23145 : โครงการฝึกประสบการณ์สำหรับนักเรียนจากหน่วยงานภายนอก ประจำปีงบประมาณ 2568
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2568
นางณัฐธนะนันท์ เอี่ยมตะกูล (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 20/2/2568 10:52:55
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปีของส่วนงาน (เบิกจ่ายจากงบประมาณเงินรายได้ของส่วนงาน หรืองบประมาณจากแหล่งอื่น)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
24/02/2568  ถึง  30/05/2568
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  8  คน
รายละเอียด  นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย จำนวน 8 คน
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ คณะสัตวแพทยศาสตร์ หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน ไม่เบิกค่าใช้จ่ายในการดำเนินงานโครงการ 2568 0.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
อาจารย์ นายสัตวแพทย์ ภากร  ลิ้มเล็งเลิศ
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
รายชื่อที่ปรึกษา
รองศาสตราจารย์ นายสัตวแพทย์ ดร. วศิน  เจริญตัณธนกุล
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
คณะสัตวแพทยศาสตร์
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
นโยบายด้านการพัฒนาเทคโนโลยี นวัตกรรม และองค์ความรู้
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2568 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 68 MJU 2. การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก
เป้าประสงค์ 68 MJU 2.1 ผลิตบัณฑิตและพัฒนานักศึกษาที่ก้าวทันต่อโลกสมัยใหม่และเป็นนักปฏิบัติที่เชี่ยวชาญ
ตัวชี้วัด 68 MJU 2.1.1 จำนวนนักศึกษาใหม่ระดับปริญญาตรี
กลยุทธ์ 68 MJU 2.1.1.2 พัฒนาระบบการประชาสัมพันธ์หลักสูตรและการรับนักศึกษาเชิงรุก
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2568] ประเด็นยุทธศาสตร์ การพัฒนาตามยุทธศาสตร์ อัตลักษณ์และภารกิจเฉพาะของส่วนงาน (Identity
เป้าประสงค์ เพื่อเปิดโอกาสให้นักเรียนจากหน่วยงานภายนอกได้ฝึกประสบการณ์การทำงานด้านสัตวแพทย์ เทคนิคการสัตวแพทย์และการพยาบาลสัตว์ เพื่อพัฒนาคณะฯ
ตัวชี้วัด วส66-16. ร้อยละความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการ
กลยุทธ์ วางแผนเตรียมการสาธิตและให้ความรู้แก่นัเรียนที่จะเข้าร่วมโครงการ
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

ปัจจุบันมีปรากฎการณ์ที่เรียกว่า Pet humanization หมายถึง การเลี้ยงสัตว์ให้เป็นหนึ่งในสมาชิกของครอบครัว เนื่องจากคนส่วนใหญ่ไม่นิยมการมีบุตร จึงเลี้ยงสัตว์ทดแทนการมีบุตร หรือบางคนไม่แต่งงาน แต่เลี้ยงสัตว์เพื่อเป็นเพื่อนแก้เหงา และมีพฤติกรรมการเลี้ยงแบบ Petriarchy หรือที่เรียกว่า ทาสหมา ทาสแมว มากขึ้น ทำให้ธุรกิจและสถานประกอบการเกี่ยวกับสัตว์เลี้ยงมีการขยายตัวและมีมูลค่าสูงมากขึ้น จึงเป็นที่ต้องการสำหรับคนจำนวนมากในการเข้าใช้บริการสถานประกอบการสำหรับสัตว์ดังกล่าว บุคลากรและเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวกับสัตว์เลี้ยงจึงเป็นที่ต้องการของตลาดแรงงานมากขึ้น วิชาชีพสัตวแพทย์เป็นอาชีพที่มีความสำคัญ มุ่งเน้นด้านการตรวจ วินิจฉัย และรักษาโรคสัตว์ ในขณะที่นักเทคนิคการสัตวแพทย์ดำเนินการเรื่องการตรวจทางห้องปฏิบัติการและชันสูตร นักการพยาบาลสัตว์เน้นในด้านการดูแล ปฐมพยาบาลและจัดการด้านอาหารและการเลี้ยงสัตว์ สามอาชีพนี้จึงเป็นอาชีพที่นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายมีความสนใจอยากเข้าศึกษาต่อเป็นจำนวนมาก เพื่อประกอบอาชีพในสายงานทางด้านสัตว์เลี้ยงภายหลังจบการศึกษาระดับชั้นปริญญาตรีต่อไปในอนาคต ในการนี้ ทางคณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญของสหวิชาชีพดังกล่าว จึงเปิดโอกาสให้แก่นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายจากหน่วยงานภายนอกที่มีความสนใจได้เข้ามาฝึกประสบการณ์ เพื่อเป็นแนวทางในการเตรียมความพร้อมในการเข้าศึกษาต่อในคณะสัตวแพทยศาสตร์ และสาขาเทคนิคการสัตวแพทย์และการพยาบาลสัตว์ เพื่อเป็นแนวทางในการพัฒนาคณะสัตวแพทยศาสตร์ ในการเตรียมตัวรับนักศึกษาและจัดการเรียนการสอนแก่นักศึกษาในปีการศึกษา 2568 ต่อไป

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
1. เพื่อให้นักเรียนที่สนใจด้านสัตว์เลี้ยงได้รับความรู้และประสบการณ์ทางด้านวิชาชีพสัตวแพทย์ เทคนิคการสัตวแพทย์ และการพยาบาลสัตว์
2. เพื่อเตรียมความพร้อมแก่บุคลากรในการเตรียมการจัดการเรียนสอน และการดูแลนักศึกษาในการฝึกปฏิบัติทางคลินิกรักษาสัตว์
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : โครงการฝึกประสบการณ์สำหรับนักเรียนจากหน่วยงานภายนอก ประจำปีงบประมาณ 2568
KPI 1 : การดำเนินกิจกรรมเป็นไปตามระยะเวลาที่กำหนด
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
100 ร้อยละ 100
KPI 2 : จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
4 4 คน 8
KPI 3 : ร้อยละของผู้เข้าร่วมโครงการที่มีความรู้ทางด้านสัตวแพทย์ เทคนิคการสัตวแพทย์และการพยาบาลสัตว์
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
40 40 ร้อยละ 80
KPI 4 : ร้อยละความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : โครงการฝึกประสบการณ์สำหรับนักเรียนจากหน่วยงานภายนอก ประจำปีงบประมาณ 2568
ชื่อกิจกรรม :
1. การเรียนรู้เรื่อง การตรวจรักษาและการพยาบาลเบื้องต้น สำหรับสัตว์สุนัขและแมว

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 24/02/2568 - 30/05/2568
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์ นายสัตวแพทย์ภากร  ลิ้มเล็งเลิศ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์ สัตวแพทย์หญิง ดร.ทิพย์ภาภรณ์  อุปโย (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ สัตวแพทย์หญิงพิชญา  แสนอุบล (ผู้รับผิดชอบรอง)
น.ส.รุ่งเรือง  โพธิ์สิงห์ทอง (ผู้รับผิดชอบรอง)
น.ส.นิตยา  ใจกันทา (ผู้รับผิดชอบรอง)
นางณัฐธนะนันท์  เอี่ยมตะกูล (ผู้รับผิดชอบรอง)
น.ส.กรประภา  ปัญญาวีร์ (ผู้รับผิดชอบรอง)
น.ส.นงค์รัก  คนดี (ผู้รับผิดชอบรอง)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ นายสัตวแพทย์ ดร.บัญชา  พงศ์พิศาลธรรม (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รวมจำนวนเงินทั้งหมด
ชื่อกิจกรรม :
2 การฝึกใช้เครื่องมือทางห้องปฏิบัติการเพื่อประเมินสุขภาพของสัตว์เลี้ยงเบื้องต้น

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 24/02/2568 - 30/05/2568
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์ นายสัตวแพทย์ภากร  ลิ้มเล็งเลิศ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์ สัตวแพทย์หญิง ดร.ทิพย์ภาภรณ์  อุปโย (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ สัตวแพทย์หญิงพิชญา  แสนอุบล (ผู้รับผิดชอบรอง)
น.ส.รุ่งเรือง  โพธิ์สิงห์ทอง (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
หมวดรายจ่าย » รายจ่ายดำเนินงาน
ไม่เบิกค่าใช้จ่ายในการดำเนินงานโครงการ
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 0.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ปัญหาและอุปสรรค
1. อันตรายจากสัตว์ที่เข้ามารับบริการ เช่น โดนกัด ข่วน เป็นต้น
2. ความเสียหายของเครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ในการฝึกปฏิบัติการ
3. การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
แนวทางการแก้ปัญหาและอุปสรรค
1. สัตวแพทย์และเจ้าหน้าที่ควบคุมและดูแลการฝึกงานของนักเรียนโดยมิให้นักเรียนจับสัตว์เองโดยพลการ
2. สัตวแพทย์และเจ้าหน้าที่ควบคุมการใช้เครื่องมือการตรวจทางห้องปฏิบัติการและให้คำแนะนำแก่ผู้เข้าร่วมโครงการ
3. ผู้เข้าร่วมโครงการสวมหน้ากากเพื่อป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล