23208 : โครงการอบรมหลักสูตรด้านเทคโนโลยีพลังงานทดแทนและฟาร์มอัจฉริยะ
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 
นางเพ็ญศิริ หน่อแก้ว (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 10/3/2568 10:28:19
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปีของส่วนงาน (เบิกจ่ายจากงบประมาณเงินรายได้ของส่วนงาน หรืองบประมาณจากแหล่งอื่น)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
14/03/2568  ถึง  31/08/2568
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  50  คน
รายละเอียด  ประกอบด้วย นักศึกษา บุคลากร และประชาชนที่สนใจ
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณจากแหล่งอื่น วิทยาลัยพลังงานทดแทน หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน รายได้จากค่าลงทะเบียน จำนวน 135,000 บาท 2568 135,000.00
งบประมาณเงินรายได้ วิทยาลัยพลังงานทดแทน หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน เงินรายได้ประจำปี 2568 แผนงานบริหารมหาวิทยาลัย งานบริหารทั่วไป กองทุนทั่วไป งบเงินอุดหนุน เงินอุดหนุนทั่วไป โครงการตามแผนปฏิบัติการมหาวิทยาลัย (มิติที่ 6) จำนวน 30,000 บาท 2568 30,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ยิ่งรักษ์  อรรถเวชกุล
นาย ฉันทวัช  เจริญสุข
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
วิทยาลัยพลังงานทดแทน
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
นโยบายด้านการพัฒนาเทคโนโลยี นวัตกรรม และองค์ความรู้
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2568 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 68 MJU 2. การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก
เป้าประสงค์ 68 MJU 2.1 ผลิตบัณฑิตและพัฒนานักศึกษาที่ก้าวทันต่อโลกสมัยใหม่และเป็นนักปฏิบัติที่เชี่ยวชาญ
ตัวชี้วัด 68 MJU 2.1.7 จำนวนรายวิชาเรียนรู้ตลอดชีวิต
กลยุทธ์ 68 MJU 2.1.7.2 พัฒนาหลักสูตรทั้งระยะสั้นและระยะยาวที่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์การพัฒนามหาวิทยาลัย
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2568] ประเด็นยุทธศาสตร์ 68-มิติที่ 2 : การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 68-2.1 ผลิตบัณฑิตและพัฒนานักศึกษาที่ก้าวทันต่อโลกสมัยใหม่และเป็นนักปฏิบัติที่เชี่ยวชาญ
ตัวชี้วัด 68-2.1.7 จำนวนรายวิชาเรียนรู้ตลอดชีวิต
กลยุทธ์ 68-พัฒนาโปรแกรมการเรียนรู้ตลอดชีวิต เช่น หลักสูตรออนไลน์และกิจกรรมการอบรมเพื่อเสริมสร้างทักษะใหม่ให้กับผู้เรียน
[2568] ประเด็นยุทธศาสตร์ 68-มิติที่ 6 : ภารกิจยุทธศาสตร์ตามวิสัยทัศน์และยุทธศาสตร์การพัฒนามหาวิทยาลัยที่ให้ไว้ต่อสภามหาวิทยาลัย
เป้าประสงค์ 68-6.1 การบูรณาการจัดการทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพเพื่อลดค่าใช้จ่ายและแสวงหารายได้
ตัวชี้วัด 68-6.1.4 จำนวนผู้เข้าร่วมใช้บริการการอบรม/บริการวิชาการ
กลยุทธ์ 68-เพิ่มการประชาสัมพันธ์และการตลาดสำหรับบริการการอบรมและบริการวิชาการเพื่อดึงดูดผู้เข้าร่วม
ตัวชี้วัด 68-6.1.7 การหารายได้จากทรัพยากรส่วนงาน
กลยุทธ์ 68-สำรวจและใช้ประโยชน์จากทรัพยากรภายในมหาวิทยาลัยเพื่อสร้างรายได้เพิ่มขึ้น
ตัวชี้วัด 68-6.1.8 การหารายได้จากการฝึกอบรมหลักสูตรระยะสั้น
กลยุทธ์ 68-จัดหลักสูตรระยะสั้นที่เหมาะสมกับความต้องการของตลาดแรงงาน เพื่อเพิ่มรายได้ให้กับมหาวิทยาลัย
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

ในยุคปัจจุบัน เทคโนโลยีและนวัตกรรมทางด้านพลังงานทดแทนและฟาร์มอัจฉริยะได้รับการพัฒนาและนำมาใช้ในการแก้ไขปัญหาต่างๆ ที่เกิดขึ้นจากการใช้พลังงานที่ไม่ยั่งยืน และการผลิตทางการเกษตรที่ไม่เหมาะสมกับการเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อม การใช้พลังงานทดแทน เช่น พลังงานแสงอาทิตย์ พลังงานลม และพลังงานชีวมวล รวมถึงการนำเทคโนโลยีมาประยุกต์ใช้ในภาคการเกษตร เช่น ฟาร์มอัจฉริยะที่ใช้ระบบอัตโนมัติในการจัดการการเพาะปลูก และการเลี้ยงสัตว์ เป็นทางเลือกที่มีศักยภาพในการพัฒนาอย่างยั่งยืนดังนั้น โครงการอบรมหลักสูตรด้านเทคโนโลยีพลังงานทดแทนและฟาร์มอัจฉริยะจึงมีความสำคัญอย่างยิ่งในการเสริมสร้างความรู้และทักษะในด้านเทคโนโลยีใหม่ๆ ที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมได้เรียนรู้วิธีการใช้เทคโนโลยีเหล่านี้ในภาคการเกษตรและพลังงานทดแทนอย่างมีประสิทธิภาพ ทักษะที่น่าสนใจของการเรียนรู้ตลอดชีวิตที่ต้องมีเพื่อที่จะเตรียมรับมือกับการเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้นในอนาคตมีดังนี้ 1.(Support for the use of renewable energy) การสนับสนุนการใช้พลังงานทดแทน การใช้พลังงานทดแทนช่วยลดการพึ่งพาพลังงานจากแหล่งที่ไม่ยั่งยืน และลดผลกระทบจากการใช้พลังงานฟอสซิล เช่น การปล่อยมลพิษที่มีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม 2.(Smart Farm Development) การพัฒนาฟาร์มอัจฉริยะ ฟาร์มอัจฉริยะช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการผลิตทางการเกษตรและการเลี้ยงสัตว์ โดยใช้เทคโนโลยีในการควบคุมและจัดการอัตโนมัติ เช่น การใช้เซ็นเซอร์และระบบข้อมูลเพื่อเพิ่มผลผลิตและลดค่าใช้จ่าย 3. (Improving the quality of life of farmers) การยกระดับคุณภาพชีวิตของเกษตรกร การนำเทคโนโลยีมาใช้ในภาคเกษตรกรรมและพลังงานทดแทนช่วยเพิ่มรายได้และลดภาระค่าใช้จ่ายให้กับเกษตรกร และทำให้สามารถปรับตัวได้ดีกับการเปลี่ยนแปลงของสภาพอากาศและปัญหาด้านสิ่งแวดล้อม 4.(Promoting sustainable development) การส่งเสริมการพัฒนาอย่างยั่งยืน เทคโนโลยีพลังงานทดแทนและฟาร์มอัจฉริยะจะช่วยให้การผลิตพลังงานและการเกษตรเป็นไปอย่างยั่งยืน โดยลดการใช้ทรัพยากรธรรมชาติและลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม วิทยาลัยพลังงานทดแทนได้วางวัตถุประสงค์ที่สอดคล้องกับนโยบายของมหาวิทยาลัยไว้เช่นกันคือ เพื่อผลิตบัณฑิตที่มีความรู้ความสามารถในวิชาการและวิชาชีพ ที่ทันต่อกระแสการเปลี่ยนแปลงโดยเน้นทางด้านการเกษตร วิทยาศาสตร์ประยุกต์ เทคโนโลยีสารสนเทศ และสาขาวิชาที่สอดคล้องกับทิศทางการพัฒนาเศรษฐกิจ ชุมชนท้องถิ่น และสังคมของประเทศ จึงได้ส่งต่อแนวคิดนี้มายังหลักสูตรในสังกัดวิทยาลัยพลังงานทดแทน ในการกำหนดทิศทาง วัตถุประสงค์ และปรัชญาของหลักสูตร เพื่อส่งเสริมให้บัณฑิตมีความสามารถในการประกอบการอิสระเป็นผู้ประกอบธุรกิจรุ่นใหม่ อย่างไรก็ตามการที่นักศึกษา หรือศิษย์เก่า จะสามารถเริ่มเป็นผู้ประกอบการได้นั้น นอกจากองค์ความรู้ที่ได้รับระหว่างเรียนแล้ว ดังนั้นวิทยาลัยจึงได้จัดโครงการอบรมหลักสูตรโครงการอบรมหลักสูตรด้านเทคโนโลยีพลังงานทดแทนและฟาร์มอัจฉริยะ เพื่อก่อให้เกิดผู้ประกอบการใหม่ที่ดี มีความรู้และทักษะทางด้านวิชาชีพ ให้ได้รับความรู้ในการประกอบธุรกิจจะทำให้สามารถนำความรู้ที่ได้รับมาพัฒนาศักยภาพ สามารถเป็นผู้ประกอบการใหม่ที่ประสบความสำเร็จ ทั้งนี้วิทยาลัยพลังงานทดแทนได้ดำเนินการโครงการอบรมหลักสูตรด้านเทคโนโลยีพลังงานทดแทนและฟาร์มอัจฉริยะ และมีแนวโน้มประสบความสำเร็จเป็นอย่างดีจึงมีแนวคิดในการส่งเสริมให้ความรู้เช่นนี้ต่อไป

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อส่งเสริมพัฒนาระบบเทคโนโลยีพลังงานทดแทนและฟาร์มอัจฉริยะ
ส่งเสริมหลักสูตร/เทคโนโลยีที่ใช้เฉพาะ/นวัตกรรมฟาร์มอัจฉริยะเพื่อพัฒนาความเป็นผู้ประกอบการ หรือรายวิชาที่พัฒนาขึ้นเพื่อรองรับหลักสูตรด้านเทคโนโลยีพลังงานทดแทนและฟาร์มอัจฉริยะ ที่มีเนื้อหาเกี่ยวข้องกับการพัฒนาผู้ประกอบการบนฐานเทคโนโลยีและนวัตกรรม
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : หลักสูตรหรือโปรแกรมเฉพาะที่ใช้เทคโนโลยี/นวัตกรรมที่ตอบสนองความต้องการของชุมชนและภาคธุรกิจ
KPI 1 : จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
50 คน 50
KPI 2 : ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ มีทักษะและความเชี่ยวชาญในหลักสูตร/โปรแกรมที่จัดอบรม
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
3 ระดับ 3
KPI 3 : จำนวนหลักสูตรหรือรายวิชาที่เปิดอบรม
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
2 หลักสูตร 2
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : หลักสูตรหรือโปรแกรมเฉพาะที่ใช้เทคโนโลยี/นวัตกรรมที่ตอบสนองความต้องการของชุมชนและภาคธุรกิจ
ชื่อกิจกรรม :
จัดฝึกอบรมหลักสูตรระยะสั้น "เทคโนโลยีพลังงานชีวมวล"

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 14/03/2568 - 31/08/2568
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ยิ่งรักษ์  อรรถเวชกุล (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 33 คน ๆ ละ 25 บาท 16 มื้อ
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 13,200.00 บาท 0.00 บาท 13,200.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 30 คน ๆ ละ 50 บาท 1 มื้อ
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 1,500.00 บาท 0.00 บาท 1,500.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมารถยนต์พร้อมน้ำมันเชื้อเพลิง จำนวน 3 คัน ๆ ละ 1,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 3,000.00 บาท 0.00 บาท 3,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาจัดทำเอกสาร จำนวน 30 ชุด ๆ ละ 30 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 900.00 บาท 0.00 บาท 900.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าของที่ระลึก จำนวน 2 ชิ้น ๆ ละ 500 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 1,000.00 บาท 0.00 บาท 1,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนวิทยากร (บรรยาย) จำนวน 1 คน 16 ชั่วโมง ๆ ละ 500 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 8,000.00 บาท 0.00 บาท 8,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนวิทยากร (ปฏิบัติ) จำนวน 2 คน ๆ ละ 48 ชั่วโมง ๆ ละ 250 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 24,000.00 บาท 0.00 บาท 24,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนนักศึกษาช่วยปฏิบัติงาน จำนวน 1 คน 10 วัน ๆ ละ 320 บาท (ป.เอก)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 3,200.00 บาท 0.00 บาท 3,200.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุสำหรับจัดฝึกอบรมวัสดุเกษตร , วัสดุก่อสร้าง , วัสดุวิทยาศาสตร์และการแพทย์ , วัสดุสำนักงาน
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 35,200.00 บาท 0.00 บาท 35,200.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 90000.00
ชื่อกิจกรรม :
จัดฝึกอบรมหลักสูตรระยะสั้น "ผู้ปฏิบัติงานด้านการติดตั้ง ซ่อม และบำรุงรักษาระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์ ระดับ 3"

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 14/03/2568 - 31/08/2568
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ยิ่งรักษ์  อรรถเวชกุล (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 23 คน ๆ ละ 30 บาท 8 มื้อ
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 5,520.00 บาท 5,520.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 23 คน ๆ ละ 50 บาท 4 มื้อ
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 4,600.00 บาท 4,600.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าเช่าห้องประชุม จำนวน 4 วัน ๆ ละ 1,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 4,000.00 บาท 4,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาจัดทำเอกสาร จำนวน 20 ชุด ๆ ละ 50 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 1,000.00 บาท 1,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนวิทยากร (บรรยาย) จำนวน 1 คน 16 ชั่วโมง ๆ ละ 600 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 9,600.00 บาท 9,600.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนวิทยากร (ปฏิบัติ) จำนวน 2 คน ๆ ละ 16 ชั่วโมง ๆ ละ 300 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 9,600.00 บาท 9,600.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนนักศึกษาช่วยปฏิบัติงาน จำนวน 1 คน 4 วัน ๆ ละ 320 บาท (ป.เอก)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 1,280.00 บาท 1,280.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุสำหรับจัดฝึกอบรม วัสดุไฟฟ้าและวิทยุ , วัสดุก่อสร้าง , วัสดุคอมพิวเตอร์ , วัสดุสำนักงาน
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 39,400.00 บาท 39,400.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 75000.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล