจนประโชติ(80)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ธนศิษฏ์ วงศ์ศิริอำนวย(10)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. นำพร ปัญโญใหญ่(10)
2556  : 30000 บาท (งบประมาณภายในสถาบัน)
นำงานวิจัยไปเป็นผลิตภัณฑ์ใหม่ของบริษัทและนำไปสนับสนุนการใช้งาน่วมกันบริการจัดการแร่ธาตุอาหารสำหรับสวนผลไม้ ช่วยเพิ่มรายได้และให้เกษตรกรสวนผลไม้มีเครื่องมือในการบริหารจัดการน้ำได้อย่างมีประสิทธิภาพ ไร่ตะวันหวาน บริษัท ซันสวีท จำกัด (มหาชน) 01/01/2565- 05/10/2566
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. โชติพงศ์ กาญจนประโชติ(80)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ธนศิษฏ์ วงศ์ศิริอำนวย(10)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. นำพร ปัญโญใหญ่(10)
2556  : 30000 บาท (งบประมาณภายในสถาบัน)
เกิดเป็นผลิตภัณฑ์ใหม่ของบริษัท และใช้งานร่วมกับการบริหารจัดการแร่ธาตุอาหารสำหรับสวนผลไม้ บ.คิวแมน เฟอร์ติไลเซอร์ จำกัด 01/01/2565- 31/12/2566 เพิ่มรายได้ให้เกษตรกรสวนผลไม้
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. โชติพงศ์ กาญจนประโชติ(80)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ธนศิษฏ์ วงศ์ศิริอำนวย(10)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. นำพร ปัญโญใหญ่(10)
2556  : 30000 บาท (งบประมาณภายในสถาบัน)
ภายใต้การดำเนินงานของศูนย์ ฯ ได้ ดำเนินการในแปลงของเกษตรกรรุ่นใหม่ (Young Smart Farmer) ซึ่งเป็นเกษตรกรที่เป็นผู้ผลิต แปรรูปสินค้า และจัด จำหน่ายสินค้าที่ผลิตขึ้นเอง โดยกลุ่มลูกค้าของเกษตรกรนั้นมีความหลากหลาย ทั้งเรื่อง วัย เพศ และเชื้อชาติ ดังนั้นเมื่อ นำนวัตกรรมดังกล่าวเข้ามาช่วยในการผลิตและจำหน่ายสินค้าเกษตร (ผัก) ส่งผลให้กลุ่มลูกค้าสามารถตัดสินใจที่จะเลือก ซื้อสินค้าจากการเกษตรกรดังกล่าวได้ง่ายขึ้น ภายในระยะเวลาอันสั้น ส่งผลให้มีกลุ่มลูกค้าที่เพิ่มขึ้น สร้างรายได้ที่มากขึ้น และส่งผลให้ความเป็นอยู่ของเกษตรกรดีขึ้นตามลำดับ ศูนย์ส่งเสริมเทคโนโลยีการอารักขาพืช จ.เชียงใหม่ 01/06/2565- 30/09/2567 ศูนย์ ฯ ภายใต้การดำเนินงานของกรมส่งเสริมการเกษตร สามารถต่อยอดงานวิจัยดังกล่าว ไปสู่การเผยแพร่ให้แก่กลุ่ม เกษตรกรที่มีความสนใจ และมีความพร้อมในการนำนวัตกรรมดังกล่าวไปใช้ เพื่อเพิ่มรายได้และสร้างความเชื่อมั่นให้แก่ ผู้บริโภค ที่ต้องการทราบถึงความเป็นมาของสินค้าที่ตนเองกำลังเลือกซื้อต่อไป
คณะศิลปศาสตร์
DAI Global-64-001 : Research on citizen’s Perspectives on Hate Speech and Tolerance
อาจารย์ พีรดา ประจงการ(25)
อาจารย์ พสุนิต สารมาศ(25)
อาจารย์ พงษ์ศักดิ์ รวมทรัพย์(12)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. จิรวัฒน์ รักชาติ(12)
2564  : 497227 บาท (งบประมาณภายนอกสถาบัน)
นำไปใช้ประโยชน์ตามวัตถุประสงค์เป้าหมายของงานวิจัยคือ เพื่อทำความเข้าใจมุมมองของประชาชนในเรื่องการแสดงออกและการสื่อสารที่แสดงความเกลียดชังและการอยู่ร่วมกันบนความแตกต่างในจังหวัดเชียงใหม่ขอนแก่นปัตตานียะลาและนราธิวาสโดยการใช้ประโยชน์นั้นขอให้เกิดผลดีหรือประโยชน์จากผลของการศึกษาวิจัยในครั้งนี้ โครงการ together บริษัท dai ประเทศไทยจำกัดสามารถนำข้อมูลไปใช้ประโยชน์อย่างกว้างขวางสำหรับดำเนินกิจกรรมของโครงการในช่วงเวลาที่ผ่านมาและการทำงานในอนาคตของโครงการเช่นนำข้อความพบที่เกี่ยวข้องกับมุมมองของประชาชนในเรื่องการแสดงออกและการสื่อสารที่แสดงความเสียใจและการอยู่ร่วมกันบนความแตกต่างในจังหวัดเชียงใหม่ไปใช้ในการออกแบบและจัดกิจกรรมการประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อส่งเสริมการอยู่ร่วมกันแตกต่างเมื่อเดือนกุมภาพันธ์เกี่ยวกับองค์กรภาคประชาสังคมในจังหวัดเชียงใหม่สำหรับการนำข้อมูลไปใช้ประโยชน์ในอนาคต โครงการ together มีแผนที่จะนำข้อมูลจากการวิจัยดังกล่าวไปจัดประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อส่งเสริมการอยู่ร่วมกันบนความแตกต่างสำหรับกลุ่มเป้าหมายที่เป็นนักศึกษาในจังหวัดขอนแก่นและจังหวัดปัตตานีนอกจากนั้นโครงการข้อค้นพบไปใช้ในประกอบการออกแบบหลักสูตรการพัฒนาอบรมเพื่อส่งเสริมการอยู่ร่วมกันบนความแตกต่างสำหรับกลุ่มเป้าหมายที่เป็นเครือข่ายภาควิชาสังคมโครงการภายในปี 2565 บริษัท ดีเอไอ (ประเทศไทย) จำกัด 02/09/2565- 02/09/2565
มจ.3-62-018 : ความเป็นเกษตรกรผู้ประกอบการของชาวกะเหรี่ยงในชุมชนบ้านแม่ต๋อม อำเภออมก๋อย จังหวัดเชียงใหม่
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. จิรวัฒน์ รักชาติ(60)
2563  : 50000 บาท (งบประมาณภายในสถาบัน)
1 ใช้ประโยชน์เชิงสาธารณะ คือ การนำเอาข้อมูลของผลงานวิจัยไปการพัฒนาและประยุกต์ใช้โดยเฉพาะด้านการเกษตร การพัฒนาเกษตรให้เป็นเกษตรกรรุ่นใหม่ ที่มีความเป็นผู้ประกอบการมากขึ้น ให้สอดคล้องบริบทพื้นที่ ความเชื่อสังคมและวัฒนธรรม มีความคิดสร้างสรรค์ มีการวางแผนการผลิต 2. การใช้ประโยชน์เชิงนโยบาย คือ นำผลจากการวิจัยใช้เป็นแนวทางในการกำหนดนโยบายตามแผนพัฒนาท้องถิ่น ด้านการส่งเสริมความรู่ พัฒนาทักษะ เพื่อโอกาสการเข้าถึงข้อมูลการผลิต การส่งเสริมการค้า ผ่านการบูรณาการ ร่วมกับหน่วยงานภาครัฐหรือหน่วยงานภาคเอกชน 3. การใช้ประโยชน์เชิงพานิชย์ คือ นำข้อมูลในการตัดสินใจทั้งด้านการผลิต การตลาด และการใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่ ฯลฯ นำไปสู่การเพิ่มประสิทธิภาพทางการผลิตต่อไป 4. ใช้ประโยชน์ทางอ้อมของงานวิจัย คือ ส่งเสริมความรักและหวงแหน เห็นคุณค่าของอาชีพเกษตรกรที่ตกทอดจากบรรพบุรุษ โดยการพัฒนาต่อยอดให้เหมาะสมกับสภาพเศรษฐกิจและสังคม อันเป็นการพัฒนาคุณภาพชีวิตของเกษตรกรกลุ่มชาติพันธ์ต่อไป องค์การบริหารส่วนตำบลอมก๋อย 09/09/2564- 09/09/2564
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. จิรวัฒน์ รักชาติ(60)
2563  : 50000 บาท (งบประมาณภายในสถาบัน)
- 1 ใช้ประโยชน์เชิงสาธารณะ คือ การนำเอาข้อมูลของผลงานวิจัยไปการพัฒนาและประยุกต์ใช้โดยเฉพาะด้านการเกษตร การพัฒนาเกษตรให้เป็นเกษตรกรรุ่นใหม่ ที่มีความเป็นผู้ประกอบการมากขึ้น ให้สอดคล้องบริบทพื้นที่ ความเชื่อสังคมและวัฒนธรรม มีความคิดสร้างสรรค์ มีการวางแผนการผลิต - 2. การใช้ประโยชน์เชิงนโยบาย คือ นำผลจากการวิจัยใช้เป็นแนวทางในการกำหนดนโยบายตามแผนพัฒนาท้องถิ่น ด้านการส่งเสริมความรู่ พัฒนาทักษะ เพื่อโอกาสการเข้าถึงข้อมูลการผลิต การส่งเสริมการค้า ผ่านการบูรณาการ ร่วมกับหน่วยงานภาครัฐหรือหน่วยงานภาคเอกชน - 3. การใช้ประโยชน์เชิงพานิชย์ คือ นำข้อมูลในการตัดสินใจทั้งด้านการผลิต การตลาด และการใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่ ฯลฯ นำไปสู่การเพิ่มประสิทธิภาพทางการผลิตต่อไป - 4. ใช้ประโยชน์ทางอ้อมของงานวิจัย คือ ส่งเสริมความรักและหวงแหน เห็นคุณค่าของอาชีพเกษตรกรที่ตกทอดจากบรรพบุรุษ โดยการพัฒนาต่อยอดให้เหมาะสมกับสภาพเศรษฐกิจและสังคม อันเป็นการพัฒนาคุณภาพชีวิตของเกษตรกรกลุ่มชาติพันธ์ต่อไป อบต.อมก๋อย 01/10/2564- 30/09/2565
สกสว-62-008.1 : แนวทางการจัดการงานศิลปะและวัฒนธรรมประเพณีและพิธีกรรมของชุมชนในเขตอำเภอขุนยวม
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ฐาปกรณ์ เครือระยา(100)
2562  : 407000 บาท (งบประมาณภายนอกสถาบัน)
นำองค์ความรู้จากงานวิจัยเกี่ยวกับประเพณีของชาวไทใหญ่ ไปสืบสานฟื้นฟูถอดคุณค่าพัฒนาและต่อยอดทุนทางวัฒนธรรมและภูมิปัญญาอย่างเป็นระบบพัฒนาและสร้างวัดนวัตกรรมถ่ายทอดองค์ความรู้และภูมิปัญญาท้องถิ่นในชุมชน สำนักงานเทศบาลตำบลขุนยวม 09/09/2564- 09/09/2564
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ฐาปกรณ์ เครือระยา(100)
2562  : 407000 บาท (งบประมาณภายนอกสถาบัน)
1.การใช้ประโยชน์ตามวัตถุประสงค์ เป้าหมายของงานวิจัยเพื่อศึกษาประเพณีของชาวไทยใหญ่เป็นแนวทางการพัฒนาศักยภาพและคุณค่าของประเพณีนั้น สำนักงานเทศบาลตำบลขุนยวม 01/10/2564- 30/09/2565 1. การใช้ประโยชน์ในเชิงสาธารณะส่งเสริมการเห็นคุณค่าในด้านวัฒนธรรมประเพณีและพิธีกรรมชุมชนได้อย่างยั่งยืน 2.การใช้ประโยชน์เชิงนโยบายเป็นเครื่องมือสำคัญในการสร้างความเข้มแข็งให้แก่ชุมชนท้องถิ่นอำเภอขุนยวมเพื่อทำให้เห็นสังคมแห่งคนดีมีความรับผิดชอบรักษ์ท้องถิ่นและเกิดความภาคภูมิใจในศิลปะวัฒนธรรมในชุมชนโดยทุกฝ่ายร่วมมือกันให้ลูกหลานร่วมมือสืบทอดภูมิปัญญาท้องถิ่น 3.การใช้ประโยชน์เชิงพาณิชย์ช่วยให้คนในชุมชนมีความเป็นอยู่ดีขึ้นมีรายได้สามารถนำภูมิปัญญาท้องถิ่นมาเสริมสร้างพลังผลิตสินค้าและบริการได้แก่ผลิตภัณฑ์วัฒนธรรมงานฝีมือและของที่ระลึกการพัฒนาทุนมนุษย์พิพิธภัณฑ์สถานและกิจกรรมที่เกี่ยวข้อง 4.การใช้ประโยชน์ทางอ้อมของงานวิจัยสร้างจิตสำนึกในการอนุรักษ์ศิลปะวัฒนธรรมของชุมชนและท้องถิ่น
มจ.2-62-066 : การศึกษาภาพลักษณ์ผู้หญิงอินโดนีเชียผ่านเรื่องสั้นชุด ketut Rapti Kumpulan Cerita Perempuan ของ Ni komang Arina
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ศิริพร มณีชูเกตุ(50)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. สุนทร คำยอด(50)
2562  : 30000 บาท (งบประมาณภายในสถาบัน)
นำทัศนะเกี่ยวกับสตรีเพศที่ถูกต้อง ไปสร้างความเข้าใจอันดีแก่เยาวชนและบุคคลทั่วไปในสังคมในเรื่อง "ความแตกต่างทางเพศ" และ"คุณค่าของสตรีเพศ" สาขาวิชาภาษาไทย มหาวิทยาลัยพะเยา 09/09/2564- 09/09/2564
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ศิริพร มณีชูเกตุ(50)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. สุนทร คำยอด(50)
2562  : 30000 บาท (งบประมาณภายในสถาบัน)
- นำทัศนะเกี่ยวกับสตรีเพศที่ถูกต้อง ไปสร้างความเข้าใจอันดีแก่เยาวชนและบุคคลทั่วไปในสังคมในเรื่อง "ความแตกต่างทางเพศ" และ"คุณค่าของสตรีเพศ" มหาวิทยาลัยพะเยา 01/10/2564- 30/09/2565
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ศิริพร มณีชูเกตุ(50)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. สุนทร คำยอด(50)
2562  : 30000 บาท (งบประมาณภายในสถาบัน)
นำเนื้อหาผลงานวิจัยไปใช้สอนในรายวิชาที่เกี่ยวข้องกับการวิเคราะห์วรรณกรรม เป็นตัวอย่างในการวิเคราะห์ภาพลักษณ์ของผู้หญิงในสังคมที่ต่างศาสนา คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยพะเยา 20/03/2566- 30/09/2566
มจ.1-62-01-026.3 : การสร้างนวัตกรรมการสื่อสารภาษาอังกฤษแก่ชาวนาข้าวอินทรีย์ เพื่อเพิ่มมูลค่าข้าวอินทรีย์ ตำบลลวงเหนือ อำเภอดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม่
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดาราณี ชุมทอง(100)
2562  : 286300 บาท (งบประมาณภายในสถาบัน)
ศัพท์ภาษาอังกฤษทางการเกษตร ประโยคการสนทนาในการขายสินค้าข้าวอินทรี์ย์ เทศบาลตำบลลวงเหนือ 02/10/2563- 02/10/2563
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดาราณี ชุมทอง(100)
2562  : 286300 บาท (งบประมาณภายในสถาบัน)
นำผลงานวิจัยไปปลูกฝังให้นักเรียนรู้จักอนุรักษ์หวงแหนความเป็นไทยเกิดความภูมใจทั้งทางด้านทรัพยากร และวัฒนธรรมความเป็นอยู่ อาหารการกินของชุมชนภาคเหนือ และนำส่วนหนึ่งของการวิจัยไปจัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้ความรู้เพิ่มเติมแก่นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4-6 ห้องเรียน Mini English Program ซึ่งนักเรียนได้รับความรู้เรื่อง คำศัพท์ บทสนทนาเกี่ยวกับสินค้าจากข้าวไทย โรงเรียนพุทธิโศภน 09/09/2564- 09/09/2564
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดาราณี ชุมทอง(100)
2562  : 286300 บาท (งบประมาณภายในสถาบัน)
ภาควิชาภาษาตะวันตก คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา นำไปใช้ตามวัตถุประสงค์การวิจัย คือ สร้างสรรค์และพัฒนานวัตกรรมเพื่อการพัฒนาวิชาการทางด้านภาษาอังกฤษได้ ทั้งในด้านการเรียนการสอน และการวิจัย ลักษณะการนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์คือ นำผลการวิจัย ระเบียบวิธีการวิจัยในงานครั้งนี้มาเป็นแนวทางในการพัฒนานวัตกรรมภาษาอังกฤษสำหรับวิชาอื่นๆ ต่อไปได้ตามบริบทของสังคม เช่น การสร้างนวัตกรรมการสื่อสารภาษาอังกฤษสำหรับบุคลากรในภาคบริการและอุตสาหกรรมในเขตภาคตะวันออก และยังนำไปใช้ในการเรียนการสอนวิชา 22336159 English -Thai Translation ได้ด้วย ภาควิชาภาษาตะวันตก คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา 01/07/2565- 31/10/2565
มจ.2-60-022 : English Varieties as Perceived by the Secoud-Year English Majors,Maejo Universuty
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดาราณี ชุมทอง(50)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สุภาพร มโนวงศ์(50)
2560  : 30000 บาท (งบประมาณภายในสถาบัน)
ภาควิชาภาษาตะวันตก คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา นำไปใช้ตามวัตถุประสงค์การวิจัย คือ นำผลการศึกษาไปใช้พัฒนาวิชาการ ในภาคการศึกษาที่ 1/2565 ลักษณะการนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ คือ สร้างความตระหนักรู้ในระดับความแตกต่างการรับรู้ภาษาอังกฤษของนักศึกษา ซึ่งผู้สอนนำไปปรับใช้ในการเรียนการสอนรายวิชาต่างๆ เช่น วิชา 2228364 English Phonetics and Phonology ด้วยว่าระดับความต่างที่หลากหลายย่อต้องการรูปแบบการสอนที่แตกต่างกันไปตามความเหมาะสมของผุ้เรียนภาษษอังกฤษ พร้อมนี้ผลงานวิจัยชี้ให้เห็นรูปแบบภาษาตามการรับรู้ของผู้เรียน ซึ่งสามารถแสดงให้เห็นจุดอ่อนที่นำไปสู่การปรับแก้ปัญหาในการเรียนได้ตรงประเด็นมากขึ้น ภาควิชาภาษาตะวันตก คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา 01/07/2565- 31/10/2565
มจ.2-59-007 : การศึกษาชั้นวัฒนธรรมทางโบราณคดี เมืองโบราณเวียงละกอน
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. เมธี เมธาสิทธิ สุขสำเร็จ(100)
2559  : 50000 บาท (งบประมาณภายในสถาบัน)
นำส่วนหนึ่งของงานวิจัยจัดพิมพ์บทความเรื่อง "การกำหนดอายุวัดปงสนุกเหนือจากการขุดค้นทางโบราณคดี" โดยนำไปใช้ในการจ้ดทำหนังสือรวมบทความ "มรดกวัฒนธรรมศิลปกรรมวัดปงสนุก" วัดปงสนุกเหนือ ต.เวียงเหนือ อ.เมืองลำปาง จ.ลำปาง 02/08/2564- 02/08/2564
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. เมธี เมธาสิทธิ สุขสำเร็จ(100)
2559  : 50000 บาท (งบประมาณภายในสถาบัน)
- นำส่วนหนึ่งของงานวิจัยจัดพิมพ์บทความเรื่อง "การกำหนดอายุวัดปงสนุกเหนือจากการขุดค้นทางโบราณคดี" โดยนำไปใช้ในการจ้ดทำหนังสือรวมบทความ "มรดกวัฒนธรรมศิลปกรรมวัดปงสนุก" วัดปงสนุกเหนือ 01/10/2564- 30/09/2565
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. เมธี เมธาสิทธิ สุขสำเร็จ(100)
2559  : 50000 บาท (งบประมาณภายในสถาบัน)
งานวิจัยดังกล่าวรองศาสตราจารย์ ดร.โขมสี มีภักดี ได้นำผลการศึกษาการตั้งถิ่นฐานของเมืองโบราณเวียงละกอนไปเป็นข้อมูลประกอบการพัฒนาโครงการวิจัย เรื่อง การตั้งถิ่นฐานและพัฒนาการทางวัฒนธรรมเมืองโบราณเขลางค์ นอกจากนี้ยังนำไปสู่ประเด็นการศึกษาและกำหนดหัวข้อโครงการวิจัยใหม่ วิทยาลัยสหวิทยาการ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ลำปาง 01/05/2566- 30/12/2567 นำไปพัฒนาหัวข้อการวิจัยใหม่
คณะเศรษฐศาสตร์
สวก.-64-015 : การประเมินความสูญเสียอาหารผลิตภัณฑ์ลำไยอบแห้งเพื่อหามาตรการลดความสูญเสียโดยตลอดห่วงโซ่คุณค่าและรายงายผลตามเป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืน ข้อที่ 12.3.1 (เฟสที่ 1.2 การประเมินความสูญเสียอาหาร)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ชนิตา พันธุ์มณี(33)
2564  : 1546270 บาท (งบประมาณภายนอกสถาบัน)
ได้แนวทางการปฏิบัติที่ดีในการลดความสูญเสียของการผลิตลำไย เกษตรกรผู้ปลูกลำไยในจังหวัดจันทบุรี 27/09/2565- 30/09/2565 -
EC-2564-3 : การพัฒนารูปแบบการจัดเก็บ/รวบรวมข้อมูลงานวิจัยและการบริการวิชาการเพื่อนำเสนอผ่านเว็บเพจงานบริการวิชาการและวิจัย คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้
น.ส. กาญจนา ชิดทอง(100)
2564  : 15000 บาท (งบประมาณภายในสถาบัน)
ประโยชน์ต่อการพัฒนาระบบการบริหารจัดการ การบริการข้อมูลด้านงานวิจัยและการบริการวิชาการ อำนวยความสะดวกด้านการให้บริการข้อมูลที่เกี่ยวข้อง คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ 01/04/2565- 30/09/2565 องค์กรได้ใช้ผลงานจากการดำเนินการวิจัย เพื่อการพัฒนางาน การบริการข้อมูลสารสนเทศด้านงานวิจัย การนำเสนอผลงาน งานตีพิมพ์ โครงการบริการวิชาการ ทำเนียบนักวิจัย รวมไปถึงข้อมูลอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับงานวิจัยและการบริการวิชาการของคณะฯ
อุทยานวิทยาศาสตร์ภาคเหนือ.-64-001 : โครงการการพัฒนาผลิตภัณฑ์หัตถกรรมชุมชนด้วยเทคโนโลยีสิ่งทอ
รองศาสตราจารย์ ดร. อรุณี คงดี อัลเดรด(100)
2564  : 165000 บาท (งบประมาณภายนอกสถาบัน)
นำองค์ความรู้จากงานวิจัยไปใช้ในการผลิตผ้าบาติกที่ใช้สีย้อมที่สกัดจากพืชท้องถิ่น บริษัท จุลณัฐ จำกัด 01/10/2565- 30/09/2566 ผ้าบาติกที่ได้มีความคงทน สีไม่ตก สีไม่ซีดง่ายเหมือนเหมือนกับผ้าสีย้อมด้วยสีสังเคราะห์ทั่วไป ผ้าบาติกที่ใช้ความรู้จากงานวิจัยมีมูลค่าสูง และสามารถต่อยอดงานวิจัยด้วยการเพิ่มสมบัติการมีกลิ่นหอมและต้านเชื้อแบคทีเรีย
มจ.1-63-02-001.3 : แนวทางการยกระดับความเข็มแข็งการบริหารจัดการระหว่างเครือข่ายของเกษตรกรผู้ปลูกข้าวระบบเกษตรนาแปลงใหญ่
รองศาสตราจารย์ ดร. รภัสสรณ์ คงธนจารุอนันต์(100)
2563  : 480000 บาท (งบประมาณภายในสถาบัน)
การอบรมเชิงปฏิบัติการกระบวนการบริการจัดการกลุ่มเกษตรกรนาแปลงใหญ่สู่การเป็นวิสาหกิจชุมชนภายใต้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง วันที่ 28-29 กรกฎาคม 2565 ณ ศาลาอเนกประสงค์บ้านหนองหลวงพัฒนา ต.ป่าไผ่ อ.สันทราย จ.เชียงใหม่ กลุ่มเกษตรกรบ้านหนองหลวงพัฒนา ต.ป่าไผ่ อ.สันทราย จ.เชียงใหม่ 28/07/2565- 29/07/2565
สวก.-63-008 : การสร้างนวัตกรรรมดิจิทัลเพื่อยกระดับเกษตรกรอัจฉริยะด้านการผลิตลำไยคุณภาพในจังหวัดเชียงใหม่
รองศาสตราจารย์ ดร. พัชรินทร์ สุภาพันธ์(20)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. อุดมลักษณ์ สมพงษ์(16)
อาจารย์ สุรชัย ศรีนรจันทร์(16)
รองศาสตราจารย์ ดร. พัชรี อินธนู(16)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. แทนวุธธา ไทยสันทัด(16)
อาจารย์ ดร. สุจิตรา แก้วสีนวล(16)
2563  : 1524978 บาท (งบประมาณภายนอกสถาบัน)
แนะนำให้เกษตรกรใช้งานแอปพลิเคชันในการบันทึกข้อมูล พฤติกรรมการผลิตลำไย รวมทั้งค่าใช้จ่ายในการผลิต ตลอดจนการจำหน่วยผลผลิต เพื่อเป็นแนวทางในการบริหารจัดการสวนลำไย และการผลิตลำไยให้ได้คุณภาพ สำนักงานเกษตรอำเภอหางดง 01/08/2565- 31/08/2565
รองศาสตราจารย์ ดร. พัชรินทร์ สุภาพันธ์(20)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. อุดมลักษณ์ สมพงษ์(16)
อาจารย์ สุรชัย ศรีนรจันทร์(16)
รองศาสตราจารย์ ดร. พัชรี อินธนู(16)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. แทนวุธธา ไทยสันทัด(16)
อาจารย์ ดร. สุจิตรา แก้วสีนวล(16)
2563  : 1524978 บาท (งบประมาณภายนอกสถาบัน)
แนะนำให้เกษตรกรใช้แอปพลิเคชัน ในการบันทึกข้อมูลพฤติกรรม การผลิตลำไย รวมทั้งค่าใช้จ่ายในการผลิต ตลอดจน การจำหน่ายผลผลิต เพื่อเป็นแนวทางในการบริหารจัดการสวนลำไย และการผลิตลำไย ให้ได้คุณภาพ สำนักงานเกษตรอำเภอหางดง 01/01/2565- 20/08/2565
สวทช.ภาคเหนือ:เซเว่นเซพ-59-001 : การวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ทำความสะอาดพื้นผิวและฆ่าเชื้อที่มีส่วนผสมของสารสกัดธรรมชาติ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ศรีกาญจนา คล้ายเรือง(60)
รองศาสตราจารย์ ดร. อรุณี คงดี อัลเดรด(40)
2559  : 136400 บาท (งบประมาณภายนอกสถาบัน)
ผลิตและทดสอบสมบัติผลิตภัณฑ์ทำความสะอาดพื้นผิวและฆ่าเชื้อในขั้นตอนเดียว ผสมน้ำก่อนใช้และพร้อมใช้ บริษัทเซเว่นเซฟ แมนูแฟคเจอริ่ง จำกัด 01/10/2564- 30/09/2565 บริษัทได้ผลิตภัณฑ์ทำความสะอาดพื้นผิวและฆ่าเชื้อใหม่ จำนวน 3 สูตร บริษัทได้วิธีการและแนวทางในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ทำความสะอาดพื้นผิวและฆ่าเชื้อใหม่ที่มีส่วนผสมของสารสกัดธรรมชาติชนิดใหม่
คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบสิ่งแวดล้อม
มจ.3-63-013 : การถอดบทเรียนกระบวนการออกแบบโรงเรียนวิถีพุทธชุมชนอนุรักษ์วัฒนธรรม ไตเขินเพื่อประยุกต์ใช้กับโรงเรียนในชุมชนเทศบาลสันป่าเปา
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ณัฐพล เรืองวิทยานุสรณ์(100)
2564  : 50000 บาท (งบประมาณภายในสถาบัน)
ประมวลแนวทางการออกแบบโรงเรียนวิถีพุทธชุมชนอนุรักษ์วัฒนธรรมไตเขิน ที่อิงการอนุรักษ์ภูมิทัศน์วัฒนธรรมและสถาปัตยกรรมพื้นถิ่นของชุมชนไตเขิน ภายในชุมชนบ้านจ่อง เอิ่งยางเกี๋ยง เมืองเชียงตุง แล้วเชื่อมโยงประเด็นที่สามารถประยุกต์ใช้ได้กับโรงเรียนในชุมชนเทศบาลสันป่าเปา เทศบาลตำบลสันป่าเปา 13/08/2564- 30/09/2565 นำไปประยุกต์ใช้กับโรงเรียนในชุมชนเทศบาลสันป่าเปา เพื่อเสนอเป็นทางเลือกแก่ชุมชน โดยมีการใช้ศาสนาและการออกแบบภูมิทัศน์วัฒนธรรมเป็นสื่อกลาง พร้อมแลกเปลี่ยนความคิดเห็นเกี่ยวกับโรงเรียนวิถีพุทธในเขตพื้นที่ตำบลสันป่าเปา
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ณัฐพล เรืองวิทยานุสรณ์(100)
2564  : 50000 บาท (งบประมาณภายในสถาบัน)
ให้นักศึกษาได้เรียนรู้ในการนำไปออกแบบ ในการใช้งานกับกลุ่มโรงเรียนการปรับกิจกรรม มูลนิธิโพธิยาลัย (วิทยาเขตเชียงใหม่) 24/08/2564- 24/08/2566 นักศึกษาได้เรียนรู้ในการนำไปออกแบบ ในการใช้งานกับกลุ่มโรงเรียนงการปรับกิจกรรม
อพ.สธ.-63-002 : การศึกษาศักยภาพของพืชอาหารพื้นถิ่น ในเขตชานเมืองเชียงใหม่ เพื่อการนำไปใช้ในงานภูมิทัศน์
อาจารย์ พรทิพย์ จันทร์ราช(50)
นาย ธวัชชัย มานิตย์(40)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. นิกร มหาวัน(10)
2563  : 120000 บาท (งบประมาณภายในสถาบัน)
นำมาใช้เป็นแนวทางในการกำหนดกรอบและแนวทางการวางแผนพัฒนาท้องถิ่น รวมถึงการฟื้นฟูอนุรักษ์พันธ์ุพืชในพื้นที่ตำบลสันป่าเปา เทศบาลตำบลสันป่าเปา 13/08/2564- 30/09/2565 นำแนวทางไปใช้ในการเสริมสร้างความมั่นคงทางอาหารของชุมชน และสร้างความตระหนักรู้ของคุณค่าพืชพื้นถิ่นที่จะนำไปสู่การอนุรักษ์ความหลากหลายในชุมชน และตำบลต่าง ๆ ให้เกิดประโยชน์อย่างต่อไป
อพ.สธ.-62-003 : การศึกษาความหลากหลายทางพันธุกรรมและปัจจัยการเจริญเติบโตของกล้วยไม้สมุนไพร นกคุ้มไฟ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. เยาวนิตย์ ธาราฉาย(50)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ทิพย์สุดา ตั้งตระกูล(20)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ปฏิภาณ สุทธิกุลบุตร(15)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. นฤมล เข็มกลัดเงิน(5)
นาย อดิศักดิ์ การพึ่งตน(5)
อาจารย์ วินัย แสงแก้ว(5)
2562  : 350000 บาท (งบประมาณภายนอกสถาบัน)
เพื่อเพาะขยายพันธุ์ให้มีจำนวนมากขึ้น ส่งเสริมให้มีการอนุรักษ์ในพื้นที่อย่างถูกต้องตามหลักวิชาการ วิสาหกิจชุมชนผู้เพาะเลี้ยง ฟ้ามุ๋ยปงไคร้ 13/06/2561- 30/09/2566 อนุรักษ์ต้นพ่อ แม่พันธุ์กล้วยไม้นกคุ้มไฟในพื้นที่ถิ่นที่อยู่เดิม
สวก.-62-005 : การประเมินความเสี่ยงต่อปัญหาน้ำท่วมขังฉับพลันในพื้นที่ชุมชนชานเมืองอันเนื่องจากการขยายตัวของพื้นที่เมือง พื่นที่ชุมชนในเขตเทศบาลเมืองแม่โจ้ อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. นิกร มหาวัน(70)
2562  : 893000 บาท (งบประมาณภายนอกสถาบัน)
แก้ไขปัญหาน้ำท่วมขังในเขตพื้นที่เทศบาลเมืองแม่โจ้ได้อย่างถาวร การจัดการสิ่งแวดล้อมในชุมชน เทศบาลเมืองแม่โจ้ 16/07/2564- 16/07/2565 ชุมชนมีสภาพแวดล้อมและความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น
สกว.-61-012 : การศึกษาแนวทางการจัดการพื้นที่เพื่อเพิ่มภูมิคุ้มกันชุมชนจากภาวะความเจ็บป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อกรณีเปรียบเทียบเทศบาลตำบลสันป่าเป่ากับองค์การบริหารส่วนตำบลเทพเสด็จ อำเภอดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม่
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. นิกร มหาวัน(50)
นาย ธวัชชัย มานิตย์(10)
อาจารย์ พรทิพย์ จันทร์ราช(10)
รองศาสตราจารย์ ดร. วินิจ ผาเจริญ(5)
2561  : 973060 บาท (งบประมาณภายนอกสถาบัน)
นำแผนไปใช้ในการพัฒนาในตำบลให้เกิดประโยชน์อย่างยั่งยืน เทศบาลตำบลสันป่าเปา 04/12/2562- 04/12/2565 - ด้านสุขภาพของประชาชนในตำบลสันป่าเปา ทั้งหมด 6 หมู่บ้าน - ทำให้ชุมชนได้มีส่วนร่วมเกิดการพัฒนาอย่างยั่งยืนตลอดไป
สพภ.-61-007 : รูปแบบโรงเรือนและการจัดสภาพแวดล้อมสำหรับเกษตรกรรายย่อยผู้เลี้ยงโคเนื้อและโคนมเพื่อรับมือกับการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศในอนาคต
รองศาสตราจารย์ ดร. ณัชวิชญ์ ติกุล(100)
2561  : 1000000 บาท (งบประมาณภายนอกสถาบัน)
การสร้างสุขภาวะด้านสิ่งแวดล้อมให้กับสัตว์ที่ดีขึ้น เช่น ความร้อน การระบายอากาศ เป็นผลทำให้สัตว์เลี้ยงมีการดำรงชีวิต หรือระบบการหายใจ/การเผาผลาญอาหารและมีผลผลิตที่ดีขึ้น สำนักงานปศุสัตว์จังหวัดเชียงใหม่ 15/10/2562- 01/06/2565 - ช่วยลดต้นทุนในการผลิตในระยะยาว/ค่ายารักษาสัตว์ - เพิ่มผลผลิต และมีคุณภาพเพิ่มมากขึ้น
สกว.-56-005 : การพัฒนารูปแบบชุมชนและที่อยู่อาศัยของผู้มีรายได้น้อยในจังหวัดเชียงใหม่เพื่อรับมือกับความเสี่ยงจากการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ : กรณีศึกษาน้ำท่วม
รองศาสตราจารย์ ดร. ณัชวิชญ์ ติกุล(100)
2556  : 1274130 บาท (งบประมาณภายนอกสถาบัน)
ใช้ประกอบในการออกแบบที่อยู่อาศัยสำหรับผู้มีรายได้น้อยตามโครงการบ้านมั่นคง สถาบันองค์กรชุมชน (องค์การมหาชน) 08/06/2563- 31/10/2565 ชุมชนที่อาศัยอยู่มีการจัดการที่อยู่อาศัยให้สอดคล้องกับบริบทที่มีแบบบ้านที่สามารถปรับเปลี่ยนพื้นที่การใช้งาน ตามการอยู่อาศัยและตามสภาพของแต่ละวัย สอดคล้องกับผู้อยู่อาศัยในชุมชน
รองศาสตราจารย์ ดร. ณัชวิชญ์ ติกุล(100)
2556  : 1274130 บาท (งบประมาณภายนอกสถาบัน)
1. เทศบาลตำบลหนองหาร กองช่าง 2. ใช้เป็นความรู้และหลักการการก่อสร้างของชุมชน 5 หมู่บ้าน 3. นำไปประชาสัมพันธ์แก่ชุมรม อปท.อำเภอสันทราย 12 ตำบล เทศบาลตำบลหนองหาร 01/06/2563- 10/10/2566 กองช่างเทศบาลตำบลหนองหารและชุมชนใช้เป็นแนวทางในการตัดสินใจและความถูกต้อง ก่อให้เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผล
คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยี
OT-64-038 : ผลของสารสกัดจากเปลือกทับทิมและใบฝรั่งในการยับยั้งเชื้อ E.coli ดื้อยาจากลูกสุกรท้องเสีย
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สัตวแพทย์หญิง ดร. กฤดา ชูเกียรติศิริ(35)
นาย กิตติพงษ์ ทิพยะ(30)
2564  : 50000 บาท (ทุนส่วนตัว)
สามารถลดการใช้ยาปฏิชีวนะในฟาร์มและปลอดภัยกับผู้บริโภคเนื้อหมูในฟาร์ม ฟาร์มสุข 01/01/2564- 30/09/2564
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สัตวแพทย์หญิง ดร. กฤดา ชูเกียรติศิริ(35)
นาย กิตติพงษ์ ทิพยะ(30)
2564  : 50000 บาท (ทุนส่วนตัว)
ลดการสูญเสียและเพิ่มผลผลิตสุกร นายประชา เวชพนาพงษ์ 01/01/2565- 31/08/2565
วช.-64-013.3 : การพัฒนาระบบการเลี้ยงและรับรองมาตรฐานการเลี้ยงไก่กระดูกดำที่ดีของชุมชนเกษตรกรเพื่อมุ่งสู่ปศุสัตว์อินทรีย์
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สัตวแพทย์หญิง ดร. กฤดา ชูเกียรติศิริ(100)
2564  : 800000 บาท (งบประมาณภายนอกสถาบัน)
เพื่อเป็นแนวทางในการยื่นขอรับรองมาตรฐานฟาร์มและทำให้พบโรคในฟาร์มลดลง ธิชพลฟาร์ม /กลุ่มเกษตรกรผู้เลี้ยงไก่ดำ อ.แม่อาย 01/01/2564- 30/09/2564
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สัตวแพทย์หญิง ดร. กฤดา ชูเกียรติศิริ(100)
2564  : 800000 บาท (งบประมาณภายนอกสถาบัน)
กลุ่มเกษตรกรผู้เลี้ยงไก่กระดูกดำฝาง ได้นำผลงานวิจัยไปเผยแพร่สู่เกษตรกรผู้เลี้ยงไก่กระดูกดำ เพื่อเพิ่มพูนองค์ความรู้และยกระดับการผลิตไก่กระดูกดำเพื่อเข้าสู่การรับรองมาตรฐานการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี กลุ่มเกษตรกรผู้เลี้ยงไก่กระดูกดำฝาง 01/10/2565- 30/09/2566
มจ.1-63-07-002 : เภสัชภัณฑ์จากน้ำมันหอมระเหยในการกำจัดเห็บโค
นาย อภิชาติ หมั่นวิชา(50)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สัตวแพทย์หญิง ดร. กฤดา ชูเกียรติศิริ(20)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. วิวัฒน์ พัฒนาวงศ์(10)
2563  : 350000 บาท (งบประมาณภายในสถาบัน)
สามารถลดการใช้ยาฆ่าแมลงในการกำจัดพยาธิภายนอกในโคได้ดี นายนิยม อรณา 01/01/2565- 31/08/2565
นาย อภิชาติ หมั่นวิชา(50)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สัตวแพทย์หญิง ดร. กฤดา ชูเกียรติศิริ(20)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. วิวัฒน์ พัฒนาวงศ์(10)
2563  : 350000 บาท (งบประมาณภายในสถาบัน)
นำมาใช้กำจัดเห็บโค นายสุพร ศรีประเทืองชัย 06/01/2566- 31/03/2566
นาย อภิชาติ หมั่นวิชา(50)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สัตวแพทย์หญิง ดร. กฤดา ชูเกียรติศิริ(20)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. วิวัฒน์ พัฒนาวงศ์(10)
2563  : 350000 บาท (งบประมาณภายในสถาบัน)
นำงานวิจัยไปเผยแพร่และส่งเสริมให้ชุมชน และเกษตรกรในชุมชน นำผลิตภัณฑ์ที่ทำมาจากสมุนไพร เพื่อทดแทนการใช้สารเคมีในการกำจัดเห็บโค ในกลุ่มวิชาสหกิจชุมชนบ่อแก้วการเกษตร นายเทวัญ พีรประเสริญศักดิ์ เจ้าของฟาร์ม 01/01/2568- 30/09/2568
มจ.1-63-07-001 : เภสัชภัณฑ์จากน้ำมันหอมระเหยในการกำจัดเหาและไรในไก่พื้นเมือง
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สัตวแพทย์หญิง ดร. กฤดา ชูเกียรติศิริ(50)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ประภากร ธาราฉาย(30)
2563  : 190000 บาท (งบประมาณภายในสถาบัน)
สำนักงานปศุสัตว์ เขต 4 14/01/2564- 30/09/2564
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สัตวแพทย์หญิง ดร. กฤดา ชูเกียรติศิริ(50)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ประภากร ธาราฉาย(30)
2563  : 190000 บาท (งบประมาณภายในสถาบัน)
สามารถลดการใช้ยาฆ่าแมลงเพื่อกำจัดพยาธิภายนอกในฟาร์ม และปลอดภันกับปู้บริโภคเนื้อไก่ที่ผลิตจากฟาร์ม ฟาร์มสุข 01/01/2564- 30/09/2564
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สัตวแพทย์หญิง ดร. กฤดา ชูเกียรติศิริ(50)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ประภากร ธาราฉาย(30)
2563  : 190000 บาท (งบประมาณภายในสถาบัน)
สามารถลดการใช้ยาฆ่าแมลงในการกำจัดพยาธิภายนอกในไก่ได้ ว่าที่ร้อยตรีศาสตรา พิมพ์จินดา 01/06/2565- 31/08/2565
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สัตวแพทย์หญิง ดร. กฤดา ชูเกียรติศิริ(50)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ประภากร ธาราฉาย(30)
2563  : 190000 บาท (งบประมาณภายในสถาบัน)
นายสุพร ศรีประเทืองชัย 06/01/2566- 31/03/2566
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สัตวแพทย์หญิง ดร. กฤดา ชูเกียรติศิริ(50)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ประภากร ธาราฉาย(30)
2563  : 190000 บาท (งบประมาณภายในสถาบัน)
นำงานวิจัยไปเผยแพร่และส่งเสริมให้ชุมชนได้ใช้ผลิตภัณฑ์จากธรรมชาติทดแทนการใช้สารเคมีในการกำจัดพยาธิภายนอก ในไก่พื้นเมือง โดยกลุ่มวิสาหกิจชุมชนเลี้ยงไก่ดำแม่อาย จังหวัดเชียงใหม่ กลุ่มวิสาหกิจ การเลี้ยงไก่ดำแม่อาย 01/01/2568- 30/09/2568
มจ.1-62-01-028 : การผลิตลูกโคเนื้อคุณภาพสูงจากแม่โคนมคัดทิ้งด้วยเทคนิคการผสมเทียมแบบกำหนดเวลา
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. วิวัฒน์ พัฒนาวงศ์(70)
2562  : 1195950 บาท (งบประมาณภายในสถาบัน)
สามารถแก้ไขปัญหาและยกระดับโคเนื้อในพื้นที่ได้ วิสาหกิจชุมชน จังหวัดศรีสะเกษ 01/01/2565- 30/09/2565
1.วิสาหกิจชุมชนกลุ่มข้าวโคขุน ศรีษะเกษ.pdf
2.อบต.โนนสำราญ ศรีษะเกษ.pdf
3.อบต.บึงมะลู ศรีษะเกษ.pdf
4.วิสาหกิจชุมชนบ้านเฮา ศรีสะเกษ.pdf
5.วิสาหกิจชุมชนเกษตรกรเลี้ยงโคขุน-โคเนื้อ ศรีษะเกษ.pdf
6.วิสาหกิจชุมชนบ้านแกงเลี้ยว ศรีษะเกษ.pdf
7.วิสาหกิจโคเนื้อบ้านเชวา ศรีษะเกษ.pdf
8.อบต.ละเอาะ ศรีษะเกษ.pdf
9.สนง.ต.หนองใหญ่ ศรีษะเกษ.pdf
10.วิสาหกิจชุมชน บ้านละอาง ศรีษะเกษ.pdf
มจ.1-53-018 : การผสมเทียมโคนมด้วยน้ำเชื้อโคนมแช่แข็งที่ผ่านกระบวนการคัดเพศเมียด้วยปฏิกิริยาไซโตทอกซิคซิตี้
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. วิวัฒน์ พัฒนาวงศ์(40)
รองศาสตราจารย์ ดร. ญาณิน โอภาสพัฒนกิจ(15)
2553  : 120000 บาท (งบประมาณภายในสถาบัน)
แก้ไขปัญหาและยกระดับการผลิตโคเนื้อ วิสาหกิจชุมชน จังหวัดศรีสะเกษ 01/10/2564- 30/09/2565
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. วิวัฒน์ พัฒนาวงศ์(40)
รองศาสตราจารย์ ดร. ญาณิน โอภาสพัฒนกิจ(15)
2553  : 120000 บาท (งบประมาณภายในสถาบัน)
แก้ไขปัญหาและยกระดับการผลิตโคเนื้อในพื้นที่ วิสาหกิจชุมชน จังหวัดศรีสะเกษ 01/10/2564- 30/09/2565
คณะสารสนเทศและการสื่อสาร
มจ.2-63-078 : ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจเข้าศึกษาต่อระดับปริญญาตรีมหาวิทยาลัยแม่โจ้
น.ส. อุรัชชา สุวพานิช(100)
2563  : 50000 บาท (งบประมาณภายในสถาบัน)
นำผลการวิจัยฯ และข้อเสนอแนะจากการวิจัยฯ ไปปรับใช้ในการดำเนินการรับนักศึกษา ประจำปีการศึกษา 2565 ฝ่ายทะเบียนและบริการการศึกษา สำนักบริหารและพัฒนาวิชาการ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ 01/12/2564- 31/10/2565 สนับสนุนการดำเนินงานของหน่วยงานตามวัตถุประสงค์ของงานวิจัยฯ
ฟาร์มมหาวิทยาลัย
มจ.1-53-037/54-015 : การรวบรวมและศึกษาลักษณะประจำพันธุ์ของแตงไทยในเขต ภาคเหนือตอนบนของประเทศไทย
อาจารย์ ดร. แสงเดือน อินชนบท(95)
2554  : 265000 บาท (งบประมาณภายในสถาบัน)
กำหนดแผนการปลูกและดูแลรักษา สายพันธุ์ที่เหมาะสมในพื้นที่ชุมชนและฤดูกาล เพื่อการผลิตจำหน่าย สามารถเป็นวิทยากรชุมชนถ่ายทอดความรู้ ให้แก่เกษตรกรในชุมชน กลุ่มผู้ปลูกผักปลอดภัย ตำบลแม่แฝก 01/10/2563- 31/12/2565
มจ.1-53-037 : การรวบรวมและศึกษาลักษณะประจำพันธุ์ของแตงไทยในเขตภาคเหนือตอนบนของประเทศไทย
อาจารย์ ดร. แสงเดือน อินชนบท(80)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดำเกิง ป้องพาล(10)
นาย ปรีชา รัตนัง(10)
2553  : 180000 บาท (งบประมาณภายในสถาบัน)
กำหนดแผนการปลูกและดูแลรักษา สายพันธุ์ที่เหมาะสมในพื้นที่ชุมชนและฤดูกาล เพื่อการผลิตจำหน่าย สามารถเป็นวิทยากรชุมชนถ่ายทอดความรู้ ให้แก่เกษตรกรในชุมชน กลุ่มผู้ปลูกผักปลอดภัย ตำบลแม่แฝก 01/10/2563- 31/12/2565
มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร
มจ.1-64-010.3 : การพัฒนาบรรจุภัณฑ์และตราสินค้าผลิตภัณฑ์ทุเรียนแปรรูปเพื่อส่งเสริมการขายในอำเภอทุ่งตะโก จังหวัดชุมพร
อาจารย์ ดร. ชรินทร ศรีวิฑูรย์(100)
2564  : 350000 บาท (งบประมาณภายในสถาบัน)
พัฒนาบรรจุภัณฑ์และป้ายฉลากผลิตภัณฑ์ทุเรียนแปรรูปเพื่อส่งเสริมการขาย และพัฒนารูปแบบผลิตภัณฑ์ทุเรียนกวนพร้อมบรรจุภัณฑ์และตราสินค้าเป็นผลิตภัณฑ์ต้นแบบ เพื่อให้ผู้ประกอบการชุมชนนำไปใช้ประโยชน์ต่อไปเพื่อเพิ่มมูลค่าให้กับผลิตภัณฑ์ของชุมชนส่งผลให้กลุ่มเกษตรกร และ/หรือผู้ที่จำหน่ายสินค้าทุเรียนแปรรูปมีคุณภาพที่ดีขึ้น ผู้ประกอบการชุมชน 07/06/2565- 07/06/2565 ได้นำต้นแบบบรรจุภัณฑ์และตราสินค้าไปใช้ประโยชน์เชิงพาณิชย์อย่างต่อเนื่องจนถึงปัจจุบัน
มจ.1-64-010.2 : ประสิทธิภาพผลิตภัณฑ์สารสกัดแซนโทนจากเปลือกมังคุดยับยั้งการเกิดโรคในทุเรียนเพื่อเข้าสู่มาตรฐานเกษตรอินทรีย์ -
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. มัลลิกา จินดาซิงห์(40)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. สุทธิรักษ์ ผลเจริญ(50)
อาจารย์ ปิยนุช จันทรัมพร(5)
2564  : 950000 บาท (งบประมาณภายในสถาบัน)
ลดการใช้สารเคมีในการป้องกันกำจัดโรคระบาดในทุเรียน สามารถป้องกันกำจัดโรคระบาดในทุเรียนได้อย่างม่ีประสิทธิภาพ ลดค่าใช้จ่าย ต้นทุนในการผลิต ปลอดภัยต่อผู้ใช้ กลุ่มวิสาหกิจการจัดการไม้ผลบ้านห้วยไทร 30/09/2564- 30/09/2564
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. มัลลิกา จินดาซิงห์(40)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. สุทธิรักษ์ ผลเจริญ(50)
อาจารย์ ปิยนุช จันทรัมพร(5)
2564  : 950000 บาท (งบประมาณภายในสถาบัน)
1. นำไปใช้ในการป้องกันกำจัดโรคและแมลงในทุเรียน 2. ใช้ในการป้องกันและกำจัดโรคในสัตว์ 3. การผลิตสัตว์ในระบบอินทรีย์ ปศุสัตว์อำเภอพะโต๊ะ 01/01/2562- 31/12/2566 1. ลดการใช้สารเคมีในพื้นที่ 2. สร้างรายได้ให้กับชุมชนจากการขายผลิตภัณฑ์สารสกัด Xanthone 3. ลดรายจ่ายจากการซื้อสารเคมี
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. มัลลิกา จินดาซิงห์(40)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. สุทธิรักษ์ ผลเจริญ(50)
อาจารย์ ปิยนุช จันทรัมพร(5)
2564  : 950000 บาท (งบประมาณภายในสถาบัน)
1.นำไปใช้ในการป้องกันกำจัดโรคและแมลงในทุเรียน 2.ใช้ในการป้องกันและกำจัดโรคในสัตว์ 3.การผลิตตสัตว์ในระบบอินทรีย์ ปศุสัตว์อำเภอพะโต๊ะ 01/01/2563- 31/12/2567 1.ลดการใช้สารเคมีในพิ้นที่ 2.เพิ่มรายได้ให้กับชุมชนจากการขายผลิตภัณฑ์สารสกัด Xanthone 3.ลดรายจ่ายจากการซื้อสารเคมี
มจ.1-64-010.1 : เทคโนโลยีการให้น้ำแบบอัจฉริยะ (Smart Farm) ที่มีผลต่อผลผลิตของทุเรียนในฤดูแล้ง
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. สุทธิรักษ์ ผลเจริญ(50)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. มัลลิกา จินดาซิงห์(40)
อาจารย์ ประสาทพร กออวยชัย(5)
2564  : 950000 บาท (งบประมาณภายในสถาบัน)
ได้รับระบบ Smart Farm ในการให้น้ำในสวนทุเรียน และได้รับองค์ความรู้ในการจัดการน้ำในสวนทุเรียน สวนเกษตรแม่พร 30/09/2564- 30/09/2564
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. สุทธิรักษ์ ผลเจริญ(50)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. มัลลิกา จินดาซิงห์(40)
อาจารย์ ประสาทพร กออวยชัย(5)
2564  : 950000 บาท (งบประมาณภายในสถาบัน)
1.เพื่อถ่ายทอดองค์ความรู้และเทคโนโลยีการบริหารจัดการระบบการให้น้ำแบบอัจฉริยะในสวนทุเรียน 2.เพื่อสร้างต้นแบบสวนทุเรียนที่มีระบบการให้น้ำแบบอัจฉริยะให้แก่ชุมชน 3.เพื่อช่วยแก้ปัญหาการขาดแคลนน้ำในสวนทุเรียนช่วงแล้งที่ส่งผลให้ทุเรียนยืนต้นตายให้กับพื้นที่ วิสาหกิจการจัดการผลไม้บ้านห้วยไทร 01/01/2563- 31/12/2567 องค์ความรู้ด้านบริหารจัดการน้ำให้แก่เกษตรกร แก้ปัญหาการขาดน้ำของทุเรียนที่ยืนต้นตายซึ่งเป็นการลดรายจ่ายในช่วงแล้งที่เกษตรกรต้องเสียต้นทุนค่าใช้จ่ายในการซื้อน้ำ สามรถแก้ปัญหาให้กับ้กษตรกรได้ถึงร้อยละ50 ลดการร่วงของดอกทุเรียน เพิ่มการติดดอกออกผลให้กับทุเรียน ทำให้สามารถเพิ่มผลผลิตทุเรียนและส่งผลให้เกษตรกรมีรายได้เพิ่มขึ้น ร้อยละ30 เกิดเป็นต้นแบบแปลงระบบให้น้ำแบบอัจฉริยะแก่ชุมชน ช่วยให้สามารถยกระดับผลผลิต ใช้ปัจจัยการผลิตที่มีประสิทธิภาพ และมีการแก้ปัญหาที่ถูกต้องแม่นยำ
มจ.1-64-009.3 : การเชื่อมโยงเส้นทางการท่องเที่ยวโดยชุมชนกับแหล่งท่องเที่ยวหลักภายในจังหวัดชุมพร
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ เบญจมาศ ณ ทองแก้ว(50)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ อำนาจ รักษาพล(35)
อาจารย์ ดร. จุฑามาส เพ็งโคนา(15)
2564  : 787555 บาท (งบประมาณภายในสถาบัน)
นำผลงานวิจัยไปใช้เป็นข้อมูลในการประชาสัมพันธ์ข้อมูลแหล่งท่องเที่ยว การจัดกิจกรรมท่องเที่ยวและสิ่งอำนวยความสะดวกต่างๆ ส่งเสริมการตลาดให้เกิดการท่องเที่ยวในพื้นที่จังหวัดชุมพร เพื่อสร้างการรับรู้และผลักดันให้เกิดการบอกต่อข้อมูลแหล่งท่องเที่ยว/กิจกรรมท่องเที่ยว และกระตุ้นให้นักท่องเที่ยวออกเดินทางท่องเที่ยวมายังจังหวัดชุมพรเพิ่มมากขึ้น การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย (ททท.) สำนักงานชุมพร 23/06/2565- 23/06/2565 ยกระดับคุณค่าทางการท่องเที่ยวภายในเส้นทางท่องเที่ยวหรือใช้ประโยชน์ผลงานวิจัยในการพัฒนาเส้นทางท่องเที่ยวให้สามารถพร้อมขาย และมีการรองรับการท่องเที่ยวต่อไปในอนาคต
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ เบญจมาศ ณ ทองแก้ว(50)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ อำนาจ รักษาพล(35)
อาจารย์ ดร. จุฑามาส เพ็งโคนา(15)
2564  : 787555 บาท (งบประมาณภายในสถาบัน)
มุ่งส่งเสริมคุณค่าฐานทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม และวัฒนธรรมที่เอื้อต่อการพัฒนาการท่องเที่ยว ควบคู่กับสร้างโอกาสและกระตุ้นเศรษฐกิจระดับท้องถิ่นโดยการสร้างงาน สร้างรายได้ และส่งเสริมการจำหน่ายสินค้าและผลิตภัณฑ์ของประชาชนในชุมชนท้องถิ่น ด้านการพัฒนาเส้นทางการท่องเที่ยวโดยชุมชนเชื่อมโยงกับแหล่งท่องเที่ยวหลักอื่นๆ ภายในจังหวัดชุมพร และจังหวัดใกล้เคียง สมาคมการท่องเที่ยวโดยชุมชนจังหวัดชุมพร 01/01/2565- 30/09/2566
มจ.1-64-009.2 : การยกระดับการท่องเที่ยวเชิงเกษตรสู่ความเป็นเมืองสุขภาวะที่ดีภายในจังหวัดชุมพร
อาจารย์ ดร. จิระศักดิ์ วิชาสวัสดิ์(50)
อาจารย์ ดร. ณัชพัฒน์ สุขใส(15)
อาจารย์ ดร. ฉันทวรรณ เอ้งฉ้วน(15)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ อำนาจ รักษาพล(10)
2564  : 787555 บาท (งบประมาณภายในสถาบัน)
ประยุกต์ใช้กับการพัฒนากลไกการขับเคลื่อนเครือข่ายการท่องเที่ยวโดยชุมชนจังหวัดชุมพร และการสร้างองค์ความรู้ พัฒนาเครือข่ายแหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตรจังหวัดชุมพร ศูนย์การเรียนรู้บ้านน้อยกลางป่าใหญ่ 01/01/2565- 29/09/2566 กระบวนการในการสร้างพื้นที่บูรณาการระหว่างหน่วยงานภาคีเครือข่าย เพื่อหนุนเสริมการท่องเที่ยวโดยชุมชนจังหวัดชุมพร ให้เกิดขึ้นเป็นรูปธรรม อันประกอบด้วย หน่วยงาน ภาครัฐ ภาคเอกชน NGOs สื่อสารมวลชน และมหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร
อาจารย์ ดร. จิระศักดิ์ วิชาสวัสดิ์(50)
อาจารย์ ดร. ณัชพัฒน์ สุขใส(15)
อาจารย์ ดร. ฉันทวรรณ เอ้งฉ้วน(15)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ อำนาจ รักษาพล(10)
2564  : 787555 บาท (งบประมาณภายในสถาบัน)
ส่งเสริมอาชีพให้เกษตรกร การทำปุ๋ยหมักอินทรีย์ สร้างรายได้ให้แก่ชุมชนและผู้ที่สนใจ ให้ความรู้ในการทำปุ๋ยหมัก ปุ๋ยอินทรีย์ สำหรับปลูกพืชแบบเกษตรอินทรีย์ สำนักงานคุมประพฤติ 13/09/2567- 13/09/2567 การประยุกต์ใช้และอบรมผูที่สนใจ
มจ.1-64-009.1 : การปรับตัวสู่การเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศต่อความมั่นคงทางอาหารภายในแหล่งท่องเที่ยวโดยชุมชนบริเวณชายฝั่งทะเลจังหวัดชุมพร
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. พรพิมล พิมลรัตน์(40)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ เบญจมาศ ณ ทองแก้ว(10)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ อำนาจ รักษาพล(10)
2564  : 708355 บาท (งบประมาณภายในสถาบัน)
นำข้อมูลจากผลการวิจัยไปใช้เป็นแนวทางในการป้องกันและลดความเสียหายที่เกิดขึ้นจากการเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศและคุณภาพน้ำ เพื่อให้เกษตรกรผู้ประกอบอาชีพท่องเที่ยวชุมชนชายฝั่งทะเลจังหวัดชุมพรมีแนวทางในการปรับตัวและรับมือกับการเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศในการปรับตัวเพื่อลดความเสี่ยงในการขาดความมั่นคงทางอาหารจากสภาพอากาศที่มีการเปลี่ยนแปลงในปัจจุบัน กลุ่มการท่องเที่ยวโดยชุมชนเกาะพิทักษ์ 01/12/2564- 31/12/2565 1. เกิดการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวและกระบวนการมีส่วนร่วมในการจัดการด้านทรัพยากรของการท่องเที่ยวโดยชุมชนเพิ่มมากขึ้น 2. สามารถนำข้อมูลคุณภาพน้ำในพื้นที่แหล่งท่องเที่ยวชุมชนชายฝั่งทะเลจังหวัดชุมพร จำนวน 3 สถานี เป็นระยะเวลา 9 เดือน ทั้ง 14 พารามิเตอร์ คือ ค่าอุณหภูมิน้ำ อุณหภูมิอากาศ ความเค็ม ความเข้มแสง ค่าความโปร่งใส ค่าความเป็นกรดด่าง ค่าออกซิเจนที่ละลายน้ำ ค่าความเป็นด่าง ปริมาณแอมโมเนียรวม ปริมาณไนไตรท์ ปริมาณไนเตรท ปริมาณออร์โธฟอสเฟต ค่าของแข็งแขวนลอย และปริมาณคลอโรฟิลล์เอ ไปบริหารจัดการแหล่งท่องเที่ยวชุมชนชายฝั่งทะเลจังหวัดชุมพรได้อย่างถูกต้อง 3. เกษตรกรผู้ประกอบอาชีพท่องเที่ยวชุมชนชายฝั่งทะเลจังหวัดชุมพรมีแนวทางในการปรับตัวและรับมือกับการเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศในการปรับตัวเพื่อลดความเสี่ยงในการขาดความมั่นคงทางอาหารจากสภาพอากาศที่มีการเปลี่ยนแปลงในปัจจุบัน
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. พรพิมล พิมลรัตน์(40)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ เบญจมาศ ณ ทองแก้ว(10)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ อำนาจ รักษาพล(10)
2564  : 708355 บาท (งบประมาณภายในสถาบัน)
1. การใช้ประโยชน์เชิงพาณิชย์ ใช้เป็นเครื่องมือในการประชาสัมพันธ์แหล่งท่องเที่ยว 2. การใช้ประโยชน์เชิงนโยบาย ได้แนวทางในการปรับตัวและวิธีปฏิบัติที่มีประสิทธิภาพเพื่อลดความเสียหายที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศและคุณภาพน้ำ ทำให้เกิดความยั่งยืนในการบริหารจัดการความมั่นคงทางอาหารของแหล่งท่องเที่ยว สามารถนำข้อมูลจากงานวิจัยไปประกอบการพิจารณาในการกำหนดยุทธศาสตร์ความมั่นคงทางอาหารของแหล่งท่องเที่ยวชุมชนชายฝั่งทะเลภายใต้การเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศในปัจจุบัน 3. การใช้ประโยชน์เชิงวิชาการ โดยประมงอำเภอ ประมงจังหวัด นักวิชาการทางทะเลและชายฝั่ง กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง หน่วยงานรัฐ ได้แก่ กรมประมง และหน่วยงานส่งเสริมทางการเกษตร ได้มีการนำข้อมูลคุณภาพน้ำมในพื้นที่แหล่งท่องเที่ยวชุมชนชายฝั่งทะเลจังหวัดชุมพร จำนวน 3 สถานี เป็นระยะเวลา 12 เดือน ทั้ง 14 พารามิเตอร์ คือค่าอุณหภูมิน้ำอุณภูมิอากาศ ความเค็ม ความเข้มแสง ค่าความโปร่งใส ค่าความเป็นกรดด่าง ค่าออกซิเจนที่ละลายน้ำ ค่าความเป็นด่าง ปริมาณแอมโมเนียรวม ปริมาณไนไตรท์ ปริมาณไนเตรท ปริมาณออร์โธฟอสเฟต ค่าของแข็งแขวนลอย และปริมาณคลอโรฟิลล์เอ ไปบริหารจัดการแหล่งท่องเที่ยวชุมชนชายฝั่งทะเลจังหวัดชุมพร ได้อย่างถูกต้อง เครือข่ายการท่องเที่ยวโดยชุมชนอำเภอสวี โฮมสเตย์ท้องตมใหญ่ 01/10/2565- 31/12/2566 นำข้อมูลการเปลี่ยนแปลงคุณภาพน้ำและปริมาณคลอโรฟิลล์เอ ของชายฝั่งทะเลชุมพร มาใช้อธิบายเพื่อสร้างความเข้าใจประเด็นของการเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศต่อคุณภาพน้ำและปริมาณทรัพยากรสัตว์น้ำชายฝั่งแก่เยาวชน รวมถึงใช้เป็นแนวทางกำหนดข้อบังคับร่วมกันในการใช้ทรัพยากรชายฝั่งของชุมชนโดยรอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. พรพิมล พิมลรัตน์(40)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ เบญจมาศ ณ ทองแก้ว(10)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ อำนาจ รักษาพล(10)
2564  : 708355 บาท (งบประมาณภายในสถาบัน)
นำข้อมูลการเปลี่ยนแปลงคุณภาพน้ำและปริมาณคลอโรฟิลล์เอ ของชายฝั่งทะเลชุมพร มาใช้อธิบายเพื่อสร้างความเข้าใจประเด็นของการเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศต่อคุณภาพน้ำและปริมาณทรัพยากรสัตว์น้ำชายฝั่งแก่เยาวชน รวมถึงใช้เป็นแนวทางกำหนดข้อบังคับร่วมกันในการใช้ทรัพยากรชายฝั่งของชุมชนโดยรอบ ศูนย์เรียนรู้อนุรักษ์ทรัพยากรและท่องเที่ยววิถีชุมชนชาวประมงบ้านกลางอ่าว 23/04/2567- 31/12/2567 1. การใช้ประโยชน์เชิงพาณิชย์ ใช้เป็นเครื่องมือในการประชาสัมพันธ์แหล่งท่องเที่ยว 2.การใช้ประโยชน์เชิงนโยบาย ได้แนวทางในการปรับตัวและวิธีปฏิบัติที่มีประสิทธิภาพเพื่อลดความเสียหายที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศและคุณภาพน้ำ ทำให้เกิดความยั่งยืนในการบริหารจัดการความมั่นคงทางอาหารของแหล่งท่องเที่ยว สามารถนำข้อมูลจากงานวิจัยไปประกอบการพิจารณาในการกำหนดยุทธศาสตร์ความมั่นคงทางอาหารของแหล่งท่องเที่ยวชุมชนชายฝั่งทะเลภายใต้การเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศในปัจจุบัน 3.การใช้ประโยชน์เชิงวิชาการ โดยประมงอำเภอ ประมงจังหวัด นักวิชาการทางทะเลและชายฝั่ง กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง หน่วยงานรัฐ ได้แก่ กรมประมง และหน่วยงานส่งเสริมทางการเกษตร ได้มีการนำข้อมูลคุณภาพน้ำในพื้นที่แหล่งท่องเที่ยวชุมชนชายฝั่งทะเลจังหวัดชุมพร จำนวน 3 สถานี เป็นระยะเวลา 12 เดือน ทั้ง 14 พารามิเตอร์ คือ ค่าอุณหภูมิน้ำ อุณหภูมิอากาศ ความเค็ม ความเข้มแสง ค่าความโปร่งใส ค่าความเป็นกรดด่าง ค่าออกซิเจนที่ละลายน้ำ ค่าความเป็นด่าง ปริมาณแอมโมเนียรวม ปริมาณไนไตรท์ ปริมาณไนเตรท ปริมาณออร์โธฟอสเฟต ค่าของแข็งแขวนลอย และปริมาณคลอโรฟิลล์เอ ไปบริหารจัดการแหล่งท่องเที่ยวชุมชนชายฝั่งทะเลจังหวัดชุมพรได้อย่างถูกต้อง
มจ.1-64-009 : การส่งเสริมการท่องเที่ยวแบบบูรณาการเพื่อการยกระดับการท่องเที่ยวโดยชุมชนจังหวัดชุมพร
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ อำนาจ รักษาพล(60)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ เบญจมาศ ณ ทองแก้ว(40)
2564  : 4301200 บาท (งบประมาณภายในสถาบัน)
นำผลงานวิจัยไปใช้ในการประชาสัมพันธ์ข้อมูลแหล่งท่องเที่ยว การจัดกิจกรรมท่องเที่ยวและสิ่งอำนวยความสะดวกต่างๆ ส่งเสริมการตลาดให้เกิดการเดินทางท่องเที่ยวในพื้นที่จังหวัดชุมพร เพื่อสร้างการรับรู้และผลักดันให้เกิดการบอกต่อข้อมูลแหล่งท่องเที่ยว/กิจกรรมท่องเที่ยว และกระตุ้นให้นักท่องเที่ยวออกเดินทางท่องเที่ยวมายังจังหวัดชุมพรเพิ่มมากขึ้น การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย (ททท.) สำนักงานชุมพร 23/06/2565- 23/06/2565 เพื่อนำไปยกระดับให้เกิดคุณค่าทางการท่องเที่ยวภายในเส้นทางท่องเที่ยวหรือใช้ประโยชน์ผลงานวิจัยในการพัฒนาเส้นทางการท่องเที่ยวให้สามารถพร้อมขาย และมีการรองรับการท่องเที่ยวต่อไปในอนาคต นั้น
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ อำนาจ รักษาพล(60)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ เบญจมาศ ณ ทองแก้ว(40)
2564  : 4301200 บาท (งบประมาณภายในสถาบัน)
ประยุกต์ใช้กับการพัฒนากลไกการขับเคลื่อนเครือข่ายการท่องเที่ยวโดยชุมชนจังหวัดชุมพร เป็นกระบวนการในการสร้างพื้นที่บูรณาการระหว่างหน่วยงานภาคิเครือข่ายเพื่อหนุนเสริมการท่องเที่ยวโดยชุมชนจังหวัดชุมพร ให้เกิดขึ้นเป็นรูปธรรม อันประกอบด้วย หน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน NGOs สื่อสารมวลชน และสถาบันศึกษา สมาคมการท่องเที่ยวโดยชุมชนจังหวัดชุมพร 01/01/2566- 30/09/2566 การถ่ายทอดองค์ความรู้สหวิชาการ เช่น ด้านการท่องเที่ยว ด้านการประมง/เพาะเลี้ยงสัตว์น้ำชายฝั่ง ด้านเทคโนโลยีการผลิตพืช เพื่อส่งเสริมคุณค่าฐานทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม และวัฒนธรรมที่เอื้อต่อการพัฒนาการท่องเที่ยวโดยชุมชน
วช.-63-002 : การถ่ายทอดเทคโนโลยีการเพาะฟักจับปิ้งไข่ปูม้าเพื่อปล่อยคืนสู่ธรรมชาติ (ระยะที่ 2)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ยุทธนา สว่างอารมย์(40)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. กมลวรรณ ศุภวิญญู(30)
อาจารย์ ดร. บุญศิลป์ จิตตะประพันธ์(10)
นาง ณิชาพล บัวทอง(10)
2563  : 5000000 บาท (งบประมาณภายนอกสถาบัน)
การจัดทำธนาคารปูม้า การปล่อยลูกปูม้าคืนสู่ธรรมชาติ เพื่อนำลูกปูม้าแรกฟักมาปล่อยคืนสู่ธรรมชาติ ทำให้เพิ่มทรัพยากรปูม้าในทะเล และชาวประมงในเพื่อที่ได้จับปูม้าขาย ก่อให้เกิดรายได้เพิ่มขึ้น ธนาคารปูม้าบ้านท้องโตนด 01/10/2565- 30/09/2566 การอนุรักษ์ทรัพยากรปูม้า
มจ.1-60-080 : การศึกษาสารพิษตกค้างทางการเกษตรในดินสวนทุเรียน เพื่อเข้าสู่การปรับเปลี่ยนการผลิตแบบอินทรีย์
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. สุทธิรักษ์ ผลเจริญ(60)
อาจารย์ ประสาทพร กออวยชัย(20)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. มัลลิกา จินดาซิงห์(20)
2560  : 330000 บาท (งบประมาณภายในสถาบัน)
นำความรู้มาเผยแพร่ผ่านทางการอบรมเชิงปฏิบัติ เรื่อง การผลิตสารชีวภัณฑ์เพื่อใช้ในการกำจัดศัตรูพืช ณ กลุ่มวิสาหกิจมังคุดร่วมใจ วิสาหกิจชุมชนมังคุดร่วมใจ 06/07/2565- 20/09/2565 ทางกลุ่มได้นำเทคนิค ส่วนผสม และวิธีการผลิต มาใช้ปรับปรุงคุณภาพของสารชีวภัณฑ์ต่อไป โดยจากการนำสารชีวภัณฑ์ที่ผลิตได้ไปทดลองใช้ในแปลงผักอินทรีย์ ปรากฏว่า สารชีวภัณฑ์สามารถใช้ป้องกันและกำจัดโรคพืชและศัตรูพืชได้เป็นอย่างดี
มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ
บริษัท บี สมาร์ท ไอเดีย.-65-001 : การผลิตปุ๋ยมูลช้างเพื่อใช้ในเชิงพาณิชย์
2565  : 20000 บาท (งบประมาณภายนอกสถาบัน)
1. เกิดผลิตภัณฑ์ใหม่ให้กับผู้ประกอบการและสามารถสร้างรายได้ให้กับผู้ประกอบการมากขึ้น 2. สร้างรายได้ให้กับผู้ประกอบการ และมีประโยชน์สำหรับการพัฒนาสูตรปุ๋ยอื่น ๆ ต่อไป บริษัท บี สมาร์ท ไอเดีย จำกัด อ.เมือง จ.แพร่ 01/11/2564- 30/09/2565
OT-65-001 : การพัฒนาผลิตภัณฑ์ทองม้วนรสกล้วย
อาจารย์ ดร. พัตรเพ็ญ เพ็ญจำรัส(50)
อาจารย์ ดร. สุภารัตน์ อำนาจ(25)
2565  : 10000 บาท (ทุนส่วนตัว)
ทักษะอาชีพแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร ชุมชนตำบลเด่นชัย จ.แพร่ 18/06/2564- 30/09/2564 การพัฒนาผลิตภัณฑ์ทองม้วนรสกล้วย
อาจารย์ ดร. พัตรเพ็ญ เพ็ญจำรัส(50)
อาจารย์ ดร. สุภารัตน์ อำนาจ(25)
2565  : 10000 บาท (ทุนส่วนตัว)
สูตรและวิธีการผลิตทองม้วน 03/02/2565- 03/02/2565 นำสูตรและวิธีการผลิตทองม้วน เพื่อถ่ายทอดองค์ความรู้ให้แก่ประชาชน และเป็นแนวทางในการประกอบอาชีพในอนาคต
อาจารย์ ดร. พัตรเพ็ญ เพ็ญจำรัส(50)
อาจารย์ ดร. สุภารัตน์ อำนาจ(25)
2565  : 10000 บาท (ทุนส่วนตัว)
การอบรมให้แก่ผู้เข้าร่วมอบรมจากอำเภอแม่ใจ จังหวัดพะเยา และอำเภอใกล้เคียง ในโครงการยกระดับศักยภาพ และขีดความสามารถของเกษตรกรฐานรากสู่การเป็นผู้ประกอบกรธุรกิจเกษตรสร้างมูลค่าเพิ่มด้วยเทคโนโลยีและนวัตกรรมเกษตรอัจฉริยะ โดยใช้สูตรการผลิตทองม้วนกล้วยถ่ายทอดให้แก่กษตรกรผู้ปลูกกล้วยในอำเภอแม่ใจ จังหวัดพะเยา เทศบาลตำบลศรีถ้อย อ.แม่ใจ จ.พะเยา 03/09/2566- 03/09/2566
อาจารย์ ดร. พัตรเพ็ญ เพ็ญจำรัส(50)
อาจารย์ ดร. สุภารัตน์ อำนาจ(25)
2565  : 10000 บาท (ทุนส่วนตัว)
เพื่อการอบรมให้แก่ผู้เข้าร่วมอบรมจากวิสาหกิจชุมชนผักปลอดภัยในมือเราตามรอยพ่อ ตำบลร้องกวาง อำเภอร้องกวาง จังหวัดแพร่ โดยใช้สูตรการผลิตทองม้วนกล้วยถ่ายทอดให้แก่สมาชิกกลุ่มและเครือข่าย ผู้ ซึ่งตรงกับวัตถุประสงค์ของโครงการ คือ เพื่อถ่ายทอดองค์ความรู้ด้านการแปรรูปผลิตภัณฑ์ให้แก่เกษตรกรและผู้สนใจ กลุ่มวิสาหกิจชุมชนผักปลอดภัยในมือเราตามรอยพ่อ บ้านวังโป่ง ตำบลร้องกวาง อำเภอร้องกวาง จังหวัดแพร่ 20/01/2567- 20/01/2567
OT-60-050 : การพัฒนาผลิตภัณฑ์เอแคลร์ปราศจากกลูเต็นโดยใช้คาร์บอกซีเมทิลเซลลูโลสและคาราจีแนน
อาจารย์ ดร. พัตรเพ็ญ เพ็ญจำรัส(60)
อาจารย์ ดร. สุภารัตน์ อำนาจ(15)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. อิศรา วัฒนนภาเกษม(10)
2560  : 10000 บาท (ทุนส่วนตัว)
การใช้ประโยชน์เชิงวิชาการ การอ้างอิงผลงานวิจัยที่มีการตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับนานาชาติ การใช้ประโยชน์เชิงวิชาการ เช่น การอ้างอิงผลงานวิจัยที่มีการตีพิมพ์ในวารสารวิชาการ 01/01/2565- 30/09/2565
อาจารย์ ดร. พัตรเพ็ญ เพ็ญจำรัส(60)
อาจารย์ ดร. สุภารัตน์ อำนาจ(15)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. อิศรา วัฒนนภาเกษม(10)
2560  : 10000 บาท (ทุนส่วนตัว)
การใช้ประโยชน์เชิงวิชาการ การอ้างอิงผลงานวิจัยที่มีการตีพิมพ์ในวารสารวิชาการ การใช้ประโยชน์เชิงวิชาการ การอ้างอิงผลงานวิจัยที่มีการตีพิมพ์ในวารสารวิชาการ 01/01/2566- 30/09/2566
OT-62-029 : การพัฒนาผลิตภัณฑ์บราวนี่ปราศจากกลูเต็นจากแป้งข้าว
อาจารย์ ดร. พัตรเพ็ญ เพ็ญจำรัส(60)
อาจารย์ ดร. สุภารัตน์ อำนาจ(15)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. อิศรา วัฒนนภาเกษม(10)
2562  : 10000 บาท (ทุนส่วนตัว)
การอ้างอิงผลงานวิจัยที่มีการตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับนานาชาติ การใช้ประโยชน์เชิงวิชาการ เช่น การอ้างอิงผลงานวิจัยที่มีการตีพิมพ์ในวารสารวิชาการ 01/10/2564- 30/09/2565
อาจารย์ ดร. พัตรเพ็ญ เพ็ญจำรัส(60)
อาจารย์ ดร. สุภารัตน์ อำนาจ(15)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. อิศรา วัฒนนภาเกษม(10)
2562  : 10000 บาท (ทุนส่วนตัว)
การอ้างอิงผลงานวิจัยที่มีการตีพิมพ์ในวารสารวิชาการ ตีพิมพ์บทความในระดับนานาชาติ และมีการ Citation วันที่ 16 พฤษภาคม ปี 2566 การใช้ประโยชน์เชิงวิชาการ การอ้างอิงผลงานวิจัยที่มีการตีพิมพ์ในวารสารวิชาการ 16/05/2566- 16/05/2566
อาจารย์ ดร. พัตรเพ็ญ เพ็ญจำรัส(60)
อาจารย์ ดร. สุภารัตน์ อำนาจ(15)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. อิศรา วัฒนนภาเกษม(10)
2562  : 10000 บาท (ทุนส่วนตัว)
การถ่ายทอดองค์ความรู้ด้านกระบวนการผลิตกล้วยบดผงที่ได้รับการพัฒนา (การถ่ายทอดองค์ความรู้เรื่อง แนวทางการแปรรูปเบเกอรี่ โดยใช้กล้วยบดผง ได้แก่ การแปรรูปผลิตภัณฑ์คุกกี้ และการแปรรูปบราวนี่กรอบ) ในโครงการ การถ่ายทอดองค์ความรู้เรื่อง แนวทางการแปรรูปเบเกอรี่ โดยใช้กล้วยบดผง ได้แก่ การแปรรูปผลิตภัณฑ์คุกกี้ และการแปรรูปบราวนี่กรอบ กลุ่มวิสาหกิจชุมชนผักปลอดภัยในมือเราตามรอยพ่อ บ้านวังโป่ง ตำบลร้องกวาง อำเภอร้องกวาง จังหวัดแพร่ 08/10/2566- 08/10/2566
OT-64-042 : การพัฒนาผลิตภัณฑ์จากข้าวไรซ์เบอร์รี่และข่าวหอมมะลิแดง
อาจารย์ ดร. พัตรเพ็ญ เพ็ญจำรัส(50)
อาจารย์ ดร. สุภารัตน์ อำนาจ(25)
2564  : 10000 บาท (ทุนส่วนตัว)
สูตรและวิธีการผลิตไอศกรีมข้าวไรซ์เบอรี่ องค์การบริหารส่วนตำบลนาจักร จ.แพร่ 26/06/2564- 30/09/2564 การพัฒนาผลิตภัณฑ์จากข้าวไรซ์เบอร์รี่และข่าวหอมมะลิแดง
อาจารย์ ดร. พัตรเพ็ญ เพ็ญจำรัส(50)
อาจารย์ ดร. สุภารัตน์ อำนาจ(25)
2564  : 10000 บาท (ทุนส่วนตัว)
นำสูตรและวิธีการผลิตคุกกี้ข้าว เพื่อถ่ายทอดองค์ความรู้ให้แก่ประชาชน และเป็นแนวทางในการประกอบอาชีพในอนาคต 03/02/2565- 03/02/2565 สูตรและวิธีการผลิตคุกกี้ข้าว
อาจารย์ ดร. พัตรเพ็ญ เพ็ญจำรัส(50)
อาจารย์ ดร. สุภารัตน์ อำนาจ(25)
2564  : 10000 บาท (ทุนส่วนตัว)
อบรมให้กลุ่มเกษตรกรบ้านหนองแขม โดยนำสูตรการผลิตไอศกรมข้าวไรซ์เบอรี่จากโครงการมาใช้ในการถ่ายทอดให้แก่ผู้เข้าอบรม สร้างรายได้ให้กับชุมชน กลุ่มเกษตรกรบ้านหนองแขม อำเภอเมือง จังหวัดแพร่ 07/09/2566- 07/09/2566
อาจารย์ ดร. พัตรเพ็ญ เพ็ญจำรัส(50)
อาจารย์ ดร. สุภารัตน์ อำนาจ(25)
2564  : 10000 บาท (ทุนส่วนตัว)
การถ่ายทอดองค์ความรู้ด้านกระบวนการผลิตกล้วยบดผงที่ได้รับการพัฒนา (การถ่ายทอดองค์ความรู้เรื่อง แนวทางการแปรรูปเบเกอรี่ โดยใช้กล้วยบดผง ได้แก่ การแปรรูปผลิตภัณฑ์คุกกี้ และการแปรรูปบราวนี่กรอบ) ในโครงการ การถ่ายทอดองค์ความรู้เรื่อง แนวทางการแปรรูปเบเกอรี่ โดยใช้กล้วยบดผง ได้แก่ การแปรรูปผลิตภัณฑ์คุกกี้ และการแปรรูปบราวนี่กรอบ กลุ่มวิสาหกิจชุมชนผักปลอดภัยในมือเราตามรอยพ่อ บ้านวังโป่ง ตำบลร้องกวาง อำเภอร้องกวาง จังหวัดแพร่ 08/10/2566- 08/10/2566
อุทยานวิทยาศาสตร์ภาคเหนือ.-64-002 : โครงการการถ่ายทอดเทคโนโลยีกระบวนการฆ่าเชื้อโดยใช้ความร้อนสูง (Sterilization) ร่วมกับบรรจุภัณฑ์แบบ Retort Cup เพื่อยืดอายุการเก็บรักษาขนมหม้อแกงสูตรโบราณ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. รัฐพงศ์ ปกแก้ว(70)
อาจารย์ ดร. สุภารัตน์ อำนาจ(20)
อาจารย์ ดร. ประเจต อำนาจ(10)
2564  : 165000 บาท (งบประมาณภายนอกสถาบัน)
1. สามารถถ่ายทอดเทคโนโลยีในกระบวนการฆ่าเชื้อโดยใช้ความร้อนสูง ร่วมกับบรรจุภัณฑ์ แบบ Retort Cup ได้ 2. สามารถพัฒนาผู้ประกอบการให้สามารถใช้เทคโนโลยีและสร้างผลิตภัณฑ์ต้นแบบให้สามารถจำหน่ายทางการตลาดได้ วิสาหกิจชุมชนกลุ่มพัฒนาสตรีบ้านดอนมูล หมู่ 4 ต.ดอนมูล อ.สูงเม่น จ.แพร่ 01/10/2564- 30/09/2565
วว.-64-001 : โครงการส่งเสริมและถ่ายทอดเทคโนโลยี นวัตกรรม การปลูกพืชเศรษฐกิจร่วมกับการเพาะเห็ดไมคอร์ไรซาเพื่อพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนอย่างยั่งยืน
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. วรรณา มังกิตะ(30)
2564  : 1283304 บาท (งบประมาณภายนอกสถาบัน)
การปลูกพืชและการเพาะเห็ดไมคอร์ไรซา ก่อให้เกิดรายได้จากพืชและเห็ด นายนพพร มิ่งสุวรรณ 15/07/2564- 15/07/2564 มีรายได้จากพืชและเห็ด
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. วรรณา มังกิตะ(30)
2564  : 1283304 บาท (งบประมาณภายนอกสถาบัน)
ส่งเสริมการปลูกพืชเศรษฐกิจร่วมกับการเพาะเห็ดไมคอร์ไรซา วิสาหกิจชุมชนกลุ่มผู้ปลูกสมุนไพรบ้านหนองสุวรรณ 15/07/2564- 15/07/2564 เพิ่มรายได้ให้กับสมาชิก
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. วรรณา มังกิตะ(30)
2564  : 1283304 บาท (งบประมาณภายนอกสถาบัน)
1. การใช้เชื้อเห็ดไมคอร์ไรซาลงในกล้าไม้เพื่อส่งเสริมการเจริญเติบโตของกล้าไม้ 2. การดูแลรักษาต้นไม้ให้เกิดเห็ด สำนักงานการปฏิรูปที่ดินจังหวัดแพร่ 15/07/2564- 15/07/2564 เกษตรกรในเขตปฏิรูปที่ดิน (ส.ป.ก.) ม.5, ม.6 ต.ทุ่งแล้ง อ.สอง จ.แพร่
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. วรรณา มังกิตะ(30)
2564  : 1283304 บาท (งบประมาณภายนอกสถาบัน)
ขยายอาชีพทางเลือกให้เข้ากับชุมชน และมีรายได้เพิ่มขึ้น องค์การบริหารส่วนตำบลทุ่งแค้ว อำเภอหนองม่วงไข่ จังหวัดแพร่ 09/05/2565- 30/05/2565
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. วรรณา มังกิตะ(30)
2564  : 1283304 บาท (งบประมาณภายนอกสถาบัน)
- นำมาเป็นองค์ความรู้ให้กับเกษตรกรในการฝึกอบรมและเพาะเก็ดป่าไมคอร์ไรซาร่วมกับการปลูกพืชเศรษฐกิจ ก่อให้เกิดรายได้เพิ่มขึ้น และสร้างอาชีพทางเลือกให้กับชุมชน มีรายได้จากพืชและเห็ด สำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดแพร่ อำเภอเมือง จังหวัดแพร่ 05/05/2565- 31/05/2565
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. วรรณา มังกิตะ(30)
2564  : 1283304 บาท (งบประมาณภายนอกสถาบัน)
ถ่ายทอดองค์ความรู้และแนวทางปฏิบัติให้กลุ่มเกษตรกรนำไปปฏิบัติเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตและคุณภาพการผลิต ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรพิจิตร ต.โรงช้าง อ.เมือง จ.พิจิตร 04/09/2566- 04/09/2566
วช.-64-010 : การพัฒนาผลิตภัณฑ์ผักแผ่นกรอบเพื่อสุขภาพจากฟิลเลย์ไอซ์เบิร์ก
นาง สุรัลชนา มะโนเนือง(50)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. อิศรา วัฒนนภาเกษม(20)
อาจารย์ ดร. พัตรเพ็ญ เพ็ญจำรัส(10)
2564  : 480000 บาท (งบประมาณภายนอกสถาบัน)
นำสูตรมาพัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์ผักแผ่นกรอบ เพื่อการจัดจำหน่าย วิสาหกิจชุมชนผักปลอดภัยจากสารพิษ ตำบลเกาะตาเลี้ยง อำเภอศรีสำโรง จังหวัดสุโขทัย 01/01/2565- 31/12/2565 1. การนำสูตร กระบวนการ และวิธีการผลิตที่ได้จากการวิจัย มาใช้ในผักที่เหลือจากการทำน้ำผักจากฟิลเลย์ไอซ์เบิร์ก และผักฟิลเลย์ไอซ์เบิร์กที่เหลือจากการจำหน่าย และนำมาผลิตเป็นผักแผ่นกรอบ 2. วิเคราะห์ข้อมูลการตลาด ทดสอบผู้บริโภค ออกแบบบรรจุภัณฑ์ โดยบรรจุขนาด 20 กรัม จำหน่ายราคา 35 บาท ซึ่งเป็นราคาที่ผู้บริโภคให้การยอมรับ
นาง สุรัลชนา มะโนเนือง(50)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. อิศรา วัฒนนภาเกษม(20)
อาจารย์ ดร. พัตรเพ็ญ เพ็ญจำรัส(10)
2564  : 480000 บาท (งบประมาณภายนอกสถาบัน)
สามารถเพิ่มมูลค่าของข้างกล้องผงผสมธัญพืชได้ จากเดิมข้าวกล้องหอมมะลิ 105 จำหน่ายในราคากิโลกรัมละ 50 บาท หลังจากผ่านกระบวนการทำข้าวกล้องงอกจะสามารถจำหน่ายได้ในราคาก็โลกรัมละ 100 - 120 บาท นอกจากนี้การเพิ่มมูลค่าของข้าวกล้องผงโดยการทำข้าวเพาะงอก จะสามารถเพิ่มมูลค่าของสินค้า ได้ถึง 20-30% ของราคาเดิม วิสาหกิจชุมชนเกษตรปลอดภัยและเกษตรอินทรีย์แม่ยางตาล ตำบลแม่ยางตาล อำเภอร้องกวาง จังหวัดแพร่ 01/02/2567- 31/12/2567
นาง สุรัลชนา มะโนเนือง(50)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. อิศรา วัฒนนภาเกษม(20)
อาจารย์ ดร. พัตรเพ็ญ เพ็ญจำรัส(10)
2564  : 480000 บาท (งบประมาณภายนอกสถาบัน)
โรงเรียนมีแนวทางในการแปรรูผลิตภัณฑ์จากยอดอ่อนทานตะวันที่เหลือจากการจำหน่าย และเพิ่มมูลค่าของวัตถุดิบ นอกจากนี้ยังช่วยให้ได้ผลิตภัตภัณฑ์ผักแผ่นกรอบจากยอดอ่อนทานตะวันเพื่อสุขภาพ โดยไม่ใช้น้ำมัน ในการทอด ซึ่งเหมาะสำหรับกลุ่มผู้บริโภคที่รักสุขภาพ โรงเรียนบ้านแม่ทราย (คุรุราษฎร์เจริญวิทย์) ตำบลแม่ทราย อำเภอร้องกวาง จังหวัดแพร่ 01/05/2567- 31/12/2567
มจ.2-64-027 : การศึกษากระบวนการทำข้าวกล้องหอมมะลิเพาะงอกต่อปริมาณสารกาบา สารประกอบฟีนอลิค และสารต้านอนุมูลอิสระ
นาง สุรัลชนา มะโนเนือง(80)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. อิศรา วัฒนนภาเกษม(20)
2564  : 5000 บาท (งบประมาณภายในสถาบัน)
การผลิตช้าวกล้องไรซ์เบอรี่งอก โดยใช้กระบวนการจากการวิจัยไปใช้ในการทำข้าวไรซ์เบอรี่เพาะงอก เพื่อจำหน่ายในเชิงพาณิชย์ต่อไป ซึ่งแต่เดิมทางกลุ่มวิสาหกิจชุมชนยังไม่มีการผลิตข้าวกล้องเพาะงอก สามารถเพิ่มมูลค่าข้าวไรซ์เบอรี่เป็นข้าวไรซ์เบอรี่เพาะงอก โดยจะสามารถจำหน่ายในกิโลกรัมละ 120-130 บาท ซึ่งต่างจากเดิมขายในกิโลกรัมละ 70 บาท กลุ่มวิสาหกิจชุมชนตำบลป่าแดง อ.เมือง จ.แพร่ 04/09/2565- 04/09/2565
นาง สุรัลชนา มะโนเนือง(80)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. อิศรา วัฒนนภาเกษม(20)
2564  : 5000 บาท (งบประมาณภายในสถาบัน)
1. นำไปเป็นแนวทางการผลิตสินค้าจำหน่ายในเชิงพาณิชย์ 2. สร้างรายได้ให้กับชุมชน กลุ่มวิสาหกิจเกษตรอินทรีย์บ้านหนองแขม ต.ป่าแดง อ.เมือง จ.แพร่ 20/08/2566- 18/09/2566
มจ.2-64-026 : การแยกและคัดเลือกเชื้อแอคติโนแบคทีเรียที่มีความสามารถในการผลิตสารส่งเสริมการเจริญเติบโตของพืช
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. อภิรดี เสียงสืบชาติ(80)
รองศาสตราจารย์ ดร. ณัฐพร จันทร์ฉาย(20)
2564  : 25000 บาท (งบประมาณภายในสถาบัน)
ใช้เป็นปุ๋ยชีวภาพในการปลูกพืช ซึ่งปุ๋ยจุลินทรีย์ตรึงไนโตรเจนอัดแท่งมีการจดทะเบียนเลขที่ 2001003591 โดยจุลินทรีย์ที่ช่วยตรึงไนโตรเจนจะมีเชื้อแบคทีเรียที่ช่วยในการส่งเสริมการเจริญเติบโตของพืช หรือเอนโดไฟติกแบคทีเรียมีหน้าที่สำคัญในการักษาคุณภาพดิน ช่วยงส่งเสริมการเจริญเติบโต การออกรากที่ยาขึ้น เพิ่มความสูงของต้น ขนาดกอ เพิ่มผลผลิต สามารถควบคุมแมลงพาหะ ลดแมลงก่อโรคในพืชได้ วิสาหกิจชุมชนใบตองคลองกระจง ตำบลคลองกระจง อำเภอสวรรคโลก จังหวัดสุโขทัย 01/06/2565- 27/07/2565
OT-63-029 : การใช้ภาษาโน้มน้าวใจในสื่อเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์จานจากวัสดุธรรมชาติในจังหวัดแพร่
อาจารย์ ทิพารัตน์ สหตรงจิตร(80)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ลักขณา พันธุ์แสนศรี(10)
2563  : 50000 บาท (ทุนส่วนตัว)
การใช้ภาษาในการสร้างสโลแกนและสร้างสตอรี่ให้กับสินค้าเพื่อดึงดูดผู้บริโภค ส่งเสริมการใช้ภาษาที่ถูกต้องและเหมาะสมในการโฆษณาสินค้า บริษัท ไกรทอง อินเตอร์ ฟู๊ด จำกัด ต.หนองม่วงไข่ อ.หนองม่วงไข่ จังหวัดแพร่ 01/07/2565- 30/09/2565
มจ.1-64-006.2 : ประสิทธิภาพของถ่านข้อไม้ไผ่จากเตาเผาถ่านแบบแนวตั้งและแนวนอน
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ธิติ วานิชดิลกรัตน์(60)
อาจารย์ ศิริลักษณ์ สุขเจริญ(20)
อาจารย์ ดร. อิสรีย์ ฮาวปินใจ(20)
2564  : 990000 บาท (งบประมาณภายในสถาบัน)
1. การอบรมการผลิตถ่านข้อไม้ไผ่จากเตาเผาแบบแนวตั้งและแนวนอน 2. แนวทางในการจัดการการใช้ประโยชน์เศษเหลือข้อไม้ไผ่ โดยใช้แนวคิดลดขยะเป็นศูนย์ (Zero waste) ซึ่งสามารถเลือกใช้เตาเผาถ่าน อุณหภูมิ วัตถุดิบ ในการผลิตถ่านข้อไม้ไผ่ได้อย่างเหมาะสม 3. การนำเศษเหลือข้อไม้ไผ่มาใช้ประโยชน์เพื่อลดปริมาณขยะในพื้นที่ 4. การเพิ่มมูลค่าเศษข้อไม้ไผ่ มาผลิตเป็นถ่านข้อไม้ไผ่ กิโลกรัมละ 10 บาท ชุมชนบ้านปง หมู่ 3 ต.บ้านปง อ.ลอง จ.แพร่ 16/10/2565- 07/06/2565 การนำเศษเหลือข้อไม้ไผ่มาใช้ประโยชน์เพื่อลดปริมาณขยะในพื้นที่ การเพิ่มมูลค่าเศษข้อไม้ไผ่ มาผลิตเป็นถ่านข้อไม้ไผ่ กิโลกรัมละ 10 บาท
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ธิติ วานิชดิลกรัตน์(60)
อาจารย์ ศิริลักษณ์ สุขเจริญ(20)
อาจารย์ ดร. อิสรีย์ ฮาวปินใจ(20)
2564  : 990000 บาท (งบประมาณภายในสถาบัน)
1. การอบรมการผลิตถ่านข้อไม้ไผ่จากเตาเผาแบบแนวตั้งและแนวนอน 2. แนวทางในการจัดการการใช้ประโยชน์เศษเหลือข้อไม้ไผ่ โดยใช้แนวคิดลดขยะเป็นศูนย์ (Zero waste) ซึ่งสามารถเลือกใช้เตาเผาถ่าน อุณหภูมิ วัตถุดิบ ในการผลิตถ่านข้อไม้ไผ่ได้อย่างเหมาะสม 3. การนำเศษเหลือข้อไม้ไผ่มาใช้ประโยชน์เพื่อลดปริมาณขยะในพื้นที่ 4. การเพิ่มมูลค่าเศษข้อไม้ไผ่ มาผลิตเป็นถ่านข้อไม้ไผ่ กิโลกรัมละ 10 บาท ชุมชนบ้านปง หมู่ 3 ต.บ้านปง อ.ลอง จ.แพร่ 16/10/2564- 27/09/2565
มจ.1-64-005 : การใช้ประโยชน์และนิเวศวิทยาของชาเมี่ยงในพื้นที่ภาคเหนือ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ว่าที่ร้อยตรี ดร. ธนากร ลัทธิ์ถีระสุวรรณ(35)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. วชิระ ชุ่มมงคล(10)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ธีระพล เสนพันธุ์(10)
2564  : 2000000 บาท (งบประมาณภายในสถาบัน)
สารสกัดมะแขว่นและสารสกัดใบเมี่ยงที่สกัดด้วยเทคนิคไมโครเวฟ (Microwave extraction) ด้วยน้ำ นำมาใช้เป็นส่วนผสมในผลิตภัณฑ์ ร่วมพัฒนาตำรับสเปรย์ระงับกลิ่นปากใบเมี่ยงและซีรัมบำรุงผิวหน้ามะแขว่นโดยการใช้องค์ความรู้และตำรับจากงาานวิจัย บริษัท ซี แอนด์ เค คอสเมติก จำกัด ( C & K Cosmatics Co.Th) 01/10/2564- 30/09/2565 ได้ผลิตสเปรย์ระงับกลิ่นปากจากใบเมี่ยง และซีรัมบำรุงผิวหน้ามะแขว่น
สวทช.-64-004 : การพัฒนากระบวนการปลูกและการย้อมห้อมธรรมชาติด้วยชีวนวัตกรรมพื้นที่จังหวัดแพร่
รองศาสตราจารย์ ดร. ณัฐพร จันทร์ฉาย(100)
2564  : 847000 บาท (งบประมาณภายนอกสถาบัน)
สามารถนำองค์ความรู้เกี่ยวกับการพัฒนากระบวนการปลูกและการย้อมห้อมธรรมชาติด้วยชีวนวัตกรรมมาใช้ประโยชน์เชิงเศรษฐกิจ โดยทำการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต การพัฒนาสิ่งประดิษฐ์/ผลิตภัณฑ์ ได้แก่ ชุดสำเร็จรูปในการย้อมห้อมธรรมชาติ เป็นการนำผลงานที่ได้ไปใช้ประโยชน์ในเศรษฐกิจ หรือเชิงพาณิชย์ ซึ่งช่วยลดการใช้สารเคมีในการย้อมผ้าหม้อห้อม วิสาหกิจชุมชนศูนย์การเรียนรู้ธรรมชาติบำบัด ตำบลบ้านถิ่น อำเภอเมืองแพร่ จังหวัดแพร่ 05/10/2565- 30/09/2566
OT-63-024 : การออกแบบ สร้างและทดสอบระบบโซล่าเซลล์ลอยน้ำสำหรับสูบน้ำเพื่อการเกษตรและการทำตลาดท่องเที่ยวเชิงเกษตร ณ บ้านสบจาง อ.เกาะคา จ.ลำปาง
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ว่าที่ร้อยตรี ดร. ธรรมศักดิ์ พันธุ์แสนศรี(70)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ลักขณา พันธุ์แสนศรี(20)
อาจารย์ ทิพารัตน์ สหตรงจิตร(10)
2563  : 300000 บาท (ทุนส่วนตัว)
นำผลงานวิจัยและนวัตกรรมไปใช้สำหรับสูบน้ำเพื่อการเกษตรและแหล่งท่องเที่ยว ลดค่าใช้จ่ายด้านพลังงานสำหรับการสูบน้ำเพื่อรดผลผลิตทางการเกษตร ซึ่งเป็นวัตถุดิบในการนำมาแปรรูปผลิตภัณฑ์ของบริษัท ลดต้นทุนในการผลิตวัตถุดิบ ลดค่าใช้จ่ายด้านพลังงาน เป็นศูนย์เรียนรู้ในการทำการเกษตรที่ใช้พลังงานทดแทนเข้าช่วย 100% บริษัท ไกรทอง อินเตอร์ ฟู๊ด จำกัด 01/10/2565- 25/09/2566
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ว่าที่ร้อยตรี ดร. ธรรมศักดิ์ พันธุ์แสนศรี(70)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ลักขณา พันธุ์แสนศรี(20)
อาจารย์ ทิพารัตน์ สหตรงจิตร(10)
2563  : 300000 บาท (ทุนส่วนตัว)
1. ได้ฐานการเรียนรู้และการถ่ายทอดเทคโนโลยีด้านการประยุกต์ใช้พลังงานแสงอาทิตย์สำหรับสูบน้ำเพื่อการเกษตรและชีวิตประจำวัน ทำให้เกษตรกรเกิดการแลกเปลี่ยนความรู้ระหว่างสถาบันการศึกษาและชุมชน นอกจากนี้ยังทำให้ชุมชนใกล้เคียงที่สนใจมาศึกษาดูงานได้ สามารถลดต้นทุนค่าใช้จ่ายด้านพลังงานในการผลิตทางการเกษตรและชีวิตประจำวัน และลดการปลดปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซต์เนื่องจากเป็นพลังงานสะอาดและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม 2. ช่วยสร้างองค์ความรู้ใหม่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีด้านการประยุกต์ใช้พลังงานแสงอาทิตย์สำหรับสูบน้ำเพื่อการเกษตรและชีวิตประจำวัน และส่งเสริมให้ชุมชนใช้พลังงานสะอาด ลดต้นทุนในการใช้พลังงานไฟฟ้า ลดต้นทุนในการผลิต ลดรายจ่านด้านพลังงาน เพิ่มรายได้ ประหยัดพลังงานและอนุรักษ์ธรรมชาติสิ่งแวดล้อมในชุมชน The Northern Agriculture and Forestry College (NAFC), Luang Prabang Province, Lao PDR 27/11/2566- 30/11/2566
มจ.1-63-03-002 : การบำบัดน้ำเสียจากอุตสาหกรรมการผลิตผ้าหม้อห้อมด้วยการใช้เชื้อจุลินทรีย์ผสม
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. วุฒิกานต์ ปุระพรหม(50)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ศิราภรณ์ ชื่นบาล(40)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ฐปน ชื่นบาล(10)
2563  : 350000 บาท (งบประมาณภายในสถาบัน)
การนำจุลินทรีย์ซึ่งใช้งานในวิจัยไปประยุกต์ใช้ร่วมกับการบำบัดของเสียที่เกิดขึ้นในกระบวนการผลิต พบว่าสามารถบำบัดของเสีย / น้ำเสียที่เกิดขึ้นจากกระบวนการผลิตได้อย่างมีประสิทธิภาพ บริษัท YELLOW BEAN COFFEE 01/10/2564- 30/09/2565 ระบบบำบัดน้ำเสียของโรงงานไม่มีกลิ่นรบกวนและน้ำเสียที่ผ่านการบำบัดสามารถนำไปรดน้ำต้นไม้ได้ ลดค่าใช้จ่ายในการบำบัดน้ำเสียจากกระบวนการผลิต
วว.-63-001 : การวิจัยและถ่ายทอดเทคโนโลยีนวัตกรรมต้นแบบการปลูกป่าแบบบูรณาการเพื่อสร้างแหล่งอาหารและพัฒนาเศรษฐกิจของชุมชนอย่างยั่งยืน
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. วรรณา มังกิตะ(30)
2563  : 1933000 บาท (งบประมาณภายนอกสถาบัน)
การใช้เชื้อเห็ดไมคอร์ไรซากระตุ้นการเจริญเติบโตของกล้าไม้เศรษฐกิจ เช่น พะยูง โกโก้ กัญชา และนำมาเป็นองค์ความรู้ให้กับหน่วยงานในการฝึกอบรมและเพาะเก็ดป่าไมคอร์ไรซาร่วมกับการปลูกพืชเศรษฐกิจ ก่อให้เกิดรายได้เพิ่มขึ้น บริษัท ซันโซทรีส์ เอสอี จำกัด ต.นาสนุ่น อ.ศรีเทพ จ.เพชรบูรณ์ 03/07/2565- 05/07/2565
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. วรรณา มังกิตะ(30)
2563  : 1933000 บาท (งบประมาณภายนอกสถาบัน)
1. สร้างอาชีพทางเลือกให้แก่ชุมชน 2. ชุมชนมีรายได้เพิ่มมากขึ้น 3. เป็นแหล่งศึกษาเรียนรู้ ศูนย์เรียนรู้" สวนวรชัยฟาร์ม ตำบลไผ่โทน อำเภอร้องกวาง จังหวัดแพร่ 01/05/2566- 18/09/2566
OT-62-018 : คุณสมบัติการcrเอนไซม์ Reverse Transctiptase จากไวรัสภูมิคุ้มกันบกพร่องในแมว(FIV) โดยสารสกัดจากเห็ด
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ขวัญจรัส เชิงปัญญา(100)
2562  : 30000 บาท (ทุนส่วนตัว)
การใช้ประโยชน์เชิงวิชาการ การอ้างอิงผลงานวิจัยที่มีการตีพิมพ์ในวารสารวิชาการ การใช้ประโยชน์เชิงวิชาการ การอ้างอิงผลงานวิจัยที่มีการตีพิมพ์ในวารสารวิชาการ 01/06/2565- 30/07/2565
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ขวัญจรัส เชิงปัญญา(100)
2562  : 30000 บาท (ทุนส่วนตัว)
การใช้ประโยชน์เชิงวิชาการ การอ้างอิงผลงานวิจัยที่มีการตีพิมพ์ในวารสารวิชาการ การใช้ประโยชน์เชิงวิชาการ การอ้างอิงผลงานวิจัยที่มีการตีพิมพ์ในวารสารวิชาการ 01/10/2566- 03/09/2567
สพภ-62-002 : การพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชนตามหลักการ BEDO' s Concept และสรรหาชุมชนใหม่ : กลุ่มผลิตภัณฑ์ผ้าย้อมสีธรรมชาติ ไผ่และงานฝีมือ
อาจารย์ ดร. พัชรณัฐ ดาวดึงษ์(60)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. น้ำฝน รักประยูร(20)
รองศาสตราจารย์ ดร. ณัฐพร จันทร์ฉาย(20)
2562  : 1290000 บาท (งบประมาณภายนอกสถาบัน)
เป็นต้นแบบของผลิตภัณฑ์ของโครงการพัฒนาผลิตภัณฑ์จากไม้ไผ่และกลยุทธ์การตลาดเพื่อมุ่งสู่ตลาดสีเขียว สาคร สุเขื่อน 20/07/2564- 20/07/2564 ได้ผลิตภัณฑ์ต้นแบบแก้วกาแฟ กระบวยที่ตักน้ำแข็ง ที่ป้องกันราและมอด
อาจารย์ ดร. พัชรณัฐ ดาวดึงษ์(60)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. น้ำฝน รักประยูร(20)
รองศาสตราจารย์ ดร. ณัฐพร จันทร์ฉาย(20)
2562  : 1290000 บาท (งบประมาณภายนอกสถาบัน)
นำผลผลิตห้อมไปใช้ประโยชน์ในภาคการผลิตและบริการภาคธุรกิจ ในการสร้างผลิตภัณฑ์ เช่น 1. เสื้อสกรีน Der Hom 2. สีห้อม Painting 3. สีย้อมไม้ 4. ชุด Kit สีน้ำระบายสี 5. ห้อมผง (Hom Powder) 6. นำห้อมเปียก (Indigo Paste) 7. ขนมชั้นจากห้อม 8. ห้อมน้ำฝึ้งมะนาว 9. สบู่ Der Hom 10. เซรั่ม Der Hom 11. แชมพูสีแดง Der Hom 12. กระดาษสาจากห้อม ไปจำหน่ายทางออนไลน์และออฟไลน์ ชุมชนตำบลทุ่งโฮ้ง อ.เมือง จ.แพร่ และ วิสาหกิจชุมชนกลุ่มห้อมนาคูหา ต.สวนเขื่อน อ.เมือง จ.แพร่ 01/01/2565- 02/06/2565
วว-62-001.2 : การวิจัยและถ่ายทอดเทคโนโลยีการเพาะเห็ดป่าไมคอร์ไรซาต้นแบบเพื่อการฟื้นฟูป่าไม้และสร้างแหล่งอาหารในชุมชนอย่างยั่งยืน
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. วรรณา มังกิตะ(40)
รองศาสตราจารย์ ดร. ฑีฆา โยธาภักดี(15)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ว่าที่ร้อยตรี ดร. ธนากร ลัทธิ์ถีระสุวรรณ(15)
2562  : 1450000 บาท (งบประมาณภายนอกสถาบัน)
การฟื้นฟูป่าชุมชนเพื่อเป็นแหล่งต้นน้ำและอาหารชุมชน ทำให้ชุมชนเกิดรายได้เพิ่มขึ้น และชุมชนมีเศรษฐกิจที่ดีอย่างยั่งยืนและถาวร วิสาหกิจชุมชนผู้ผลิตหัวเชื้อเห็ดป่าไมคอร์ไรซา ต.น้ำเลา อ.ร้องกวาง จ.แพร่ 05/05/2565- 06/05/2565
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. วรรณา มังกิตะ(40)
รองศาสตราจารย์ ดร. ฑีฆา โยธาภักดี(15)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ว่าที่ร้อยตรี ดร. ธนากร ลัทธิ์ถีระสุวรรณ(15)
2562  : 1450000 บาท (งบประมาณภายนอกสถาบัน)
1. การฟื้นฟูป่าชุมชนเพื่อเป็นแหล่งต้นน้ำและอาหารชุมชน 2. ชุมชนมีรายได้เพิ่มมากขึ้นจากการผลิตเชื้อเห็ดไมคอร์ไรซา และจำหน่ายผลิตภัณฑ์ 3. เป็นแหล่งศึกษาเรียนรู้และศูนย์เรียนรู้" วิสาหกิจชุมชนผลิตหัวเชื้อเห็ดไมคอร์ไรซาและพืชเศรษฐกิจ บ้านบุญแจ่ม ต.น้ำเลา อ.ร้องกวาง จังหวัดแพร่ 01/01/2566- 18/09/2566
สวก.-62-009 : แนวทางการใช้ประโยชน์ที่ดินและการจัดการทรัพากรในพื้นที่เสี่ยงภัย อำเภอร้องกวาง จังหวัดแพร่
อาจารย์ ดร. จันทร์จิรา นันตา(50)
อาจารย์ ดวงพร เพิ่มสุวรรณ(20)
อาจารย์ ดร. อุบลวรรณ สุภาแสน(15)
อาจารย์ ดร. ปิยะพิศ ขอนแก่น(15)
2562  : 780000 บาท (งบประมาณภายนอกสถาบัน)
ข้อเสนอแนะงานวิจัยนำไปใช้เป็นประโยชน์ในการวางแผนการใช้ประโยชน์ที่ดินของหมู่บ้านและเกษตรกร การสร้างความเข้าใจในการใช้ที่ดินอย่างถูกต้อง สร้างจิตสำนึกและความตระหนักในการใช้ที่ดินของชาวบ้านไม่ปลูกพืชเชิงเดี่ยวในพื้นที่เสี่ยงภัยน้ำท่วมและ การจัดการที่ดินที่ถูกต้องโดยการไถกลบ ปลูกพืชคลุมดินและลดการใช้สารเคมีทำให้สิ่งแวดล้อมชุมชนดีขึ้น กลุ่มวิสาหกิจชุมชนข้าวกล้องปลอดสารบ้านร่องเย็น หมู่ 3 บ้านร่องเย็น ต าบลทุ่งน้าว อ าเภอสอง จังหวัดแพร่. 01/10/2564- 30/09/2565
สวก.-61-003 : การสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับต้น ใบ เปลือกและซังข้าวโพดสู่ผลิตภัณฑ์กระถาง
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ว่าที่ร้อยตรี ดร. ธรรมศักดิ์ พันธุ์แสนศรี(100)
2561  : 774722 บาท (งบประมาณภายนอกสถาบัน)
การถ่ายทอดเทคโนโลยีเรื่อง "กระถางชีวภาพจากวัสดุทางการเกษตร" ชุมชนบ้านวังโป่ง ต.ร้องกวาง อ.ร้องกวาง จ.แพร่ 22/09/2564- 22/09/2564 สร้างกฎเกณฑ์ในชุมชนเพื่อลดการเผา นำไปสร้างผลิตภัณฑ์ซึ่งก่อให้เกิดรายได้ให้กับชุมชน และส่งเสริมให้ชุมชนใช้วิถีชีวิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ซึ่งแก้ปัญหาการผาในพื้นที่โล่งและปัญหาหมอกควัน ช่วยทำให้สิ่งแวดล้อมในชุมชนดีขึ้น มูลค่าทางเศรษฐกิจที่ได้ ถ้าไม่เผาวัสดุชีวมวลเหลือจากการปลูกข้าว และข้าวโพด ซึ่งมีปริมาณทั้งหมด 1,415,440 กิโลกรัม จะลดการปลดปล่อยฝุ่นละอองขนาดเล็ก หรือ PM 10 ได้ 9,908 กิโลกรัม
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ว่าที่ร้อยตรี ดร. ธรรมศักดิ์ พันธุ์แสนศรี(100)
2561  : 774722 บาท (งบประมาณภายนอกสถาบัน)
เพิ่มมูลค่าให้กับวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตร และออกแบบบรรจุภัณฑ์ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ส่งเสริมให้ชุมชนใช้วิถีชีวิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ลดการเผาในพื้นที่การเกษตร ลดมลพิษทางอากาศ และช่วยทำให้สิ่งแวดล้อมในชุมชนดีขึ้น บริษัท ไกรทอง อินเตอร์ ฟู๊ด จำกัด ต.หนองม่วงไข่ อ.หนองม่วงไข่ จังหวัดแพร่ 01/07/2565- 30/09/2565
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ว่าที่ร้อยตรี ดร. ธรรมศักดิ์ พันธุ์แสนศรี(100)
2561  : 774722 บาท (งบประมาณภายนอกสถาบัน)
เพิ่มมูลค่าให้กับวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตร และออกแบบบรรจุภัณฑ์ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ส่งเสริมให้ชุมชนใช้วิถีชีวิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ลดการเผาในพื้นที่การเกษตร ลดมลพิษทางอากาศ และช่วยทำให้สิ่งแวดล้อมในชุมชนดีขึ้น เทศบาลตำบลหนองม่วงไข่ อำเภอหนองม่วงไข่ จังหวัดแพร่ 01/07/2565- 30/09/2565
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ว่าที่ร้อยตรี ดร. ธรรมศักดิ์ พันธุ์แสนศรี(100)
2561  : 774722 บาท (งบประมาณภายนอกสถาบัน)
1. ได้ฐานการเรียนรู้และการถ่ายทอดเทคโนโลยีด้านการอัดขึ้นรูปกระถางชีวภาพที่สามารถย่อยสลายได้เองตามธรรมชาติ ทำให้เกษตรกรเกิดการแลกเปลี่ยนความรู้ระหว่างสถาบันการศึกษาและชุมชน นอกจากนี้ยังทำให้ชุมชนใกล้เคียงที่สนใจมาศึกษาดูงานได้ และยังสามารถลดปริมาณถุงเพาะกล้าพลาสติกและกระถางพลาสติกได้ 2. ช่วยสร้างองค์ความรู้ใหม่เกี่ยข้องกับเทคโนโลยีการอัดขึ้นรูปกระถางชีวภาพที่สามารถย่อยสลายได้เองตามธรรมชาติ และส่งเสริมให้ชุมชนลดการเผาในพื้นที่โล่งแจ้ง สามารถสร้างอาชีพสร้างรายได้ให้กับคนในชุมชน และยังเป็นผลิตภัณฑ์ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม The Northern Agriculture and Forestry College (NAFC), Luang Prabang Province, Lao PDR 27/11/2566- 28/11/2566
มจ.2-61-019 : บทบาทของสภาองค์กรชุมชนในการกำหนดยุทธศาสตร์การพัฒนาชุมชนท้องถิ่นในจังหวัดแพร่
อาจารย์ ดร. อุบลวรรณ สุภาแสน(60)
อาจารย์ ดร. ปิยะพิศ ขอนแก่น(40)
2561  : 20000 บาท (งบประมาณภายในสถาบัน)
นำมาเป็นแนวทางในการกำหนดยุทธศาสตร์การพัฒนาตำบล เทศบาลตำบลบ้านถิ่น จ.แพร่ 31/03/2564- 31/03/2564 แนวทางการกำหนดยุทธศาสตร์การพัฒนาชุมชนท้องถิ่นในตำบลบ้านถิ่น
อาจารย์ ดร. อุบลวรรณ สุภาแสน(60)
อาจารย์ ดร. ปิยะพิศ ขอนแก่น(40)
2561  : 20000 บาท (งบประมาณภายในสถาบัน)
นำมาเป็นแนวทางในการกำหนดยุทธศาสตร์การพัฒนาตำบลปอน โดยเฉพาะการวางแผนการพัฒนา และการสร้างความเข้มแข็งให้กับกลุ่ม องค์การบริการส่วนตำบลปอน อ.ทุ่งช้าง จ.น่าน 01/07/2565- 30/09/2565
มจ.1-61-074 : การประเมินศักยภาพเชิงทดลองและเศรษฐศาสตร์ของโมดูลเซลล์แสงอาทิตย์ 3 ชนิดในสภาวะการใช้งานจริง
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ลักขณา พันธุ์แสนศรี(50)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ว่าที่ร้อยตรี ดร. ธรรมศักดิ์ พันธุ์แสนศรี(50)
2561  : 288600 บาท (งบประมาณภายในสถาบัน)
การถ่ายทอดเทคโนโลยีเรื่อง "ระบบผลิตไฟฟ้าและระบบสูบน้ำโดยใช้พลังงานแสงอาทิตย์สำหรับการเกษตรและชีวิต" และลดค่าใช้จ่ายด้านพลังงาน ชุมชนบ้านวังโป่ง ต.ร้องกวาง อ.ร้องกวาง จ.แพร่ 22/09/2564- 22/09/2564 เพิ่มผลผลิตทางการเกษตร ลดต้นทุนด้านพลังงาน ซึ่งก่อให้เกิดการลดรายจ่ายและเพิ่มรายได้ให้กับชุมชน และส่งเสริมให้ชุมชนใช้วิถีชีวิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ซึ่งลดการใช้น้ำมันเชื้อเพลิง ทำให้ลดมลพิษทางอากาศ และช่วยทำให้สิ่งแวดล้อมในชุมชนดีขึ้น
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ลักขณา พันธุ์แสนศรี(50)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ว่าที่ร้อยตรี ดร. ธรรมศักดิ์ พันธุ์แสนศรี(50)
2561  : 288600 บาท (งบประมาณภายในสถาบัน)
1. การถ่ายทอดเทคโนโลยี เรื่อง ระบบผลิตไฟฟ้าและระบบสูบน้ำโดยใช้พลังงานแสงอาทิตย์สำหรับการเกษตรและชีวิต 2. เพิ่มแสงสว่างรอบตัวอาคารที่ทำการชมรมสตรีอำเภอร้องกวาง เพื่อความปอดภัยในทรัพย์สิน 3. ลดค่าใช้จ่ายด้านพลังงานบางส่วน และส่งเสริมให้สมาชิกใช้วิถีชีวิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ชมรมสตรีอำเภอร้องกวาง ตำบลทุ่งศรี อำเภอร้องกวาง จังหวัดแพร่ 25/01/2565- 23/05/2565 เพิ่มผลผลิตทางการเกษตร ลดต้นทุนด้านพลังงาน ซึ่อก่อให้เกิดการลดรายจ่ายและเพิ่มรายได้ให้กับชุมชน และส่งเสริมให้ชุมชนใช้วิถีชีวิตตามหลักปรัญาเศรษฐกิจพอเพียง ซึ่งลดการใช้น้ำมันเชื้อเพลิง ทำให้ลดมลพิษทางอากาศ และช่วยทำให้สิ่งแวดล้อมในชุมชนดีขึ้น และลดค่าใช้จ่ายด้านพลังงานไฟฟ้าได้เดือนละ 500 บาท
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ลักขณา พันธุ์แสนศรี(50)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ว่าที่ร้อยตรี ดร. ธรรมศักดิ์ พันธุ์แสนศรี(50)
2561  : 288600 บาท (งบประมาณภายในสถาบัน)
ได้ฐานการเรียนรู้และการถ่ายทอดเทคโนโลยีด้านการประยุกต์ใช้พลังงานแสงอาทิตย์สำหรับผลิตไฟฟ้าและสูบน้ำเพื่อการเกษตรและชีวิตประจำวัน ทำให้เกษตรกรเกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างสถาบันการศึกษาและชุมชน นอกจากนี้ยังทำให้ชุมชนใกล้เคียงที่สนใจมาศึกษาดูงานได้ สามารถลดต้นทุนค่าใช้จ่ายด้านพลังงานในการผลิตทางการเกษตรและชีวิตประจำวัน และลดการปลดปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์เนื่องจากเป็นพลังงานสะอาดและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม บ้านสุขสาใน หมู่ 5 ต.โป่งสา อ.ปาย จ.แม่ฮ่องสอน 15/02/2567- 17/02/2567
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ลักขณา พันธุ์แสนศรี(50)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ว่าที่ร้อยตรี ดร. ธรรมศักดิ์ พันธุ์แสนศรี(50)
2561  : 288600 บาท (งบประมาณภายในสถาบัน)
ได้ฐานการเรียนรู้และการถ่ายทอดเทคโนโลยีด้านการประยุกต์ใช้พลังงานแสงอาทิตย์สำหรับผลิตไฟฟ้าและสูบน้ำเพื่อการเกษตรและชีวิตประจำวัน ทำให้เกษตรกรเกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างสถาบันการศึกษาและชุมชน นอกจากนี้ยังทำให้ชุมชนใกล้เคียงที่สนใจมาศึกษาดูงานได้ สามารถลดต้นทุนค่าใช้จ่ายด้านพลังงานในการผลิตทางการเกษตรและชีวิตประจำวัน และลดการปลดปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์เนื่องจากเป็นพลังงานสะอาดและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม The Northern Agriculture and Forestry College (NAFC), Luang Prabang Province, Lao PDR 27/11/2566- 30/11/2566
มจ.1-61-086 : การศึกษาเปรียบเทียบสารประกอบที่ว่องไวปฏิกิริยาต่อกระบวนการเมตาบอลิซึมในช่วงระหว่างการงอกของเมล็ดพืช
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. กมลพร ปานง่อม(60)
อาจารย์ ดร. อนุวัฒน์ จรัสรัตนไพบูลย์(20)
อาจารย์ ดร. ธัญญรัตน์ เชื้อสะอาด(20)
2561  : 288600 บาท (งบประมาณภายในสถาบัน)
การใช้ประโยชน์เชิงวิชาการ การอ้างอิงผลงานวิจัยที่มีการตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับนานาชาติ การใช้ประโยชน์เชิงวิชาการ การอ้างอิงผลงานวิจัยที่มีการตีพิมพ์ในวารสารวิชาการ 01/01/2565- 30/09/2565
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. กมลพร ปานง่อม(60)
อาจารย์ ดร. อนุวัฒน์ จรัสรัตนไพบูลย์(20)
อาจารย์ ดร. ธัญญรัตน์ เชื้อสะอาด(20)
2561  : 288600 บาท (งบประมาณภายในสถาบัน)
การใช้ประโยชน์เชิงวิชาการ การอ้างอิงผลงานวิจัยที่มีการตีพิมพ์ในวารสารวิชาการ การใช้ประโยชน์เชิงวิชาการ การอ้างอิงผลงานวิจัยที่มีการตีพิมพ์ในวารสารวิชาการ 01/02/2566- 01/02/2566
มจ.2-61-018 : ยุทธศาสตร์การพัฒนาและการกำหนดลักษณะเชิงพื้นที่ในการจัดการสิ่งแวดล้อม
อาจารย์ ดร. ปิยะพิศ ขอนแก่น(60)
อาจารย์ ดร. อุบลวรรณ สุภาแสน(40)
2561  : 22500 บาท (งบประมาณภายในสถาบัน)
1. นำองค์ความรู้เกี่ยวกับการพัฒนาพื้นที่ และใช้ประโยชน์จากผลผลิตทางธรรมชาติ มาจัดการพื้นที่ 2. การพัฒนายุทธศาสตร์การดำเนินงานสำหรับกลุ่มแปรรูปผลิตภัณฑ์ 3. การพัฒนาสิ่งแวดล้อม กลุ่มวิสาหกิจน้ำพริกบ้านห้วยขอน ต.ห้วยหม้าย อ.สอง จ.แพร่ 27/07/2565- 27/09/2565
สพก.-60-004 : การถอดรหัสภูมิปัญญาฮ่อมในพื้นที่จังหวัดแพร่
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. มัชฌิมา ศุภวิมลพันธ์(55)
รองศาสตราจารย์ ดร. ณัฐพร จันทร์ฉาย(15)
อาจารย์ ดร. พัชรณัฐ ดาวดึงษ์(10)
อาจารย์ ธีราพัฒน์ จักรเงิน(10)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. น้ำฝน รักประยูร(10)
2560  : 800000 บาท (งบประมาณภายนอกสถาบัน)
ภูมิปัญญาฮ่อมจังหวัดแพร่ วิสาหกิจชุมชนหม้อห้อมทุ่งเจริญย้อมสีธรรมชาติ 20/08/2564- 30/09/2564 นำไปประกอบเป็นชุด KIT DIY เสื้อคู่ และผ้าเช็ดหน้า เพื่อเป็นผลิตภัณฑ์ นำมาขายในร้านค้า เกิดรายได้แก่กลุ่มวิสาหกิจชุมชน
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. มัชฌิมา ศุภวิมลพันธ์(55)
รองศาสตราจารย์ ดร. ณัฐพร จันทร์ฉาย(15)
อาจารย์ ดร. พัชรณัฐ ดาวดึงษ์(10)
อาจารย์ ธีราพัฒน์ จักรเงิน(10)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. น้ำฝน รักประยูร(10)
2560  : 800000 บาท (งบประมาณภายนอกสถาบัน)
ภูมิปัญญาฮ่อมจังหวัดแพร่ นายอนุรักษ์ จักรบุตร 16/07/2564- 16/07/2564 ได้ชุด KIT DIY สีน้ำระบายสี 1 ผลิตภัณฑ์
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. มัชฌิมา ศุภวิมลพันธ์(55)
รองศาสตราจารย์ ดร. ณัฐพร จันทร์ฉาย(15)
อาจารย์ ดร. พัชรณัฐ ดาวดึงษ์(10)
อาจารย์ ธีราพัฒน์ จักรเงิน(10)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. น้ำฝน รักประยูร(10)
2560  : 800000 บาท (งบประมาณภายนอกสถาบัน)
นำไปใช้ประโยชน์ในภาคการผลิตและภาคธุรกิจ โดยการนำไปประกอบเป็นชุด KIT DIY เสื้อคู่ Der Hom เพื่อเป็นผลิตภัณฑ์ใหม่ของร้านในการขายทางออนไลน์และหน้าร้าน วิสาหกิจชุมชนหม้อห้อมทุ่งเจริญย้อมสีธรรมชาติ ต.ทุ่งโฮ้ง อ.เมือง จ.แพร่ 01/10/2565- 02/06/2565
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. มัชฌิมา ศุภวิมลพันธ์(55)
รองศาสตราจารย์ ดร. ณัฐพร จันทร์ฉาย(15)
อาจารย์ ดร. พัชรณัฐ ดาวดึงษ์(10)
อาจารย์ ธีราพัฒน์ จักรเงิน(10)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. น้ำฝน รักประยูร(10)
2560  : 800000 บาท (งบประมาณภายนอกสถาบัน)
นำไปใช้ประโยชน์ในภาคการผลิตและภาคธุรกิจ โดยการนำไปประกอบเป็นชุด KIT DIY เสื้อคู่ Der Hom เพื่อเป็นผลิตภัณฑ์ใหม่ของร้านในการขายทางออนไลน์และหน้าร้าน วิสาหกิจชุมชนหม้อห้อมทุ่งเจริญย้อมสีธรรมชาติ ต.ทุ่งโฮ้ง อ.เมือง จ.แพร่ 02/06/2565- 27/09/2565
มจ.2-60-056 : การดัดแปรสตาร์ชข้าวด้วยวิธีความร้อนชื้นต่อการเปลี่ยนแปลงคุณสมบัติทางเคมีกายภาพ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. อิศรา วัฒนนภาเกษม(70)
อาจารย์ ดร. พัตรเพ็ญ เพ็ญจำรัส(20)
2560  : 30000 บาท (งบประมาณภายในสถาบัน)
การใช้ประโยชน์เชิงวิชาการ การอ้างอิงผลงานวิจัยที่มีการตีพิมพ์ในวารสารวิชาการในระดับนานาชาติ การใช้ประโยชน์เชิงวิชาการ การอ้างอิงผลงานวิจัยที่มีการตีพิมพ์ในวารสารวิชาการ 01/01/2565- 30/09/2565
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. อิศรา วัฒนนภาเกษม(70)
อาจารย์ ดร. พัตรเพ็ญ เพ็ญจำรัส(20)
2560  : 30000 บาท (งบประมาณภายในสถาบัน)
การใช้ประโยชน์เชิงวิชาการ การอ้างอิงผลงานวิจัยที่มีการตีพิมพ์ในวารสารวิชาการ การใช้ประโยชน์เชิงวิชาการ การอ้างอิงผลงานวิจัยที่มีการตีพิมพ์ในวารสารวิชาการ 01/03/2566- 01/03/2566
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. อิศรา วัฒนนภาเกษม(70)
อาจารย์ ดร. พัตรเพ็ญ เพ็ญจำรัส(20)
2560  : 30000 บาท (งบประมาณภายในสถาบัน)
การใช้ประโยชน์เชิงวิชาการ การอ้างอิงผลงานวิจัยที่มีการตีพิมพ์ในวารสารวิชาการ การใช้ประโยชน์เชิงวิชาการ การอ้างอิงผลงานวิจัยที่มีการตีพิมพ์ในวารสารวิชาการ 01/10/2566- 03/09/2567
มจ.2-60-053 : ความหลากหลายของพืชและสารเคมีตกค้างในพื้นที่เกษตรกรรม และพื้นที่ป่าบริเวณภาคเหนือของประเทศไทยโดยการวิเคราะห์เกสรที่เก็บโดยผึ้ง
รองศาสตราจารย์ ดร. วีรนันท์ ไชยมณี(100)
2560  : 50000 บาท (งบประมาณภายในสถาบัน)
การใช้ประโยชน์เชิงวิชาการ การอ้างอิงผลงานวิจัยที่มีการตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับนานาชาติ การใช้ประโยชน์เชิงวิชาการ เช่น การอ้างอิงผลงานวิจัยที่มีการตีพิมพ์ในวารสารวิชาการ 01/10/2564- 30/09/2565
OT-58-049T : การห่อหุ้มซินไบโอติกจากฝุ่นข้าวโพดในแคปซูล alginate-chitosan เพื่อปรับปรุงการอยู่รอดในสภาวะระบบทางเดินอาหารจำลอง
รองศาสตราจารย์ ดร. ณัฐพร จันทร์ฉาย(100)
2558  : 0 บาท (ทุนส่วนตัว)
นำไปเป็นสารเสริมในอาหารสัตว์น้ำในแคปซูลอัลจิเนตไคโตซาน เพื่อนำมาสร้างผลิตภัณฑ์เพื่อจำหน่ายทางออนไลน์และออฟไลน์ บริษัท ซีอาร์-วัน จำกัด ต.บ้านเวียง อ.ร้องกวาง จ.แพร่ 01/06/2565- 04/06/2565
มจ.2-59-085 : การศึกษาเชิงอภิมานการมีส่วนร่วมของประชาชนในการ จัดการป่าชุมชนภาคเหนือของประเทศไทย
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ปัญจพร คำโย(80)
2559  : 25000 บาท (งบประมาณภายในสถาบัน)
การใช้ประโยชน์เชิงวิชาการ การอ้างอิงผลงานวิจัยที่มีการตีพิมพ์ในวารสารวิชาการ ใช้ประกอบการขอตำแหน่งทางวิชาการตามเกณฑ์ที่ ก.พ.อ.กำหนด การใช้ประโยชน์เชิงวิชาการ การอ้างอิงผลงานวิจัยที่มีการตีพิมพ์ในวารสารวิชาการ ใช้ประกอบการขอตำแหน่งทางวิชาการ 01/10/2564- 30/09/2565
มจ.1-58-060 : ศึกษาการทำข้าวกล้องพองโดยไม่ต้องใช้น้ำมันทอด
2558  : 266000 บาท (งบประมาณภายในสถาบัน)
สูตรและวิธีการผลิตมูสลี่แผ่นจากข้าวพองไร้น้ำมันทอด องค์การบริหารส่วนตำบลส้าน อ.เวียงสา จ.น่าน 10/07/2564- 30/09/2564 การผลิตมูสลี่แผ่นจากข้าวพองไร้น้ำมันทอด
2558  : 266000 บาท (งบประมาณภายในสถาบัน)
นำสูตรและวิธีการผลิตข้าวพองธัญพืช เพื่อถ่ายทอดองค์ความรู้ให้แก่ประชาชนในชุมชน ในโครงการบรรเทาควบคุมและป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อโคโรนา 2019 (COVID-19) และเป็นแนวทางในการประกอบอาชีพในอนาคต 12/02/2565- 12/02/2565 เพื่อถ่ายทอดองค์ความรู้ให้แก่ประชาชนในชุมชน ในโครงการบรรเทาควบคุมและป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อโคโรนา 2019 (COVID-19) และเป็นแนวทางในการประกอบอาชีพในอนาคต
วิทยาลัยนานาชาติ
สสส.-64-001 : การพัฒนาระบบจัดหาผลไม้อินทรีย์จากฟาร์มเกษตรสู่เมนูอาหารกลางวันของโรงเรียนในอำเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. สถาพร แสงสุโพธิ์(30)
2564  : 615000 บาท (งบประมาณภายนอกสถาบัน)
โรงเรียนในพื้นที่มีการรับซื้อผลผลิตข้าวและผักจากกลุ่มเกษตร และ เกษตรกรมีการรวมกลุ่มผลิตและจัดจำหน่ายผลผลิตผักผลไม้ผ่านตลาดสีเขียว โดย อบต.เป็นเจ้าภาพหลัก และ รพสต.บ้านหนองปลามัน มีการกำกับดูแลส่งเสริมบริการสุขภาพของประชาชน และตรวจสุขภาพของคนในชุมชนอย่างสม่ำเสมอ ส่งผลให้ในตำบลมีอาหารและสุขภาพที่ดีขึ้น องค์การบริหารส่วนตำบลห้วยทราย อำเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่ 01/10/2564- 30/09/2565 -
วิทยาลัยบริหารศาสตร์
วบศ.2564.004 : กระบวนการจัดการความรู้จากทุนทางสังคมเพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งของท้องที่และท้องถิ่นแบบมีส่วนร่วมของภาคประชาชน ในพื้นที่เทศบาลตำบลป่าเมี่ยง อำเภอดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม่
รองศาสตราจารย์ ดร. วินิจ ผาเจริญ(85)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. สถาพร แสงสุโพธิ์(5)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. นนท์ น้าประทานสุข(5)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. สุริยจรัส เตชะตันมีนสกุล(5)
2564  : 50000 บาท (งบประมาณภายในสถาบัน)
1. ได้นำข้อมูลในการวิเคราะห์ต้นทุนทางสังคมเพื่อการสืบสานประเพณีสืบชะตาป่าไม้และสายน้ำแม่กวง-แม่ลาว เพื่อเกิดการร่วมกันอนุรักษ์ พัฒนาชุมชน ทรัพยากรธรรมชาติสิ่งแวดล้อม ในพื้นที่ลุ่มน้ำกวงให้เกิดความยั่งยืน 2. ได้เกิดการบูรณาการหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาสังคมในการพัฒนาพัฒนาท้องถิ่นและการอนุรักษ์ ป้องกัน ฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างบูรณาการ 3. ได้เกิดการการสืบสานวัฒนธรรม จารีต ประเพณี และภูมิปัญญาท้องถิ่น เพื่อรักษา สืบสาน และต่อยอดศิลปะวัฒนธรรม จารีตประเพณีที่ดีงานและภูมิปัญญาท้องถิ่นให้ดำรงคงอยู่อย่างมีคุณค่า ที่ทำการกำนันตำบลป่าเมี่ยง อำเภอดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม่ 09/05/2565- 31/08/2566 1. ประโยชน์ในการพัฒนาความรู้และการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ และสร้างกระบวนการเรียนรู้เพื่อบริหารจัดการการท่องเที่ยวของชุมชนบนฐานวัฒนธรรมท้องถิ่น 2. ประโยชน์เป็นการเสริมสร้างภูมิคุ้มกัน สร้างสภาพแวดล้อมที่ดี และพัฒนาแหล่งเรียนรู้เพื่อสุขภาพของคนในชุมชน 3. ประโยชน์ในการสร้างศักยภาพและการมีส่วนร่วมของชุมชนต่อการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และส่งเสริมการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติอย่างไม่สร้างผลกระทบ
สสส.-64-001 : การพัฒนาระบบจัดหาผลไม้อินทรีย์จากฟาร์มเกษตรสู่เมนูอาหารกลางวันของโรงเรียนในอำเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. สถาพร แสงสุโพธิ์(30)
2564  : 615000 บาท (งบประมาณภายนอกสถาบัน)
โรงเรียนในพื้นที่มีการรับซื้อผลผลิตข้าวและผักจากกลุ่มเกษตร และ เกษตรกรมีการรวมกลุ่มผลิตและจัดจำหน่ายผลผลิตผักผลไม้ผ่านตลาดสีเขียว โดย อบต.เป็นเจ้าภาพหลัก และ รพสต.บ้านหนองปลามัน มีการกำกับดูแลส่งเสริมบริการสุขภาพของประชาชน และตรวจสุขภาพของคนในชุมชนอย่างสม่ำเสมอ ส่งผลให้ในตำบลมีอาหารและสุขภาพที่ดีขึ้น องค์การบริหารส่วนตำบลห้วยทราย อำเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่ 01/10/2564- 30/09/2565 -
วบศ.2564.001 : พลวัตการมีส่วนร่วมของภาคพลเมืองในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมแบบบูรณาการ กรณีศึกษาบ้านป่าสักงาม ตำบลลวงเหนือ อำเภอดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม่
รองศาสตราจารย์ ดร. วินิจ ผาเจริญ(100)
2564  : 50000 บาท (งบประมาณภายในสถาบัน)
นำผลการวิจัยที่มีทั้งข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย ข้อเสนอแนะเชิงปฏิบัติการเพื่อให้ชุมชนได้นำผลงานวิจัยปรับใช้ในพื้นที่แบบบูรณาการ โดยชุมชนเกิดการรวมกลุ่มและเครือข่ายทำกิจกรรมเชิงปฏิบัติการในการสร้างปลูกป่าในใจคน การสร้างฝายต้นน้ำ และทำแนวกันไฟป่า นอกจากนั้นชุมชนยังได้เกิดการรวมกลุ่มระดับครัวเรือน ได้แก่ กลุ่มเกษตรอินทรีย์ กลุ่มหัตถกรรมจักสานและแปรรูปหวาย-ไม้ไผ่ กลุ่มเพาะกล้าไม้และการอนุรักษ์พืชสมุนไพรได้เกิดการเรียนรู้และการบริหารจัดการกลุ่มอย่างมีส่วนร่วม โดยเน้นการการมีส่วนร่วมในการคิด ตัดสินใจ ร่วมวางแผน ร่วมทำงานในชุมชน ที่ทำการผู้ใหญ่บ้านป่าสักงาม ตำบลลวงเหนือ อำเภอดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม่ 22/12/2565- 31/08/2566 1. เสริมสร้างระบบนิเวศที่อุดมสมบูรณ์ โดยการอนุรักษ์ฟื้นฟูทรัพยากรป่าไม้และความหลากหลายทางชีวภาพ ในพื้นที่ป่าลุ่มน้ำห้วยคัง ประมาณ 30,000 ไร่ ด้วยทฤษฎีการพัฒนาป่าไม้อันเนื่องมาจากพระราชดำริ ได้แก่ การปลูกป่าในใจคน การสร้างฝายต้นน้ำลำธาร การปลูกไม้ 3 อย่างประโยชน์ 4 ประการ การสร้างป่าเปียก ตลอดจนการตรวจลาดตระเวน ทำแนวกันไฟป่า และดับไฟป่า 2. เสริมสร้างรายได้ระดับครัวเรือนและกลุ่ม โดยส่งเสริมและสนับสนุนให้เกิดกลุ่มเพื่อการบริหารจัดการและใช้ประโยชน์จากความหลากหลายทางชีวภาพในชุมชน ได้แก่ การผลิตปุ๋ยธรรมชาติ (ใบไม้จากการทำแนวป้องกันไฟป่า) การเกษตรอินทรีย์ (พืชผักครัวเรือน) การหัตถกรรมจักสานและแปรรูปหวาย-ไม้ไผ่ การผลิตเห็ดจากป่าธรรมชาติ การส่งเสริมวนเกษตรและปศุสัตว์ การเพาะกล้าไม้ป่าและอนุรักษ์พันธุกรรมพืช (เมล็ดไม้ป่า) การอนุรักษ์พืชสมุนไพร เป็นต้น 3. เกิดการเรียนรู้และสนับสนุนส่งเสริมกระบวนการบริหารจัดการกลุ่มอย่างมีส่วนร่วม โดยเน้นการบริหารที่เปิดโอกาสให้ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องได้เข้ามามีส่วนในการคิด ตัดสินใจ ร่วมวางแผน ร่วมทำงาน เพื่อจะก่อให้เกิดความรู้สึกผูกพัน ผูกมัด และตกลงใจร่วมกันทำงานตามความรู้ความสามารถของสมาชิกในชุมชน เพื่อให้บรรลุเป้าหมายอย่างมีความสุขและสามัคคี 4. ค่ายสิ่งแวดล้อมศึกษา ดำเนินกระบวนการสิ่งแวดล้อมศึกษา ในรูปแบบค่ายสิ่งแวดล้อมสำหรับเยาวชน โดยมุ่งเน้นการเรียนรู้แบบบูรณาการเพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่ผู้เรียนในการสัมผัสบรรยากาศ และเชื่อมโยงสิ่งที่ได้เรียนรู้จากสิ่งแวดล้อมตามธรรมชาติและวิถีชุมชน กับสถานการณ์ภายนอกได้อย่างมีเหตุมีผล เก็บแนวคิดดี ๆ แบ่งปัน และสร้างสรรค์เครือข่ายเพื่อร่วมกันอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม 5. สร้างกระบวนการเครือข่าย โดยการสนับสนุนและร่วมกันต่อยอดจากกระบวนการเรียนรู้ในพื้นที่บ้านป่าสักงาม ให้เกิดการขยายการเรียนรู้และปฏิบัติการสู่พื้นที่อื่น ทั้งในพื้นที่ลุ่มน้ำแม่กวง และพื้นที่ลุ่มน้ำในภาคเหนือ เน้นการแลกเปลี่ยนประสบการณ์ในรูปแบบการร่วมชื่นชมยินดี
42/2563 : ขีดความสามารถในการรองรับนักท่องเที่ยวของแหล่งท่องเที่ยวที่มีศักยภาพ (Carrying Capacity)
อาจารย์ ดร. พิชญ์ จิตต์ภักดี(10)
2563  : 2910000 บาท (งบประมาณภายนอกสถาบัน)
The obtained information could be used as a basis on public policy formulation especially in terms of policy comparative studies between the Philippines and Thailand, and it could be a guideline for further conceptual framework for development. Department of Communication University of the East – Caloocan Philippines 22/04/2565- 25/04/2565
วิทยาลัยพลังงานทดแทน
IRTC-64-002 : โครงการการผลิตก๊าซชีวภาพจากน้ำต้มถั่วเหลืองในกระบวนการผลิตเต้าเจี้ยวบด (มิโซะ)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. รจพรรณ นิรัญศิลป์(60)
2564  : 300000 บาท (งบประมาณภายนอกสถาบัน)
เพื่อศึกษาก๊าชชีวภาพจากน้ำต้มถั่วในกระบวนการผลิตมิโซะ บริษัท อิชิคิว ฟูด (ประเทศไทย) จำกัด 02/09/2564- 02/09/2564
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. รจพรรณ นิรัญศิลป์(60)
2564  : 300000 บาท (งบประมาณภายนอกสถาบัน)
1.แก้ไขปัญหาน้ำเสีย/น้ำเหลือทิ้งที่เกิดจากกระบวนการผลิตของโรงงาน 2.ได้ระบบบำบัดที่สามารถกำจัดค่าความสกปรกน้ำเสียได้ 90% บริษัท อิชิคิว ฟูด (ประเทศไทย) จำกัด 30/09/2564- 31/12/2566 1.ลดปัญหาด้านสิ่งแวดล้อม 2.ลดต้นทุนในการกำจัดของเสีย 3.เป็นต้นแบบในอุตสาหกรรม
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. รจพรรณ นิรัญศิลป์(60)
2564  : 300000 บาท (งบประมาณภายนอกสถาบัน)
เทศบาลตําบลสันนาเม็งนำไปใช้ประโยชน์ด้านลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม ลดปริมาณขยะเปียกต้นทาง เทศบาลตำบลสันนาเม็ง 01/10/2566- 30/09/2567 ทศบาลตําบลสันนาเม็งนำไปใช้ประโยชน์ด้านลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม ลดปริมาณขยะเปียกต้นทาง นำขยะเปียกไปใช้ให้เกิดประโยชน์ ลดค่าใช้จ่ายในการกำจัดขยะเปียก ลดข้อร้องเรียนเรื่องกลิ่น ยะเปียกนำไปผลิตแก็สหุงต้ม ลดค่าใช้จ่ายในครัวเรือนและกลุ่มวิสาหกิจชุมชนสันนาเม็งเหม็น
สวก.-64.011 : ต้นแบบการพัฒนาระบบผลิตน้ำเพื่อการเกษตรจากอากาศโดยใช้ความเย็นพื้นดินร่วมกับพลังงานแสงอาทิตย์
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. นิกราน หอมดวง(45)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. กิตติกร สาสุจิตต์(15)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ยิ่งรักษ์ อรรถเวชกุล(10)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ชูรัตน์ ธารารักษ์(10)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. แสนวสันต์ ยอดคำ(5)
อาจารย์ ดร. ประนอม ยังคำมั่น(5)
2564  : 1026000 บาท (งบประมาณภายนอกสถาบัน)
โครงการดังกล่าวจะเป็นศูนย์การเรียนรู้และถ่ายทอดเทคโนโลยีทำให้เกษตรกรเกิดการแลกเปลี่ยนความรู้ระหว่างสถาบันการศึกษาและชุมชน นอกจากนี้ยังทำให้ชุมชนพื้นที่ใกบ้เคียงที่สนใจมาศึกษาดูงานได้และ กลุ่มเกษตรกรสามารถเข้ามาใช้ไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ที่โครงการติดตั้งใช้เพื่อใช้สูบน้ำเพื่อการเกษตรได้ นายสุรินทร์ น้อยเงิน (เกษตรกร) 27/09/2565- 31/12/2566 เกษตรกรมีความรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีการผลิตน้ำจากอากาศโดยใช้ความเย็นพื้นดินร่วมกัยพลังงานแสงอาทิตย์ และยังสามารถลดค่าใช้จ่ายในส่วนของค่าน้ำมันเชื้อเพลิงสำหรับสูบน้ำเพื่อการเกษตร
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. นิกราน หอมดวง(45)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. กิตติกร สาสุจิตต์(15)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ยิ่งรักษ์ อรรถเวชกุล(10)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ชูรัตน์ ธารารักษ์(10)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. แสนวสันต์ ยอดคำ(5)
อาจารย์ ดร. ประนอม ยังคำมั่น(5)
2564  : 1026000 บาท (งบประมาณภายนอกสถาบัน)
นำเอาองค์ความรู้และโทคโนโลยีโซล่าเซลล์พลังงานแสงอาทิตย์ไปใช้ในการดพิ่มหรือส่องแสงสว่างให้กับชุมชน คริสตจักรบ้านปรอโพ 07/02/2566- 07/02/2571 1.ช่วยส่งเสริมให้ชุมชนใช้แหล่งพลังงานที่มีความยั่งยืนและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม 2.ช่วยให้ชุมชนมีรายได้จากการขายของในช่วงการคืนให้เพิ่มขึ้น 3.ช่วยเพิ่มแสงสว่างในครัวเรือนภายในชุมชน
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. นิกราน หอมดวง(45)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. กิตติกร สาสุจิตต์(15)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ยิ่งรักษ์ อรรถเวชกุล(10)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ชูรัตน์ ธารารักษ์(10)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. แสนวสันต์ ยอดคำ(5)
อาจารย์ ดร. ประนอม ยังคำมั่น(5)
2564  : 1026000 บาท (งบประมาณภายนอกสถาบัน)
การนำเอาองค์ความรู้และเทคโนโลยีโซล่าเซลล์พลังงานแสงอาทิตย์ไปใช้ในการเพิ่มหรือสร้างแสงสว่างให้กับชุมชน มูลนิะิสันต์ขันแก้ว 07/02/2566- 07/02/2571 1.ช่วยส่งเสริมให้ชุมชนใช้แหล่งพลังงานที่มีความยั่งยืนและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม 2.ช่วยเพิ่มแสงสว่างในครัวเรือนภายในชุมชน
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. นิกราน หอมดวง(45)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. กิตติกร สาสุจิตต์(15)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ยิ่งรักษ์ อรรถเวชกุล(10)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ชูรัตน์ ธารารักษ์(10)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. แสนวสันต์ ยอดคำ(5)
อาจารย์ ดร. ประนอม ยังคำมั่น(5)
2564  : 1026000 บาท (งบประมาณภายนอกสถาบัน)
เนื่องจากองค์กรกำลังมีการออกแบบการติดตั้งระบบผลิตไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์จำนวน 20 kw ดังนั้นหน่วยงานวิทยาลัยเทคนิคมาบตาพุดได้นำองค์ความรู้จากงานวิจัยต้นแบบการพัฒนาระบบผลิตน้ำเพื่อการเกษตรจากอากาศโดยใช้ความเย็นพื้นดินร่วมกับพลังงานแสงอาทิตย์ (ระบบผลิตไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์) นำไปใช้เป็นประโยชน์ในการออกแบบติดตั้งระบบผลิตไฟฟ้าแสงอาทิตย์ วิทยาลัยเทคนิคมาบตาพุด 01/12/2567- 30/11/2577 1. ช่วยสนับสนุนการลดค่าใช้จ่ายไฟฟ้าของวิทยาลัยเทคนิคมาบตาพุด 2. เป็นศูนย์เรียนรู้ทางด้าน ระบบผลิตไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ให้กับนักเรียนและบุคลากรนอกวิทยาลัย
วพ.2558/008 : โครงการการจัดการวัสดุเหลือทิ้งจากพืชพลังงานอย่างครบวงจรเพื่อผลิตพลังงานด้วยเทคโนโลยีแก๊สซิฟิเคชั่น
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. กิตติกร สาสุจิตต์(35)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ณัฐวุฒิ ดุษฎี(20)
ดร. กมลดารา เหรียญสุวรรณ(15)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. นิกราน หอมดวง(15)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ฐปน ชื่นบาล(15)
2558  : 40000 บาท (งบประมาณภายนอกสถาบัน)
ศึกษาแนวทางการจัดการวัสดุเหลือทิ้งจากพืชพลังงานอย่างครบวงจร วิสาหกิจชุมชนแปลงใหญ่ลำไยตำบลหนองตอง 01/10/2564- 30/09/2565 สามารถเพิ่มมูลค่าวัสดุเหลือทิ้งไปใช้ประโยชน์อย่างคุ้มค่าด้วยการจัดการแบบไม่มีของเสีย และไม่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม จัดการวัสดุเหลือทิ้งจากพืชพลังงานอย่างครบวงจรเพื่อผลิตพลังงานด้วยเทคโนโลยีแก๊สซิฟิเคชั่น
พง.2558.010 : การศึกษาการเปรียบเทียบการผลิตก๊าซชีวภาพจากขยะอินทรีย์ ด้วยจุลินทรีย์อีเอ็ม และจุลินทรีย์ผลิตมีเทนจากมูลโค
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. รจพรรณ นิรัญศิลป์(100)
2557  : 39000 บาท (งบประมาณภายนอกสถาบัน)
มีการนำไปใช้เป็นต้นแบบในการผลิตก๊าชชีวภาพ จากเศษขนะอินทรีย์ในชุมชน เทศบาลเมืองเมืองแกนพัฒนา 01/07/2565- 31/12/2566 1.ต่อยอดในเชิงนโยบายด้านการจัดการขยะ 2.สร้างแนวทางการกำจัดขยะอย่างยั่งยืน
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. รจพรรณ นิรัญศิลป์(100)
2557  : 39000 บาท (งบประมาณภายนอกสถาบัน)
ได้ใช้เป็นแนวทางในการจัดทำต้นแบบด้านการกำจัดขยะอินทรีย์ด้วยเทคโนโลยีระบบผลิตก๊าชชีวภาพที่มีการใช้เชื้อที่มีประสิทธิภาพ เทศบาลตำบลสันป่าเปา 01/10/2566- 30/09/2567
พง.2558.004 : การประยุกต์ใช้ระบบแก๊สชีวภาพ ในโรงอาหารมหาวิทยาลัยแม่โจ้
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. รจพรรณ นิรัญศิลป์(60)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. กิตติกร สาสุจิตต์(40)
2557  : 50000 บาท (งบประมาณภายในสถาบัน)
มีการนำไปใช้เป็นต้นแบบในการผลิตก๊าชชีวภาพจากเศษขยะอินทรีย์ในชุมชน เทศบาลเมืองเมืองแกนพัฒนา 01/07/2565- 31/12/2566 1.ต่อยอดในเชิงนโยบายด้านการกำจัดขยะอินทรีย์ในชุมชน 2.สร้างแนวทางการกำจัดขยะอย่างยั่งยืน
มจ.3-57-015 : การประยุกต์ใช้ระบบแก๊สชีวภาพ ในโรงอาหารมหาวิทยาลัยแม่โจ้
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. รจพรรณ นิรัญศิลป์(50)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. กิตติกร สาสุจิตต์(50)
2557  : 50000 บาท (งบประมาณภายในสถาบัน)
ใช้เป็นทางเลือกในการจัดการเศษอาหารในครัวเรือน สนับสนุนการคัดแยกขยะ นายสุวัจน์ ณ วิชัย นายกเทศมนตรีตำบลสันป่าเปา 01/10/2565- 30/09/2567 1.เป็นองค์ความรู้อีกหนึ่งหนทางเลือกที่สามารถถ่ายทอดสู่ชุมชน 2.ช่วยลดภาระค่าใช้จ่ายเรื่องพลังงาน 3.สามารถจัดการเศษอาหารในเทศบาลได้อย่างมีประสิทธิภาพ
สำนักวิจัยและส่งเสริมวิชาการการเกษตร
อพ.สธ.-62-003 : การศึกษาความหลากหลายทางพันธุกรรมและปัจจัยการเจริญเติบโตของกล้วยไม้สมุนไพร นกคุ้มไฟ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. เยาวนิตย์ ธาราฉาย(50)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ทิพย์สุดา ตั้งตระกูล(20)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ปฏิภาณ สุทธิกุลบุตร(15)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. นฤมล เข็มกลัดเงิน(5)
นาย อดิศักดิ์ การพึ่งตน(5)
อาจารย์ วินัย แสงแก้ว(5)
2562  : 350000 บาท (งบประมาณภายนอกสถาบัน)
เพื่อเพาะขยายพันธุ์ให้มีจำนวนมากขึ้น ส่งเสริมให้มีการอนุรักษ์ในพื้นที่อย่างถูกต้องตามหลักวิชาการ วิสาหกิจชุมชนผู้เพาะเลี้ยง ฟ้ามุ๋ยปงไคร้ 13/06/2561- 30/09/2566 อนุรักษ์ต้นพ่อ แม่พันธุ์กล้วยไม้นกคุ้มไฟในพื้นที่ถิ่นที่อยู่เดิม