23128 : โครงการ ถ่ายทอดองค์ความรู้งานวิจัย "การพัฒนาและยกระดับอัตลักษณ์ผลิตภัณฑ์ชุมชนแพร่ จากสารสกัดสมุนไพรห้อม" แก่ผู้ประกอบการ
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2568
น.ส.อภิญญา ชุ่มอินถา (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 17/2/2568 11:08:56
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปีของส่วนงาน (เบิกจ่ายจากงบประมาณเงินรายได้ของส่วนงาน หรืองบประมาณจากแหล่งอื่น)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
24/02/2568  ถึง  30/09/2568
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  5  คน
รายละเอียด  เกษตรกรหรือวิสาหกิจชุมชนเพาะปลูกห้อม หรือประชาชนผู้สนใจ จังหวัดแพร่ จำนวน 5 คน
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ หมวดรายจ่าย » รายจ่ายดำเนินงาน ไม่มีค่าใช้จ่าย 2568 0.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ฉันทนา  ซูแสวงทรัพย์
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
รายชื่อที่ปรึกษา
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. รัฐพงศ์  ปกแก้ว
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
นโยบายด้านการพัฒนาเทคโนโลยี นวัตกรรม และองค์ความรู้
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2568 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 68 MJU 1. การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยเชิงรุก
เป้าประสงค์ 68 MJU 1.1 เป็นมหาวิทยาลัยที่มีการนำเทคโนโลยีและนวัตกรรมที่เป็นมิตรกับมนุษย์และสิ่งแวดล้อม มาใช้ในการเพิ่มศักยภาพการผลิตและผลิตภัณฑ์ทางการเกษตร เพื่อคุณภาพชีวิต เศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อมที่ดีสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน (Intelligent Well-being Agriculture : IWA)
ตัวชี้วัด 68 MJU 1.1.1 ผลการจัดอันดับ World University Ranking (WUR)
กลยุทธ์ 68 MJU 1.1.1.1 ผลักดันการดำเนินงานมหาวิทยาลัยทุกมิติ เพื่อเข้าสู่การจัดอันดับ World University Ranking (WUR)
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2568] ประเด็นยุทธศาสตร์ 68-2.การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก
เป้าประสงค์ 68-2.2 สร้างผลงานวิจัย เทคโนโลยีและนวัตกรรม ที่มีการบูรณาการศาสตร์ โดยใช้เกษตรเป็นรากฐาน และได้รับการยอมรับในระดับชาติและนานาชาติ
ตัวชี้วัด 68-2.2.3 จำนวนครั้งในการนำผลงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ที่นาไปใช้ประโยชน์
กลยุทธ์ 68-2.2.3.1 ส่งเสริมและสนับสนุนการวิจัยเชิงบูรณาการ และผลักดันผลงานวิจัยสู่การใช้ประโยชน์ในทุกมิติ
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

มหาวิทยาลัยแม่โจ้มีแผนแม่บทโครงการบริการวิชาการมหาวิทยาลัยแม่โจ้ ระยะ 5 ปี (พ.ศ. 2565-2569) จำนวน 5 ยุทธศาสตร์ คือ ยุทธศาสตร์ที่ 1 การพัฒนายกระดับขีดความรู้ ความสามารถด้านการเกษตร อาหาร สุขภาพ ให้แก่ท้องถิ่น ชุมชน สังคม สู่ความยั่งยืน ยุทธศาสตร์ที่ 2 การบริหารจัดการองค์ความรู้ ฐานเรียนรู้ และสินทรัพย์ของมหาวิทยาลัยให้เกิดรายได้ที่เพิ่มสูงขึ้น ยุทธศาสตร์ที่ 3 การบูรณาการองค์ความรู้ ผลการวิจัย ที่มีอยู่ในมหาวิทยาลัยไปต่อยอดสู่การสร้างนวัตกรรม เทคโนโลยี และการสร้างผู้ประกอบการ เพื่อตอบสนองนโยบายของประเทศ ยุทธศาสตร์ที่ 4 การเผยแพร่องค์ความรู้ นวัตกรรม และเทคโนโลยีไปสู่ความเป็นนานาชาติ และ ยุทธศาสตร์ที่ 5 การพัฒนาประสิทธิภาพการบริหารจัดการด้านการบริการวิชาการ มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ ในฐานะที่เป็นหน่วยงานภายในมหาวิทยาลัยแม่โจ้ ได้ตระหนักถึงบทบาทสำคัญในการพัฒนาขีดความรู้และความสามารถในด้านการเกษตร อาหาร และสุขภาพ เพื่อสนับสนุนการพัฒนาท้องถิ่น ชุมชน และสังคมอย่างยั่งยืน จึงสนับสนุนให้มีโครงการสนับสนุนประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 ของมหาวิทยาลัย มุ่งเน้นการนำองค์ความรู้ ผลการวิจัยที่มีอยู่ในมหาวิทยาลัยไปต่อยอดในการสร้างผู้ประกอบการจากงานวิจัย ดังนั้น เพื่อตอบสนองยุทธศาสตร์ที่ 3 ของมหาวิทยาลัยแม่โจ้ โครงการถ่ายทอดองค์ความรู้งานวิจัย "การพัฒนาและยกระดับอัตลักษณ์ผลิตภัณฑ์ชุมชนแพร่ จากสารสกัดสมุนไพรห้อม" แก่ผู้ประกอบการ จึงถูกจัดทำขึ้นเพื่อถ่ายทอดองค์ความรู้ที่ได้จากงานวิจัย โครงการ "การพัฒนาและยกระดับอัตลักษณ์ผลิตภัณฑ์ชุมชนแพร่ จากสารสกัดสมุนไพรห้อม" ซึ่งได้รับการสนับสนุนงบประมาณจากงานวิจัยมูลฐาน ประจำปีงบประมาณ 2566 แก่กลุ่มเกษตรกรหรือวิสาหกิจชุมชนผู้ปลูกต้นห้อม พื้นที่จังหวัดแพร่ เพื่อเสริมสร้างศักยภาพในการแปรรูปและการพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่จากพืชห้อม อันเป็นการเพิ่มโอกาสทางการตลาดและความสามารถในการแข่งขันในอุตสาหกรรมสุขภาพและความงาม โดยมีเป้าหมายเพื่อยกระดับเศรษฐกิจท้องถิ่น และสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับผลผลิตทางการเกษตรในพื้นที่อย่างยั่งยืน

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
1. ถ่ายทอดองค์ความรู้จากงานวิจัย "การพัฒนาและยกระดับอัตลักษณ์ผลิตภัณฑ์ชุมชนแพร่ จากสารสกัดสมุนไพรห้อม" กลุ่มเกษตรกรหรือวิสาหกิจชุมชนผู้ปลูกต้นห้อม พื้นที่จังหวัดแพร่
2. สนับสนุนการดำเนินงานตามแผนยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยแม่โจ้ โดยถ่ายทอดองค์ความรู้จากงานวิจัยเพื่อตอบโจทย์การพัฒนาที่ยั่งยืน และส่งเสริมความร่วมมือกับชุมชนเพื่อพัฒนาศักยภาพและเพิ่มขีดความสามารถของชุมชน
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : ทักษะการพัฒนาผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางบำรุงผิวที่มีสารสกัดจากห้อมเป็นองค์ประกอบ
KPI 1 : จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
5 คน 5
KPI 2 : ร้อยละของความพึงพอใจของผู้รับบริการในกระบวนการให้บริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 3 : จำนวนองค์ความรู้ที่ได้รับถ่ายทอด
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 องค์ความรู้ 1
KPI 4 : ร้อยละของโครงการที่แล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
100 ร้อยละ 100
KPI 5 : จำนวนครั้งในการนำผลงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ที่นำไปใช้ประโยชน์
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 ครั้ง 1
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : ทักษะการพัฒนาผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางบำรุงผิวที่มีสารสกัดจากห้อมเป็นองค์ประกอบ
ชื่อกิจกรรม :
อบรมเชิงปฏิบัติการเตรียมสารสกัดจากห้อมและการแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางบำรุงผิว

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 24/02/2568 - 30/09/2568
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ฉันทนา  ซูแสวงทรัพย์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ขวัญจรัส  เชิงปัญญา (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ ดร.จิรพงศ์  ศรศักดานุภาพ (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
หมวดรายจ่าย » รายจ่ายดำเนินงาน
ไม่มีค่าใช้จ่าย
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 0.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ปัญหาและอุปสรรค
ไม่ได้ดำเนินโครงการ
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
แนวทางการแก้ปัญหาและอุปสรรค
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติงานให้ชัดเจน
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
การบูรณาการองค์ความรู้จากงานวิจัยกับการเรียนการสอนหัวข้อ 1. หลักการและเทคโนโลยีการแปรรูปผลิตภัณฑ์สมุนไพร ในรายวิชา รายวิชา 10121402 เทคโนโลยีการแปรรูปผลิตภัณฑ์สมุนไพร 2. หลักการพื้นฐานในการสกัดและการแยกสกัดสารจากสมุนไพร การวิเคราะห์ในเชิงปริมาณและคุณภาพด้วยเทคนิคโครมาโทกราฟี ในรายวิชา รายวิชา 10121302 พืชสมุนไพรวิเคราะห์
ช่วงเวลา : 01/10/2567 - 30/09/2568
ตัวชี้วัด
การบูรณาการ
เอกสารประกอบ
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล