23131 : โครงการการส่งเสริมการศึกษานอกห้องเรียนของนักศึกษาตามแนวทางคุณลักษณะนักศึกษาศตวรรษที่ 21ภายใต้การดำเนินงานฟาร์มมหาวิทยาลัย
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2568
น.ส.อภิญญา ชุ่มอินถา (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 17/2/2568 15:24:27
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปีของส่วนงาน (เบิกจ่ายจากงบประมาณเงินรายได้ของส่วนงาน หรืองบประมาณจากแหล่งอื่น)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
28/02/2568  ถึง  30/09/2568
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  20  คน
รายละเอียด  นักศึกษา
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ หมวดรายจ่าย » รายจ่ายดำเนินงาน ไม่มีค่าใช้จ่าย 2568 0.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
นาย สมศักดิ์  กันถาด
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
รายชื่อที่ปรึกษา
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. รัฐพงศ์  ปกแก้ว
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
นโยบายด้านการพัฒนาเทคโนโลยี นวัตกรรม และองค์ความรู้
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2568 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 68 MJU 2. การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก
เป้าประสงค์ 68 MJU 2.1 ผลิตบัณฑิตและพัฒนานักศึกษาที่ก้าวทันต่อโลกสมัยใหม่และเป็นนักปฏิบัติที่เชี่ยวชาญ
ตัวชี้วัด 68 MJU 2.1.9 ร้อยละของนักศึกษาชั้นปีสุดท้ายที่ผ่านกระบวนการพัฒนาพัฒนาให้เป็นพลเมืองโลก ด้วยกระบวนการทักษะในศตวรรษที่ 21
กลยุทธ์ 68 MJU 2.1.9.4 ส่งเสริมกิจกรรมที่ชื่อมโยงการพัฒนาทักษะจำเป็นของนักศึกษาจากความต้องการจำเป็นและเสียงสะท้อนของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย Stakeholder requirement and feedback) เพื่อการจัดกิจกรรมพัฒนานักศึกษานอกห้องเรียน
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2568] ประเด็นยุทธศาสตร์ 68-2.การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก
เป้าประสงค์ 68-2.1 ผลิตบัณฑิตและพัฒนานักศึกษาที่ก้าวทันต่อโลกสมัยใหม่และเป็นนักปฏิบัติที่เชี่ยวชาญ
ตัวชี้วัด 68-2.1.9 ร้อยละของนักศึกษาที่ผ่านกระบวนการพัฒนาพัฒนาให้เป็นพลเมืองโลก ด้วยกระบวนการทักษะในศตวรรษที่ 21
กลยุทธ์ 68-2.1.9.4 ส่งเสริมกิจกรรมที่เชื่อมโยงกับการพัฒนาทักษะจำเป็นของนักศึกษาจากความต้องการและเสียงสะท้อนของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย Stakeholder requirement and feedback เพื่อการจัดกิจกรรมพัฒนานักศึกษานอกห้องเรียน
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

การศึกษานอกห้องเรียนมีบทบาทสำคัญอย่างมากในการพัฒนาทักษะและความรู้ของผู้เรียนในหลากหลายมิติ การเรียนรู้นอกห้องเรียนช่วยส่งเสริมการเรียนรู้จากประสบการณ์จริง ผู้เรียนสามารถสัมผัสและมีส่วนร่วมกับสถานการณ์ที่เกี่ยวข้องโดยตรง ซึ่งช่วยให้เกิดความเข้าใจอย่างลึกซึ้งและนำไปปรับใช้ได้ในชีวิตจริง นอกจากนี้ การเปลี่ยนบรรยากาศจากห้องเรียนไปสู่สภาพแวดล้อมใหม่ ๆ ยังช่วยกระตุ้นความสนใจและสร้างแรงบันดาลใจในการเรียนรู้อีกทั้ง การศึกษานอกห้องเรียนยังมีส่วนช่วยพัฒนาทักษะที่สำคัญ เช่น การแก้ปัญหา การทำงานเป็นทีม และการสื่อสาร ผู้เรียนจะได้ฝึกการตัดสินใจและเผชิญหน้ากับความท้าทายในสถานการณ์จริง ซึ่งเป็นการเตรียมพร้อมสู่โลกภายนอกอย่างมีประสิทธิภาพ นอกจากนี้ กิจกรรมนอกห้องเรียนยังช่วยส่งเสริมทักษะทางสังคม โดยผู้เรียนจะได้มีโอกาสพบปะผู้คนหลากหลาย รวมถึงเข้าใจและเคารพความแตกต่างทางวัฒนธรรมการศึกษานอกห้องเรียนยังเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้สัมผัสกับธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ซึ่งช่วยเสริมสร้างความตระหนักรู้เรื่องการอนุรักษ์ธรรมชาติ และพัฒนาความคิดสร้างสรรค์จากการเผชิญกับสภาพแวดล้อมที่แตกต่างจากเดิม นอกจากนี้ ยังมีส่วนช่วยลดความเครียดและส่งเสริมสุขภาพจิต เพราะการเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อมช่วยสร้างความผ่อนคลายและความกระตือรือร้นในการเรียนดังนั้น การศึกษานอกห้องเรียนจึงเป็นการเรียนรู้ที่ส่งเสริมพัฒนาการรอบด้าน ทั้งด้านสติปัญญา ทักษะชีวิต และความเข้าใจต่อสังคม ผู้เรียนจะสามารถนำสิ่งที่ได้เรียนรู้ไปปรับใช้ในชีวิตจริงได้อย่างมั่นใจและมีประสิทธิภาพ พร้อมทั้งเตรียมตัวให้พร้อมสำหรับความท้าทายในอนาคต โครงการ การส่งเสริมการศึกษานอกห้องเรียนของนักศึกษาตามแนวทางคุณลักษณะนักศึกษาศตวรรษที่ 21 ภายใต้การดำเนินงานฟาร์มมหาวิทยาลัย เพื่อส่งเสริมการศึกษาที่เน้นการเรียนรู้ไปพร้อมการปฏิบัติจริง และยังส่งเสริมในการการสร้างรายได้จากการประกอบการภายในฟาร์มมหาวิทยาลัย อันจะตอบสนองสอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์ เป็นศูนย์กลางการเรียนรู้การประยุกต์ใช้กับการเกษตรให้เหมาะสม ทันต่อการเปลี่ยนแปลง นำสู่การบูรณาการการบริการวิชาการในรูปแบบนันทนาการสัตว์เลี้ยง เป็นโครงการที่จะทำให้เกิดรายได้ต่อมหาวิทยาลัย ต่อไป

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
1. เพื่อเป็นการส่งเสริมการเรียนรู้และพัฒนาทักษะนอกเวลาเรียนของสำหรับนักศึกษา
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : การส่งเสริมการศึกษานอกห้องเรียนเพื่อยกระดับการเป็นผู้ประกอบการของเยาวชน ตามแนวตามแนวทางพัฒนาคุณลักษณะนักศึกษาศตวรรษที่ 21 ภายใต้การดำเนินงานฟาร์มมหาวิทยาลัย
KPI 1 : ร้อยละความสำเร็จตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 2 : จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
20 คน 20
KPI 3 : ร้อยละของโครงการที่แล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 4 : ร้อยละความรู้ความความสามารถที่เพิ่มมากขึ้น
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : การส่งเสริมการศึกษานอกห้องเรียนเพื่อยกระดับการเป็นผู้ประกอบการของเยาวชน ตามแนวตามแนวทางพัฒนาคุณลักษณะนักศึกษาศตวรรษที่ 21 ภายใต้การดำเนินงานฟาร์มมหาวิทยาลัย
ชื่อกิจกรรม :
การส่งเสริมการศึกษานอกห้องเรียน

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 28/02/2568 - 30/09/2568
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
นายสมศักดิ์  กันถาด (ผู้รับผิดชอบหลัก)
นายวงศ์วริศ  วงศ์นาค (ผู้รับผิดชอบรอง)
นายถวิล  ยานะวิน (ผู้รับผิดชอบรอง)
นายภาสกร  อัมพรสวัสดิ์ (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
หมวดรายจ่าย » รายจ่ายดำเนินงาน
ไม่มีค่าใช้จ่าย
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 0.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล