07359 : อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่องการสร้าง REST API และการใช้งาน POSTMAN
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 
น.ส.สุมาลี สุพรรณนอก (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 17/4/2567 11:02:45
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปีของส่วนงาน (เบิกจ่ายจากงบประมาณเงินรายได้ของส่วนงาน หรืองบประมาณจากแหล่งอื่น)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
25/04/2567  ถึง  31/05/2567
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  16  คน
รายละเอียด  บุคลากรภายใน กลุ่มนักวิชาการคอมพิวเตอร์ กลุ่มงานที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เ
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ กองเทคโนโลยีดิจิทัล หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน เงินรายได้ประจำปี 2567 กองเทคโลโลยีดืจิทัล 2567 12,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
น.ส. สุมาลี  สุพรรณนอก
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
รายชื่อที่ปรึกษา
นาย ประวิทย์  วิมานทอง
นาย วุฒิพล  คล้ายทิพย์
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
กองเทคโนโลยีดิจิทัล
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
นโยบายด้านการพัฒนาเทคโนโลยี นวัตกรรม และองค์ความรู้
นโยบายด้านดิจิทัล
นโยบายด้านบุคลากร
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2567 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 67-70 MJU 1. การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยเชิงรุก (SPO)
เป้าประสงค์ 67-70 MJU 1.1 ความสำเร็จของการบริหารจัดการและพัฒนามหาวิทยาลัยตามนโยบายสภามหาวิทยาลัย
ตัวชี้วัด 67-70 MJU 1.1.1 ร้อยละความสำเร็จของการขับเคลื่อนการดำเนินงานตามนโยบายสภามหาวิทยาลัย
กลยุทธ์ 67-70 MJU 1.1.1.2 ขับเคลื่อนการดำเนินงานตามนโยบายสภามหาวิทยาลัย ด้านดิจิทัล
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2567] ประเด็นยุทธศาสตร์ ICT65-69 การพัฒนามหาวิทยาลัยแม่โจ้สู่มหาวิทยาลัยดิจิทัล
เป้าประสงค์ ICT65-69 1. เพื่อพัฒนา Single Data เป็นฐานข้อมูลเดียวกัน
ตัวชี้วัด ICT65-69 1 1. มี Single Data เป็นฐานข้อมูลเดียวกัน
กลยุทธ์ ICT65-69 1. Single Data
เป้าประสงค์ ICT65-69 3. เพื่อพัฒนาทักษะนักศึกษา บุคลากร เกษตรกร
ตัวชี้วัด ICT65-69 3 3. บุคลากรได้รับการพัฒนา Up-Skill/Re-Skill ด้าน ICT
กลยุทธ์ ICT65-69 3. Digital Literary
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

ปัจจุบันโลกดิจิทัลเชื่อมโยงถึงกันมากขึ้นกว่าที่เคย ด้วยระบบซอฟต์แวร์ที่สนทนากันข้ามแพลตฟอร์ม และอุปกรณ์ต่างๆ เทคโนโลยีพื้นฐานที่ขับเคลื่อนเครือข่ายการสื่อสารขนาดใหญ่นี้อาจดูซับซ้อน โดยปัจจุบันมี API (Application Programming Interface) เป็นตัวกลางระหว่าง client และ server เพื่อทำหน้าที่เป็นส่วนผสาน (Interface) ระหว่างสองส่วนนี้ ในการแลกเปลี่ยนข้อมูลและการเชื่อมต่อกันระหว่างแอปพลิเคชัน เพราะปกติแล้วเราจะไม่เชื่อม client เข้ากับ database ที่อยู่หลังบ้านโดยตรง จะเอาไว้เป็นตัวกลางคอยจัดการประสาน client และ server เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ ความเร็ว การพัฒนาเว็บสมัยใหม่ อำนวยความสะดวกในการแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างแอปพลิเคชัน เพื่อปลดล็อกฟังก์ชันการทำงานใหม่และโอกาสในการทำงานร่วมกัน กองเทคโนโลยีดิจิทัล เล็งเห็นความสำคัญในการพัฒนาทักษะในการใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศให้แก่บุคลากรในมหาวิทยาลัย เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงาน ให้สอดคล้องกับแผนพัฒนาความเป็นเลิศของมหาวิทยาลัย พ.ศ.2566-2570 เพื่อพัฒนาบุคลากรให้มีสมรรถนะเหมาะสมกับการพัฒนามหาวิทยาลัยสู่ความเป็นเลิศ โดยผลที่คาดว่าจะได้รับคือผู้เข้าอบรมกลุ่มงานนักวิชาการคอมพิวเตอร์ นำความรู้ไปพัฒนาข้อมูลสู่ data center & dashboard และกลุ่มผู้สนใจสามารถเพิ่มทักษะ Re-Skill & Up-skill ด้านการพัฒนาฐานข้อมูลให้เป็นมาตรฐานเดียวกัน โดยมีกลยุทธ์สำคัญในการปฏิรูป 5 กลยุทธ ได้แก่ Network, Linkage, Datacenter, Dashboard, Good government อาทิ • การสร้างกลุ่มเครือข่ายนักวิชาการคอมพิวเตอร์และกลุ่มงานเทคโนโลยีสารสนเทศ • การสลับการทำงานกับหน่วยงานอื่น (mobility) ภารกิจข้ามศาสตร์ ข้ามหน่วยงานทั้ง ภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย • บริหารบุคลากรให้สอดคล้องกับความเป็นเลิศของมหาวิทยาลัยและส่วนงาน • ปฏิรูประบบประเมินผลการปฏิบัติงานให้มุ่งเน้นยุทธศาสตร์และสะท้อนผลงาน

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
1. เพื่อพัฒนาทักษะบุคลากรสายสนับสนุนด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ กลุ่มงานนักวิชาการคอมพิวเตอร์
2. สามารถใช้ API (Application Programming Interfaces) การแชร์ข้อมูลระหว่างหน่วยงาน เพื่อพัฒนา Single Data เป็นฐานข้อมูลเดียวกัน
3. เพื่อสร้างเครือข่ายกลุ่มนักวิชาการคอมพิวเตอร์ พัฒนามหาวิทยาลัยแม่โจ้สู่มหาวิทยาลัยดิจิทัล
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : บุคลากรสายสนับสนุนที่มีทักษะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ กลุ่มงานนักวิชาการคอมพิวเตอร์ และบุคคลทั่วไปที่มีความรู้พื้นฐานและนำไปต่อยอดได้
KPI 1 : ตัวชี้วัดที่ 1 ร้อยละของจำนวนผู้เข้าอบรมโครงการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 2 : ตัวชี้วัดที่ 2 ร้อยละของผู้เข้าอบรมมีความรู้ทักษะการใช้งาน API เชื่อมต่อข้อมูลระหว่างหน่วยงานเป็นฐานข้อมูลเดียวกัน(Single Data) หลังจากฝึกอบรม
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : บุคลากรสายสนับสนุนที่มีทักษะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ กลุ่มงานนักวิชาการคอมพิวเตอร์ และบุคคลทั่วไปที่มีความรู้พื้นฐานและนำไปต่อยอดได้
ชื่อกิจกรรม :
อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่องการสร้าง REST API และการใช้งาน POSTMAN

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 25/04/2567 - 31/05/2567
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
น.ส.สุมาลี  สุพรรณนอก (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 16 คน*2 วันๆ ละ 2 มื้อ*35 บาท =2240 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 2,240.00 บาท 0.00 บาท 2,240.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารกลางวัน 16 คน*2 วัน*2 มื้อ*80 บาท =2560 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 2,560.00 บาท 0.00 บาท 2,560.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนวิทยากร 1 คน(600บาท*12 ชั่วโมง) = 7,200 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 7,200.00 บาท 0.00 บาท 7,200.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 12000.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ปัญหาและอุปสรรค
การพึ่งพาบริการของบุคคลที่สาม: การใช้ API อาจทำให้เว็บแอปพลิเคชันต้องพึ่งพาบริการของบุคคลที่สาม ซึ่งอาจก่อให้เกิดความเสี่ยงในแง่ของความน่าเชื่อถือ ความเสถียร และความพร้อมใช้งาน หากบริการของบุคคลที่สามหยุดทำงานหรือหยุดให้บริการ แอปพลิเคชันอาจได้รับผลกระทบอย่างรุนแรง
การควบคุมที่ลดลง: แม้ว่า API จะให้สิทธิ์เข้าถึงฟังก์ชันที่สร้างไว้ล่วงหน้า แต่นักพัฒนาก็เลิกควบคุมแอปพลิเคชันของตนในระดับหนึ่ง พวกเขาต้องปฏิบัติตามกฎที่กำหนดโดยผู้ให้บริการ API และอาจมีข้อจำกัดในตัวเลือกการปรับแต่ง
ความเสี่ยงด้านความปลอดภัย: การแนะนำ API ภายนอกอาจทำให้เว็บแอปพลิเคชันมีความเสี่ยงด้านความปลอดภัยได้ นักพัฒนาต้องมั่นใจว่า API ที่พวกเขาใช้นั้นปลอดภัยและได้รับการอัปเดตอย่างต่อเนื่องเพื่อป้องกันการโจมตี
ปัญหาด้านประสิทธิภาพ: แม้ว่า API จะสามารถปรับปรุงประสิทธิภาพได้ แต่ยังสามารถแนะนำเวลาแฝงหรือคอขวดที่อาจเกิดขึ้นได้หากไม่ได้รับการจัดการอย่างระมัดระวัง นักพัฒนาจำเป็นต้องตรวจสอบและเพิ่มประสิทธิภาพการใช้ API เพื่อลดปัญหาด้านประสิทธิภาพ
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
แนวทางการแก้ปัญหาและอุปสรรค
การรับรองความถูกต้องและการอนุญาต ใช้กลไกการพิสูจน์ตัวตนและการให้สิทธิ์ที่รัดกุมเพื่อปกป้อง API ของคุณจากการเข้าถึงโดยไม่ได้รับอนุญาต ใช้มาตรฐานที่กำหนดไว้ เช่น OAuth 2.0 และ OpenID Connect
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล