23132 : โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการความปลอดภัยทางชีวภาพ
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2568
น.ส.อภิญญา ชุ่มอินถา (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 18/2/2568 12:01:29
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปีของส่วนงาน (เบิกจ่ายจากงบประมาณเงินรายได้ของส่วนงาน หรืองบประมาณจากแหล่งอื่น)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
28/02/2568  ถึง  30/09/2568
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  25  คน
รายละเอียด  นักศึกษาชั้นปีที่ 2 และ/หรือ ชั้นปีที่ 3 ของมหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ จากสาขาวิชา ได้แก่ สาขาวิชาเทคโนโลยีการผลิตสัตว์ สาขาวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช สาขาวิชาเทคโนโลยีอุตสาหกรรมป่าไม้ สาขาการป่าไม้ และสาขาเกษตรป่าไม้ จำนวน 25 คน
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ หมวดรายจ่าย » รายจ่ายดำเนินงาน ไม่มีค่าใช้จ่าย 2568 0.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
อาจารย์ ดร. ถมรัตน์  ชัชวาลย์
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
รายชื่อที่ปรึกษา
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. รัฐพงศ์  ปกแก้ว
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
นโยบายด้านการพัฒนาเทคโนโลยี นวัตกรรม และองค์ความรู้
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2568 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 68 MJU 1. การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยเชิงรุก
เป้าประสงค์ 68 MJU 1.1 เป็นมหาวิทยาลัยที่มีการนำเทคโนโลยีและนวัตกรรมที่เป็นมิตรกับมนุษย์และสิ่งแวดล้อม มาใช้ในการเพิ่มศักยภาพการผลิตและผลิตภัณฑ์ทางการเกษตร เพื่อคุณภาพชีวิต เศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อมที่ดีสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน (Intelligent Well-being Agriculture : IWA)
ตัวชี้วัด 68 MJU 1.1.5 คะแนนการจัดอันดับ Green University Ranking (Green University)
กลยุทธ์ 68 MJU 1.1.5.5 การสนับสนุนหน่วยงานต่างๆภายในมหาวิทยาลัยสู่มาตรฐานสำนักงานสีเขียว (Green Office) และสนับสนุนการจัดกิจกรรม Green University ของทุกหน่วยงานในทุกๆด้าน
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2568] ประเด็นยุทธศาสตร์ 68-1.การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยเชิงรุก
เป้าประสงค์ 68-1.1 เป็นมหาวิทยาลัยที่มีการนำเทคโนโลยีและนวัตกรรมที่เป็นมิตรกับมนุษย์และสิ่งแวดล้อม มาใช้ในการเพิ่มศักยภาพการผลิตและผลิตภัณฑ์ทางการเกษตร เพื่อคุณภาพชีวิต เศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อมที่ดีสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน (Intelligent Well-being Agriculture : IWA)
ตัวชี้วัด 68-1.1.5 จัดอันดับ Green University Ranking (Green University)
กลยุทธ์ 68-1.1.5.4 การสนับสนุนหน่วยงานต่างๆภายในมหาวิทยาลัยสู่มาตรฐานสำนักงานสีเขียว (Green Office) และสนับสนุนการจัดกิจกรรม Green University ของหน่วยงานในทุกๆด้าน
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

ตามที่มหาวิทยาลัยแม่โจ้–แพร่ เฉลิมพระเกียรติ ได้มีการจัดการเรียนการสอน การวิจัยและบริการวิชาการที่เกี่ยวข้องกับการใช้เชื้อจุลินทรีย์ โดยการจัดการเรียนการสอนทางด้านปฏิบัติการนั้นในหลายรายวิชา รวมถึงการทำวิจัยของนักศึกษาและคณาจารย์จะต้องมีการใช้เชื้อจุลินทรีย์ในการทดลองต่าง ๆ ที่หลากหลายชนิด ดังนั้นเพื่อให้เกิดความปลอดภัยและความสะดวกต่อการใช้งาน ประกอบกับการใช้เชื้อจุลินทรีย์ที่ใช้ในห้องปฏิบัติการนั้นจะต้องได้รับการควบคุมและมีการจัดการอย่างถูกต้อง เพื่อป้องกันการแพร่กระจายของเชื้อออกสู่สภาพแวดล้อมภายนอก ที่ส่งผลทำให้สภาพแวดล้อมเกิดความเสียหายและทำให้ความปลอดภัยต่อสุขภาพของผู้ปฏิบัติงานด้านเชื้อจุลินทรีย์ และสิ่งแวดล้อม ผู้ที่ปฏิบัติงานและผู้ที่เกี่ยวข้องกับการดูแลควบคุมเชื้อจุลินทรีย์จำเป็นจะต้องได้รับการอบรมตามหลักการที่ถูกต้อง

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
1 เพื่อให้นักศึกษา คณาจารย์ บุคลากรที่ปฏิบัติงานเกี่ยวข้องกับจุลินทรีย์ มีความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการรักษาความปลอดภัยทางชีวภาพและการรักษาความปลอดภัยทางชีวภาพ ซึ่งสนับสนุนอัตลักษณ์ของมหาวิทยาลัยที่ว่า “การพัฒนานักศึกษาให้เป็นนักปฏิบัติ ที่ทันต่อการเปลี่ยนแปลงและเป็นผู้มีความเชี่ยวชาญในสาขาวิชา”
2 เพื่อให้นักศึกษาชั้นปีที่ 3 มีการเตรียมความพร้อมก่อนการศึกษาหัวข้อสนใจหรือการไปสหกิจศึกษา
3 เพื่อให้ทราบและเรียนรู้การใช้เชื้อจุลินทรีย์ในห้องปฏิบัติการได้อย่างถูกต้องและปลอดภัย
4 เพื่อให้นักศึกษาทราบถึงขั้นตอนการปฏิบัติในกรณีที่มีการหกรั่วไหลของชีววัตถุ (จุลินทรีย์)
5 เพื่อเป็นการเสริมสร้างอัตลักษณ์ของมหาวิทยาลัยแม่โจ้ที่มุ่งสู่การเป็นมหาวิทยาลัยสีเขียวและเป็นมหาวิทยาลัยที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ที่มีความปลอดภัยในเรื่องของการใช้และการจัดการสารเคมีและจุลินทรีย์ที่ใช้ในห้องปฏิบัติการได้อย่างถูกต้อง
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : การอบรมเชิงปฏิบัติการความปลอดภัยทางชีวภาพ
KPI 1 : ร้อยละความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 2 : จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
25 คน 25
KPI 3 : ร้อยละของโครงการที่แล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
100 ร้อยละ 100
KPI 4 : ร้อยละของผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการการรักษาความปลอดภัยทางชีวภาพ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
70 ร้อยละ 70
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : การอบรมเชิงปฏิบัติการความปลอดภัยทางชีวภาพ
ชื่อกิจกรรม :
การอบรมเชิงปฏิบัติการ ความปลอดภัยทางชีวภาพ

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 28/02/2568 - 30/09/2568
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์ ดร.ถมรัตน์  ชัชวาลย์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
หมวดรายจ่าย » รายจ่ายดำเนินงาน
ไม่มีค่าใช้จ่าย
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 0.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล