รายงานประกันคุณภาพ

ระบบและกลไกลการจัดการความรู้จากงานวิจัย

ช่วงเวลาที่ใช้ประโยชน์เริ่ม
ถึง


URL : อ้างอิงถึงรายงานแสดงผลข้อมูล

รายงานแสดงผลข้อมูลตามเงื่อนไขที่กำหนด
   - % หมายถึง ร้อยละความรับผิดชอบงานวิจัย
- รายงานจะแสดงผลเฉพาะงานวิจัยที่มีการนำไปใช้ประโยชน์และมีเอกสารอ้างอิงการนำไปใช้ประโยชน์เท่านั้น
ผู้ทำงานวิจัย (%) ปีงบประมาณที่ได้รับเงินสนับสนุน รายละเอียดของการนำผลงานไปใช้ประโยชน์
สิ่งที่นำไปใช้ประโยชน์ หน่วยงานหรือชุมชนที่นำไปใช้ ระยะเวลาที่นำไปใช้ประโยชน์ ประโยชน์ที่หน่วยงานหรือชุมชนได้รับ เอกสารประกอบการนำไปใช้ประโยชน์
คณะเทคโนโลยีการประมงและทรัพยากรทางน้ำ
IRTC-64-011 : โครงการการพัฒนาผลิตภัณฑ์ซินไบโอติกส์ร่วมกับวัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตร เพื่อลดการใช้ยาปฏิชีวนะในสัตว์น้ำ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. อุดมลักษณ์ สมพงษ์(100)
2564  : 200000 บาท (งบประมาณภายนอกสถาบัน)
บริษัท อุตสาหกรรม เทคโนโลยีชีวภาพ (ประเทศไทย) จำกัด ได้นำองค์ความรู้ “กระบวนการผลิตอาหารเสริมซินไบโอติกส์จากวัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตรเพื่อเป็นอาหารเสริมในสัตว์น้ำ” ไปใช้ในกิจการ เพื่อดำเนินการผลิตและจำหน่ายในอุตสาหกรรมอาหารสัตว์ โดยผลิตและจำหน่ายในประเทศไทยและต่างประเทศ บริษัท อุตสาหกรรม เทคโนโลยีชีวภาพ (ประเทศไทย) จำกัด 01/12/2565- 30/11/2570
มจ.2-63-093 : ศึกษาประสิทธิภาพระบบเลี้ยงปลาดุกและปลูกผักในบ้านอัจฉริยะ
อาจารย์ ดร. โดม อดุลย์สุข(100)
2563  : 15000 บาท (งบประมาณภายในสถาบัน)
1. สร้างต้นแบบของระบบเกษตรผสมผสานการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำร่วมกับการปลูกพืชด้วยระบบอัจฉริยะ ยกระดับการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำร่วมกับการปลูกพืชในยุคอินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่ง ให้เป็นเกษตรแม่นยำสูง 2. ประยุกต์ใช้ระบบโปรแกรมเมเบิลลอจิกคอลโทรลเลอร์ (PLC) ซึ่งเป็นระบบควบคุมการทำงานของเครื่องจักร หรือระบบการทำงานต่างๆ ที่ใช้ในโรงงานอุตสาหกรรมซึ่งมีความแม่นยำสูง มาใช้ในการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำร่วมกับการปลูกพืช 3. เพิ่มมูลค่าผลผลิตสินค้าอาหารปลอดภัย (เนื้อปลา-พืชผัก) ภายใต้โครงการบริการวิชาการของภาควิชาสัตว์ศาสตร์และสัตว์น้ำ ซึ่งสามารถเพิ่มมูลค่าผลผลิตสินค้าอาหารปลอดภัย ไม่ต่ำกว่า 30,000 บาท/ปี ภาควิชาสัตวศาสตร์และสัตว์น้ำ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 01/08/2565- 31/08/2569
อาจารย์ ดร. โดม อดุลย์สุข(100)
2563  : 15000 บาท (งบประมาณภายในสถาบัน)
นำองค์ความรู้จากงานวิจัยไปถ่ายทอดให้แก่นักศึกษาของคณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ และบุคคลภายนอกที่สนใจ รวมไปถึงพัฒนาเป็นศูนย์เรียนรู้ด้านเกษตรสมัยใหม่ สำหรับเป็นแหล่งศึกษาดูงานของชุมชนที่สนใจ คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ 04/01/2565- 27/02/2569
อวน.-63-002 : ประสิทธิภาพของชีวภัณฑ์ fish premix และ THEPTM1 ต่อการเจริญเติบโตและคุณภาพของปลานิล
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. จิราพร โรจน์ทินกร(80)
อาจารย์ ดร. ขจรเกียรติ์ ศรีนวลสม(20)
2563  : 310000 บาท (งบประมาณภายนอกสถาบัน)
บริษัท อุตสาหกรรม เทคโนโลยีชีวภาพ (ประเทศไทย) จำกัด ได้นำองค์ความรู้ “ประสิทธิภาพของชีวภัณฑ์ fish premix และ THEPTM1 ต่อการเจริญเติบโตและคุณภาพของปลานิล” ไปใช้ในกิจการ เพื่อดำเนินการผลิตและจำหน่ายในอุตสาหกรรมอาหารสัตว์ โดยผลิตและจำหน่ายในประเทศไทยและต่างประเทศ บริษัท อุตสาหกรรม เทคโนโลยีชีวภาพ (ประเทศไทย) จำกัด 01/12/2565- 30/11/2570
อวน.-63-001 : ประสิทธิภาพของชีวภัณฑ์ shrimp premix และ MEX1 ต่อสุขภาพและผลผลิตของกุ้งเศรษฐกิจ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. จิราพร โรจน์ทินกร(80)
2563  : 330000 บาท (งบประมาณภายนอกสถาบัน)
บริษัท อุตสาหกรรม เทคโนโลยีชีวภาพ (ประเทศไทย) จำกัด ได้นำองค์ความรู้ “ประสิทธิภาพของชีวภัณฑ์ shrimp premix และ MEX1 ต่อสุขภาพและผลผลิตของกุ้งเศรษฐกิจ” ไปใช้ในกิจการ เพื่อดำเนินการผลิตและจำหน่ายในอุตสาหกรรมอาหารสัตว์ โดยผลิตและจำหน่ายในประเทศไทยและต่างประเทศ บริษัท อุตสาหกรรม เทคโนโลยีชีวภาพ (ประเทศไทย) จำกัด 01/12/2565- 30/11/2570
คณะบริหารธุรกิจ
มจ.2-64-014 : วิธีการสร้างเรื่องราวในการกระจายสินค้าผ่านเครือข่ายสังคมออนไลน์ในกาดสดเดลิเวอรี่
อาจารย์ ดร. อุกฤษณ์ มารังค์(60)
อาจารย์ ณัฐดนัย เขียววาท(20)
อาจารย์ นนท์ ปิ่นเงิน(20)
2564  : 30000 บาท (งบประมาณภายในสถาบัน)
การใช้เทคนิคการสื่อสารในรูปแบบการเขียนเนื้อหาเรื่องราวเพื่อสื่อสารกับกลุ่มลูกค้าทั้งผ่านสื่อสังคมออนไลน์ เว็บไซต์และการนำเสนอผลงาน หจก.อินฟินิตี้ ฟีโนมีนอล ซอฟท์แวร์ 07/10/2564- 07/10/2564 ได้กลุ่มลูกค้าใหม่เพิ่มขึ้นจากการทำการตลาดออนไลน์ ส่งผลให้บริษัทได้รับงานอย่างต่อเนื่อง ส่งผลให้มีอัตราการจ้างงานเพิ่ม จากองค์กรที่มีพนักงาน 6 คน
อาจารย์ ดร. อุกฤษณ์ มารังค์(60)
อาจารย์ ณัฐดนัย เขียววาท(20)
อาจารย์ นนท์ ปิ่นเงิน(20)
2564  : 30000 บาท (งบประมาณภายในสถาบัน)
ได้นำเทคนิคในการสร้างเรื่องราวในการทำตลาดออนไลน์มาใช้เป็นแนวทางในการทำธุรกิจตลาดออนไลน์ผ่าน facebook สำหรับสร้างความสัมพันธ์กับลูกค้าเก่า และหาลูกค้าใหม่ ห้างหุ้นส่วนจำกัด เอฟบีทีไลฟ์ 01/01/2566- 31/01/2567
มจ.2-60-003 : ต้นทุนเงินทุนส่วนของเจ้าของและการเปิดเผยข้อมูลความรับผิดชอบของคณะกรมรมการต่อรายงานทางการเงิน
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. รัชนียา บังเมฆ(70)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. อรุณี ยศบุตร(30)
2560  : 20000 บาท (งบประมาณภายในสถาบัน)
ผลการวิจัยได้รับการนำไปใช้ประโยชน์ทางวิชาการตามวัตถุประสงค์ของโครงการวิจัย โดยได้รับการอ้างอิงผลงานวิจัยที่มีการตีพิมพ์ในวารสารวิชาการของต่างประเทศ ในปี 2567 (วารสาร Iranian management accounting knowledge management auditing Volume 13 No. 52 winter 2024) Dr. Hamed Nabil Hamed Soliman & Dr. Ibrahim Elsayed Elgohary, Faculty of Commerce, Mansoura University 20/02/2567- 30/09/2567
คณะผลิตกรรมการเกษตร
สวทช.-64-001 : การถ่ายทอดเทคโนโลยีแอพพลิเคชั่น Smart NPK ร่วมกับชุดวิเคราะห์ดินแบบพกพาสำหรับการจัดการดินและปุ๋ยเพื่อการปลูกพืชแปลงใหญ่
รองศาสตราจารย์ ดร. ศุภธิดา อ่ำทอง(50)
รองศาสตราจารย์ ดร. ชวโรจน์ ใจสิน(20)
2564  : 1675500 บาท (งบประมาณภายนอกสถาบัน)
เกษตรกร เจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตร สามารถนำผลการวิเคราะห์ดินของพื้นที่ต่างๆ มาคำนวณ ปริมาณปุ๋ยให้เหมาะสมกับระดับธาตุอาหารในดินของแต่ละพื้นที่ และชนิดพืช เกษตรกรผู้สนใจทั่วไป 01/10/2564- 31/12/2565
รองศาสตราจารย์ ดร. ศุภธิดา อ่ำทอง(50)
รองศาสตราจารย์ ดร. ชวโรจน์ ใจสิน(20)
2564  : 1675500 บาท (งบประมาณภายนอกสถาบัน)
การถ่ายทอดองค์ความรู้จากผลงานวิจัยของ รองศาสตราจารย์ ดร. ศุภธิดา อ่ำทอง ศูนย์จัดการดินและปุ๋ยชุมชน ได้แลกเปลี่ยนองศ์ความรู้ ปัญหา เพื่อสร้างแนวทางในการปลูกพืช กระตุ้นให้เกษตรกรมีการปรับตัวในด้านการใช้เทคโนโลยี โดยเฉพาะการใช้แอพพลิเคชั่น UNT AGROMET และ Smart NPK สามารถนำมาใช้วางแผน ตั้งรับและเฝ้าระวังเพื่อลดความเสี่ยงหรือความเสียหายจากสภาพอากาศและความความชื้นของดิน และช่วยตัดสินใจวางแผนการปลูกพืชในฤดูกาลต่อไป เพื่อลดต้นทุนปัจจัยการผลิต ค่าปุ๋ย เพิ่มผลผลิตและคุณภาพให้แก่พืชผลทางการเกษตร ศูนย์จัดการดินและปุ๋ยชุมชน ตำบลไชยสถาน อำเภอเมือง จังหวัดน่าน 13/03/2566- 12/03/2567 สามารถเพิ่มศักยภาพการปลูกพืชได้ เช่น การจัดการดินและน้ำ และลดความเสี่ยงความเสียหายที่เกิดจากผลผลิตเสียหายจากภัยแล้ง และนำเทคโนโลยีต่าง ๆ ไปใช้หรือปรับให้เหมาะสมในพื้นที่ทำการเกษตรของตนเองได้อย่างมีประสิทธิภาพ ได้ผลผลิตสูงและลดความเสียหายต่อพืชผลทางการเกษตร
สวพ.-63-001 : การศึกษาวิธีการจัดการศัตรูพืชสำคัญแบบผสมผสานสำหรับการปลูกองุ่นบนพื้นที่สูง
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ฉัตรสุดา เผือกใจแผ้ว(40)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. สุรีย์วัลย์ เมฆกมล(20)
ดร. จักรพงษ์ สุภาวรรณ์(15)
รองศาสตราจารย์ ดร. ณัฐดนัย ลิขิตตระการ(15)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. เจนจิรา หม่องอ้น(10)
2563  : 500000 บาท (งบประมาณภายนอกสถาบัน)
1. นำองค์ความรู้ด้านการป้องกันกำจัดโรคพืชและแมลงศัตรูพืช มาเรียบเรียงและแเผยแพร่ใน เรื่อง “ปลูกองุ่นปลอดภัย ต้องทำอย่างไร...” ผ่านทางเว็บไซต์ของหน่วยงาน https://www.hrdi.or.th/Articles/Detail/125ตั้งแต่วันที่ 28 มกราคม 2564 2. ใช้องค์ความรู้จากงานวิจัยนี้ดำเนินโครงการวิจัย เรื่อง “การปลูกองุ่นภายใต้ระบบการจัดการศัตรูพืชแบบผสมผสานเพื่อลดการใช้สารเคมี” ปีงบประมาณ 2564 ในพื้นที่โครงการพัฒนาพื้นที่สูงแบบโครงการหลวงจำนวน 14 แห่ง เกษตรกร 44 ราย สถาบันวิจัยและพัฒนาพื้นที่สูง 01/10/2563- 30/09/2570 เกษตรกรในพื้นที่โครงการพัฒนาพื้นที่สูงแบบโครงการหลวง ยอมรับวิธีการปลูกองุ่นภายใต้ระบบการจัดการศัตรูพืชแบบผสมผสานเพื่อลดการใช้สารเคมี ปลอดภัยต่อตัวเกษตรกร สร้างความเชื่อมั่นและปลอดภัยแก่ผู้บริโภค และเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
สวก-62-010 : การพัฒนาพันธุ์ปทุมมาลูกผสมข้ามชนิดเพื่อการค้า(ปีที่2)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. เฉลิมศรี นนทสวัสดิ์ศรี(100)
2562  : 832700 บาท (งบประมาณภายนอกสถาบัน)
แสดงเจตจำนงขอรับอนุญาตให้ใช้สิทธิผลงานวิจัย ปทุมมา จำนวน 10 สายพันธ์ุ รูปแบบการอนุญาตให้ใช้สิทธิแต่เพียงผู้เดียวทั้งในประเทศและต่างประเทศ เป็นระยะเวลา 10 ปี บริษัทสดใส ล้านนาจำกัด 25/11/2564- 30/11/2575
สกว.-61-016 : การพัฒนาต้นแบบระบบปิดและระบบ ioT เพื่อผลิตสตรอเบอร์รี่ภายใต้แสงไฟเทียทในตู้คอนเทรเนอร์
รองศาสตราจารย์ ดร. สิริวัฒน์ สาครวาสี(100)
2561  : 3689500 บาท (งบประมาณภายนอกสถาบัน)
ลงนามอนุญาตให้ใช้สิทธิในผลงานวิจัยและนำเสนองานวิจัยเด่น"Maejo Licensing and Pitching Day 2021 เรื่อง “ระบบโรงงานพืชเพื่อการปลูกสตรอเบอร์รี่”ระหว่าง มหาวิทยาลัยแม่โจ้ กับบริษัท ชีวิค มีเดีย จำกัด บริษัท ชีวิค มีเดีย จำกัด 10/03/2565- 10/03/2570
สวก.-60-004 : การพัฒนาพันธุ์ปทุมมาลูกผสมข้ามชนิดเพื่อการค้า
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. เฉลิมศรี นนทสวัสดิ์ศรี(80)
อาจารย์ ดร. ประนอม ยังคำมั่น(10)
2560  : 1655500 บาท (งบประมาณภายนอกสถาบัน)
นำเทคโนโลยีจากงานวิจัยเพื่อเพาะพันธุ์ กล้าไม้ดอกไม้ประดับเพื่อจำหน่ายในประเทศและต่างประเทศเพื่อการส่งออก สำนักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (องค์กรมหาชน) 09/05/2561- 09/05/2561 1. งานวิจัยที่ได้รับการสนับสนุนจากแหล่งทุนภายนอก 2. ผลจากงานวิจัยสามารถจดทะเบียนพันธุ์และรับรองพันธุ์พืช 3. ผลจากงานวิจัยสามารถจำหน่ายให้แก่หน่วยงานภายนอก ก่อให้เกิดรายได้ต่อหน่วยงาน 4. ผลงานสร้างขื่อเสียงให้แก่มหาวิทยาลัย
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. เฉลิมศรี นนทสวัสดิ์ศรี(80)
อาจารย์ ดร. ประนอม ยังคำมั่น(10)
2560  : 1655500 บาท (งบประมาณภายนอกสถาบัน)
แสดงเจตจำนงขอรับอนุญาตให้ใช้สิทธิผลงานวิจัย ปทุมมา จำนวน 10 สายพันธ์ุ รูปแบบการอนุญาตให้ใช้สิทธิแต่เพียงผู้เดียวทั้งในประเทศและต่างประเทศ เป็นระยะเวลา 10 ปี บริษัทสดใส ล้านนาจำกัด 25/11/2564- 25/11/2575
คณะศิลปศาสตร์
มจ.2-60-020 : การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมเพื่อพัฒนาการเตรียมความพร้อมเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุของกลุ่มแรงงานนอกระบบภาคการเกษตรในอำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่
อาจารย์ พีรดา ประจงการ(50)
2560  : 100000 บาท (งบประมาณภายในสถาบัน)
การใช้ประโยชน์จากงานวิจัย ; วิสาหกิจชุมชนเกษตรอินทรีย์แม่ตาด ใช้เป็นกรอบแนวคิดวิธีจัดกิจกรรม กระบวนการเพื่อใช้ในโครงการ การศึกษาแนวทางการส่งเสริมชุมชนเพื่อสร้างนิเวศชุมชนใหม่ ลดปัจจัยเสี่ยงต่อการพึ่งพาเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ งานวิจัยก่อให้เกิดผลดีคือ ; พัฒนาศักยภาพแนวคิดของทีมงานและกลุ่มเป้าหมาย , มีเครื่องมือในการจัดกิจกรรมด้านการสร้างเสริมสุขภาพจิต ได้ทบทวนพิจารณาต้นทุนทางจิตวิทยาและสร้างความเชื่อมั่นมั่นใจต่อการทำกิจกรรม ทั้งนี้ในการนำผลงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ตรงกับวัตถุกประสงค์การวิจัยกล่าวคือ นักวิจัยใช้ข้อเสนอแนะทางการเตรียมความพร้อมเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุเป็นกรอบแนวคิดการออกแบบกิจกรรม กระบวนการในการดำเนินโครงการของผู้ใช้ประโยชน์ ผลของการวิจัยได้ใช้ปัจจัยจิตวิทยา "การรับรู้ความสามารถในตน" เพื่อพัฒนาศักยภาพทีมงานและกลุ่มเป้าหมาย มีการจัดกิจกรรมสำหรับกลุ่มเป้าหมายของครั้ง คือ 1) จัดกิจกรรม "การเพิ่มประสิทธิภาพด้านจิตวิทยาเพื่อนำไปใช้ในการจัดกิจกรรมกลุ่มเป้าหมาย" ในวันที่ 22 กรกฎาคม 2566 ณ ศูนย์ศึกษานวัตกรรมสังคมและสันติภาพ คณะศิลปศาสตร์ กิจกรรมที่ 2) จัดกิจกรรมเชิงกระบวนการประเมินสุขภาพ (กาย-จิต) ผลการออกแบบกิจกรรมอย่างมีส่วนร่วมเพื่อการสร้างพื้นที่ปลอดภัยลดความเหลื่อมล้ำและปัจจัยเสี่ยงสุขภาพ ณ ห้องประชุมโรงเรียนวัดล้านตอง ดำเนินกิจกรรมโดยกลุ่มวิสาหกิจชุมชนเกษตรอินทรีย์บ้านแม่ตาด วิสาหกิจชุมชนเกษตรอินทรีย์แม่ตาด 01/07/2566- 30/09/2566
อาจารย์ พีรดา ประจงการ(50)
2560  : 100000 บาท (งบประมาณภายในสถาบัน)
อสม.นำแนวคิดการเตรียมความพร้อมเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุเป็นกรอบแนวคิดการออกแบบกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพจิตชุมชนเพื่อเตรียมรับมือการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ และนำผลงานวิจัยในประเด็นการพัฒนากลไกด้านสาธารณสุขมาใช้พัฒนาศักยภาพ อสม.บ้านศรีวังธาน กลุ่มอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม. หมู่ 8 บ้านศรีวังธาร) 25/03/2567- 30/09/2567
มจ.2-59-007 : การศึกษาชั้นวัฒนธรรมทางโบราณคดี เมืองโบราณเวียงละกอน
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. เมธี เมธาสิทธิ สุขสำเร็จ(100)
2559  : 50000 บาท (งบประมาณภายในสถาบัน)
นำส่วนหนึ่งของงานวิจัยจัดพิมพ์บทความเรื่อง "การกำหนดอายุวัดปงสนุกเหนือจากการขุดค้นทางโบราณคดี" โดยนำไปใช้ในการจ้ดทำหนังสือรวมบทความ "มรดกวัฒนธรรมศิลปกรรมวัดปงสนุก" วัดปงสนุกเหนือ ต.เวียงเหนือ อ.เมืองลำปาง จ.ลำปาง 02/08/2564- 02/08/2564
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. เมธี เมธาสิทธิ สุขสำเร็จ(100)
2559  : 50000 บาท (งบประมาณภายในสถาบัน)
- นำส่วนหนึ่งของงานวิจัยจัดพิมพ์บทความเรื่อง "การกำหนดอายุวัดปงสนุกเหนือจากการขุดค้นทางโบราณคดี" โดยนำไปใช้ในการจ้ดทำหนังสือรวมบทความ "มรดกวัฒนธรรมศิลปกรรมวัดปงสนุก" วัดปงสนุกเหนือ 01/10/2564- 30/09/2565
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. เมธี เมธาสิทธิ สุขสำเร็จ(100)
2559  : 50000 บาท (งบประมาณภายในสถาบัน)
งานวิจัยดังกล่าวรองศาสตราจารย์ ดร.โขมสี มีภักดี ได้นำผลการศึกษาการตั้งถิ่นฐานของเมืองโบราณเวียงละกอนไปเป็นข้อมูลประกอบการพัฒนาโครงการวิจัย เรื่อง การตั้งถิ่นฐานและพัฒนาการทางวัฒนธรรมเมืองโบราณเขลางค์ นอกจากนี้ยังนำไปสู่ประเด็นการศึกษาและกำหนดหัวข้อโครงการวิจัยใหม่ วิทยาลัยสหวิทยาการ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ลำปาง 01/05/2566- 30/12/2567 นำไปพัฒนาหัวข้อการวิจัยใหม่
มจ.2-54-046 : การศึกษาปัญหาการออกเสียงภาษาไทยของนักศึกษาชาวต่างชาติในมหาวิทยาลัยแม่โจ้
อาจารย์ สุวรรณ เลียงหิรัญถาวร(50)
อาจารย์ ดร. ลักขณา ชาปู่(50)
2554  : 10000 บาท (งบประมาณภายในสถาบัน)
คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎอุดรธานี มีการเปิดหลักสูตรภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร และหลักสูตรประกาศนียบัตรภาษาไทยสำหรับชาวต่างประเทศอย่างต่อเนื่อง สามารถนำข้อมูลและผลการศึกษาวิจัยนี้ไปประยุกต์ใช้ในการเรียนการสอนนักศึกษาชาวต่างประเทศ เช่น การจัดทำเอกสารประกอบการสอน หรือ การสร้างแบบฝึกการออกเสียงภาษาไทยสำหรับชาวต่างประเทศ และการค้นคว้าเพื่อการวิจัย ซึ่งก่อให้เกิดผลดีและเป็นประโยชน์เพื่อการเรียนการสอน ประธานหลักสูตรศิลปศาสตร์บัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎอุดรธานี 30/05/2566- 31/05/2567 -
มจ.2-53-006 : ปฏิทินล้านนา : การฟื้นฟู การสืบสาน การสร้างสรรค์และบทบาท
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ชยุตภัฎ คำมูล(100)
2553  : 100000 บาท (งบประมาณภายในสถาบัน)
มัคนายกวัดวิเวกวนารามนำความรู้จากระบบปฏิทินล้านนาและระบบการนับวันในล้านนาที่ศึกษาจากงานวิจัยได้นำมาประยุกต์ใช้ในการตรวจสอบ วันดี วันเสีย ในการประกอบพิธีกรรมทางศาสนา รวมถึงนำมาปรับใช้ในการเป็นมัคนายกของวัดวิเวกวนารามและผู้นำประกอบพิธีกรรมทางศาสนาของชุมชมโดยรอบ วัดวิเวกวนารามและชุมชนโดยรอบ 01/08/2566- 30/09/2567 เป็นการสืบทอดภูมิปัญญาล้านนาไม่ให้สูญหาย
วิทยาลัยพลังงานทดแทน
: วิสาหกิจชุมชนนาร่องการเพิ่มประสิทธิภาพการเลี้ยงสัตว์น้าเศรษฐกิจโดยใช้โรงเรือนแสงอาทิตย์และการแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ปลาชุมชน
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ณัฐวุฒิ ดุษฎี(20)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. กิตติกร สาสุจิตต์(15)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. นิกราน หอมดวง(15)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ธเนศ ไชยชนะ(15)
2560  : 3091061 บาท (งบประมาณภายนอกสถาบัน)
ในปัจจุบันวิทยาลัยพลังงานทดแทน มหวิทยาลัยแม่โจ้ ได้เปิดหลักสูตรทาการเรียนวิทยาศาสตรบัณฑิต พลังงานทดแทน วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต วิศวกรรมพลังงานทดแทน และวิศวกรรมศาสตรดุษฎีบัณฑิต วิศวกรรมพลังงานทดแทน ตลอดระยะเวลาการลงพื้นที่บริการชุมชนได้เกิดการสร้างเครือข่ายชุมชน วิสาหกิจ ชุมชน และเครือข่ายทางด้านพลังงานทดแทนอย่างกว้างขวาง ทั้งนี้วิทยาลัยพลังงานทดแทน มหวิทยาลัยแม่โจ้ มีองค์ความรู้และเชี่ยวชาญด้านระบบบ่อเลี้ยงปลาพลังงานแสงอาทิตย์สาหรับชุมชน พร้อมที่จะต่อยอดนาองค์ ความรู้ถ่ายทอดในเชิงปฏิบัติจริงของรูปแบบวิสาหกิจชุมชน และนอกจากนี้ยังเป็นการส่งเสริมด้านการเรียนการ สอนของนักศึกษาในระดับปริญญาตรี ปริญญาโท และปริญญาเอก เป็นการสืบไป กลุ่มวิสาหกิจชุมชนกลุ่มทำขนมจีนบ้านบวกเปา ตำบลหนองแหย่ง อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ (กลุ่มทำน้ำพริกแกง ตราแม่อำพร) 01/09/2564- 01/09/2564 ในปัจจุบันวิทยาลัยพลังงานทดแทน มหวิทยาลัยแม่โจ้ ได้เปิดหลักสูตรทาการเรียนวิทยาศาสตรบัณฑิต พลังงานทดแทน วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต วิศวกรรมพลังงานทดแทน และวิศวกรรมศาสตรดุษฎีบัณฑิต วิศวกรรมพลังงานทดแทน ตลอดระยะเวลาการลงพื้นที่บริการชุมชนได้เกิดการสร้างเครือข่ายชุมชน วิสาหกิจ ชุมชน และเครือข่ายทางด้านพลังงานทดแทนอย่างกว้างขวาง ทั้งนี้วิทยาลัยพลังงานทดแทน มหวิทยาลัยแม่โจ้ มีองค์ความรู้และเชี่ยวชาญด้านระบบบ่อเลี้ยงปลาพลังงานแสงอาทิตย์สาหรับชุมชน พร้อมที่จะต่อยอดนาองค์ ความรู้ถ่ายทอดในเชิงปฏิบัติจริงของรูปแบบวิสาหกิจชุมชน และนอกจากนี้ยังเป็นการส่งเสริมด้านการเรียนการ สอนของนักศึกษาในระดับปริญญาตรี ปริญญาโท และปริญญาเอก เป็นการสืบไป
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ณัฐวุฒิ ดุษฎี(20)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. กิตติกร สาสุจิตต์(15)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. นิกราน หอมดวง(15)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ธเนศ ไชยชนะ(15)
2560  : 3091061 บาท (งบประมาณภายนอกสถาบัน)
1. ชุมชนได้องค์ความรู้ในเรื่องการแปรรูปผลผลิตทางการเกษตรและการแปรรูปปลา 2. องค์ความรู้ด้านเทคโนโลยีพลังงานทดแทนสำหรับการแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร 3. ชุมชนหรือกลุ่มมีรายได้จากการแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร 4. สามารถเผยแพร่องค์ความรู้และเทคโนโลยีสู่กลุ่มเป้าหมายอื่น ๆ ที่ใกล้เคียงกัน องค์การบริหารส่วนตำบลขุนคง 01/01/2567- 01/01/2570 เชิงเศรษฐกิจ เช่น งานวิจัยหรือนวัตกรรมเพื่อพัฒนาสิ่งประดิษฐ์ การจดทะเบียนทรัพย์สินทางปัญญา (สิทธิบัตร อนุสิทธิบัตร ลิขสิทธิ์ ฯลฯ) หรือผลประกอบการขององค์กร/หน่วยงาน/กลุ่ม ด้านรายได้หรือตัวอย่างบัญชีที่แสดงให้เห็นว่ามีรายได้เพิ่มขึ้นจากการได้นําผลงานวิจัยและนวัตกรรมไปใช้ประโยชน์ เชิงสังคม เช่น หลักฐานการถ่ายทอดเทคโนโลยีที่ได้จากงานวิจัยในชุมชน/ท้องถิ่น การได้รับหนังสือเชิญให้ความรู้จากชุมชน/องค์กร/หน่วยงานในพื้นที่ต่าง ๆ
สวก.-64.011 : ต้นแบบการพัฒนาระบบผลิตน้ำเพื่อการเกษตรจากอากาศโดยใช้ความเย็นพื้นดินร่วมกับพลังงานแสงอาทิตย์
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. นิกราน หอมดวง(45)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. กิตติกร สาสุจิตต์(15)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ยิ่งรักษ์ อรรถเวชกุล(10)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ชูรัตน์ ธารารักษ์(10)
อาจารย์ ดร. แสนวสันต์ ยอดคำ(5)
อาจารย์ ดร. ประนอม ยังคำมั่น(5)
2564  : 1026000 บาท (งบประมาณภายนอกสถาบัน)
โครงการดังกล่าวจะเป็นศูนย์การเรียนรู้และถ่ายทอดเทคโนโลยีทำให้เกษตรกรเกิดการแลกเปลี่ยนความรู้ระหว่างสถาบันการศึกษาและชุมชน นอกจากนี้ยังทำให้ชุมชนพื้นที่ใกบ้เคียงที่สนใจมาศึกษาดูงานได้และ กลุ่มเกษตรกรสามารถเข้ามาใช้ไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ที่โครงการติดตั้งใช้เพื่อใช้สูบน้ำเพื่อการเกษตรได้ นายสุรินทร์ น้อยเงิน (เกษตรกร) 27/09/2565- 31/12/2566 เกษตรกรมีความรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีการผลิตน้ำจากอากาศโดยใช้ความเย็นพื้นดินร่วมกัยพลังงานแสงอาทิตย์ และยังสามารถลดค่าใช้จ่ายในส่วนของค่าน้ำมันเชื้อเพลิงสำหรับสูบน้ำเพื่อการเกษตร
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. นิกราน หอมดวง(45)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. กิตติกร สาสุจิตต์(15)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ยิ่งรักษ์ อรรถเวชกุล(10)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ชูรัตน์ ธารารักษ์(10)
อาจารย์ ดร. แสนวสันต์ ยอดคำ(5)
อาจารย์ ดร. ประนอม ยังคำมั่น(5)
2564  : 1026000 บาท (งบประมาณภายนอกสถาบัน)
นำเอาองค์ความรู้และโทคโนโลยีโซล่าเซลล์พลังงานแสงอาทิตย์ไปใช้ในการดพิ่มหรือส่องแสงสว่างให้กับชุมชน คริสตจักรบ้านปรอโพ 07/02/2566- 07/02/2571 1.ช่วยส่งเสริมให้ชุมชนใช้แหล่งพลังงานที่มีความยั่งยืนและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม 2.ช่วยให้ชุมชนมีรายได้จากการขายของในช่วงการคืนให้เพิ่มขึ้น 3.ช่วยเพิ่มแสงสว่างในครัวเรือนภายในชุมชน
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. นิกราน หอมดวง(45)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. กิตติกร สาสุจิตต์(15)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ยิ่งรักษ์ อรรถเวชกุล(10)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ชูรัตน์ ธารารักษ์(10)
อาจารย์ ดร. แสนวสันต์ ยอดคำ(5)
อาจารย์ ดร. ประนอม ยังคำมั่น(5)
2564  : 1026000 บาท (งบประมาณภายนอกสถาบัน)
การนำเอาองค์ความรู้และเทคโนโลยีโซล่าเซลล์พลังงานแสงอาทิตย์ไปใช้ในการเพิ่มหรือสร้างแสงสว่างให้กับชุมชน มูลนิะิสันต์ขันแก้ว 07/02/2566- 07/02/2571 1.ช่วยส่งเสริมให้ชุมชนใช้แหล่งพลังงานที่มีความยั่งยืนและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม 2.ช่วยเพิ่มแสงสว่างในครัวเรือนภายในชุมชน
มจ.1-64-003.2 : การเพิ่มคุณค่าเศษวัสดุปาล์มน้ำมันเหลือศูนย์ด้วยกระบวนการไพโรไลซีสนำร่องระดับชุมชน
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. นิกราน หอมดวง(30)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. กิตติกร สาสุจิตต์(20)
อาจารย์ ดร. ภคมน ปินตานา(10)
Assoc. Prof. Dr. Rameshprabu Ramaraj(10)
2564  : 950000 บาท (งบประมาณภายในสถาบัน)
นำผลงานวิจัยและเทคโนโลยีเทคโนโลยีไปใช้ในการนำวัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตรในชุมชนไปใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุดได้แก่ การนำไปผลิตถ่านเพื่อนำไปแปรรูปหรือการพัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์ของชุมชน เช่น การดับกลิ่นสบู่ แชมพู เพื่อต่อยอด ผลิตภัณฑ์ของชุมชน กลุ่มวิสาหกิจชุมชนบ้านหัวทุ่ง ต.เชียงดาว อ.เชียงดาว จ.เชียงใหม่ 04/01/2567- 31/12/2567
มจ.3-57-015 : การประยุกต์ใช้ระบบแก๊สชีวภาพ ในโรงอาหารมหาวิทยาลัยแม่โจ้
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. รจพรรณ นิรัญศิลป์(50)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. กิตติกร สาสุจิตต์(50)
2557  : 50000 บาท (งบประมาณภายในสถาบัน)
ใช้เป็นทางเลือกในการจัดการเศษอาหารในครัวเรือน สนับสนุนการคัดแยกขยะ นายสุวัจน์ ณ วิชัย นายกเทศมนตรีตำบลสันป่าเปา 01/10/2565- 30/09/2567 1.เป็นองค์ความรู้อีกหนึ่งหนทางเลือกที่สามารถถ่ายทอดสู่ชุมชน 2.ช่วยลดภาระค่าใช้จ่ายเรื่องพลังงาน 3.สามารถจัดการเศษอาหารในเทศบาลได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ศูนย์กล้วยไม้และไม้ดอกไม้ประดับ
มจ.1-58-055 : ศึกษาสูตรอาหารที่เหมาะสมในการขยายพันธุ์กล้วยไม้สมุนไพรในสภาพปลอดเชื้อ
อาจารย์ ดร. จุฑามาศ พิลาดี(100)
2558  : 114000 บาท (งบประมาณภายในสถาบัน)
การศึกษาสูตรอาหารที่เหมาะสมของกล้วยไม้สมุนไพรในสภาพปลอดเชื้อจำนวน 4 ชนิด ได้แก่ แววมยุรา เอื้องคำ เพชรหึง และ ฟ้ามุ่ย หลังจากทำการย้ายลงอาหารเพาะเลี้ยง รวบรวมพันธุ์และขยายพันธุ์เพื่อผลิตเป็นตนพันธุ์เชิงการค้า บริษัทธรรมชาติกล้วยไม้ จำกัด 26/04/2566- 26/04/2567 นำองค์ความรู้มาช่วยการเพาะขยายพันธุ์กล้วยไม้ เพื่อประหยัดเวลา และเพิ่มโอกาศการจัดจำหน่ายตามความต้องการของลูกค้า