23124 : โครงการพัฒนาสวนพฤกษศาสตร์การป่าไม้
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2568
น.ส.อภิญญา ชุ่มอินถา (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 18/2/2568 12:06:59
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปีของส่วนงาน (เบิกจ่ายจากงบประมาณเงินรายได้ของส่วนงาน หรืองบประมาณจากแหล่งอื่น)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
24/02/2568  ถึง  30/09/2568
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  100  คน
รายละเอียด  นักเรียน นักศึกษา บุคลากร และประชาชน
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ หมวดรายจ่าย » รายจ่ายดำเนินงาน ไม่มีค่าใช้จ่าย 2568 0.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. มณฑล  นอแสงศรี
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
รายชื่อที่ปรึกษา
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. รัฐพงศ์  ปกแก้ว
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
นโยบายด้านการพัฒนาเทคโนโลยี นวัตกรรม และองค์ความรู้
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2568 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 68 MJU 1. การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยเชิงรุก
เป้าประสงค์ 68 MJU 1.1 เป็นมหาวิทยาลัยที่มีการนำเทคโนโลยีและนวัตกรรมที่เป็นมิตรกับมนุษย์และสิ่งแวดล้อม มาใช้ในการเพิ่มศักยภาพการผลิตและผลิตภัณฑ์ทางการเกษตร เพื่อคุณภาพชีวิต เศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อมที่ดีสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน (Intelligent Well-being Agriculture : IWA)
ตัวชี้วัด 68 MJU 1.1.3 ผลการจัดอันดับ QS ด้านเกษตรและป่าไม้
กลยุทธ์ 68 MJU 1.1.3.1 ผลักดัน ส่งเสริม และสนับสนุนการดำเนินงานของมหาวิทยาลัยด้านการเกษตรและป่าไม้เพื่อให้ได้รับการจัดอันดับทั้งในระดับชาติและนานาชาติ
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2568] ประเด็นยุทธศาสตร์ 68-1.การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยเชิงรุก
เป้าประสงค์ 68-1.1 เป็นมหาวิทยาลัยที่มีการนำเทคโนโลยีและนวัตกรรมที่เป็นมิตรกับมนุษย์และสิ่งแวดล้อม มาใช้ในการเพิ่มศักยภาพการผลิตและผลิตภัณฑ์ทางการเกษตร เพื่อคุณภาพชีวิต เศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อมที่ดีสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน (Intelligent Well-being Agriculture : IWA)
ตัวชี้วัด 68-1.1.3 ผลการจัดอันดับ QS ด้านเกษตรและป่าไม้
กลยุทธ์ 68-1.1.3.1 ผลักดัน ส่งเสริม และสนับสนุนการดำเนินงานของมหาวิทยาลัยด้านการเกษตรและป่าไม้เพื่อให้ได้รับการจัดอันดับทั้งในระดับชาติและนานาชาติ
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

ตามที่มหาวิทยาลัยแม่โจ้–แพร่ เฉลิมพระเกียรติ ได้มีการจัดการเรียนการสอนในหลักสูตรการป่าไม้และหลายสาขาวิชาควบคู่กับวิจัยและการบริการวิชาการของคณาจารย์และบุคคลากร การจัดการพื้นที่ป่าเต็งรังเพื่อใช้เป็นพื้นที่อนุรักษ์สำหรับใช้ในการเรียนการสอนในรายวิชาที่เกี่ยวข้อง และใช้ในการศึกษาความหลากหลายทางชีวภาพ จึงมีความจำเป็นที่ควรทำควบคู่กับการพัฒนาสวนพฤกษศาสตร์ของการป่าไม้ เพื่อใช้เป็นแหล่งรวบรวมพรรณไม้หลายๆ ชนิด เช่น สมุนไพร เครื่องเทศ ไม้ดอกไม้ประดับ ไม้ทนแล้ง ไม้ให้สีธรรมชาติ ฯ โครงการสวนพฤกษศาสตร์การป่าไม้ จะเป็นแหล่งฐานเรียนรู้ที่สำคัญที่ใช้ในการเรียนการสอน การศึกษาและการใช้ประโยชน์จากคนในชุมชน และการบริการวิชาการความรู้ในเรื่องพฤกษศาสตร์แก่นักเรียนและเป็นต้นแบบของการจัดทำสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนในชุมชนใกล้เคียงที่เข้าเยี่ยมชมมหาวิทยาลัย ตลอดจนการศึกษาวิจัยของคณาจารย์ที่เกี่ยวข้องกับลักษณะทางพฤกษศาสตร์ พันธุกรรม คุณสมบัติทางด้านเคมีที่สำคัญ และรองรับหลักสูตรใหม่ทางด้านชีววิทยาและเคมีประยุกต์ นอกจากนี้ยังเป็นการรวบรวมและอนุรักษ์พรรณไม้นานาชนิด และเป็นแหล่งรวบรวมองค์ความรู้ทางด้านพฤกษศาสตร์ เพื่อใช้เป็นศูนย์กลางการเรียนรู้ที่สำคัญของบุคคลากร นักศึกษา นักเรียน และผู้สนใจทั่วไป เพื่อเป็นการเพิ่มแหล่งฐานเรียนรู้ที่สำคัญทางด้านพฤกษศาสตร์ของทางมหาวิทยาลัย สำหรับใช้ในการเรียนการสอนของนักศึกษาทางด้านสายวิทยาศาสตร์และการป่าไม้ การศึกษาวิจัย การบริการวิชาการแก่พื้นที่ชุมชนใกล้เคียง สาขาการป่าไม้จึงได้เล็งเห็นว่าโครงการพัฒนาสวนพฤกษศาสตร์การป่าไม้มีความสำคัญและเป็นประโยชน์อย่างยิ่งต่อนักศึกษา อาจารย์ บุคลากร และผู้สนใจทั่วไป ในการใช้เป็นแหล่งรวบรวมพันธุ์พืชที่สำคัญต่อวิถีชีวิตของคนในชุมชน เป็นแหล่งเรียนรู้ที่สำคัญของ และรองรับหลักสูตรใหม่ของทางมหาวิทยาลัยต่อไป

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
1 เพื่อส่งเสริมกิจกรรมพัฒนานักศึกษานอกห้องเรียนที่ตอบโจทย์การเรียนรู้ระดับหลักสูตรและปรัชญาการศึกษาของมหาวิทยาลัย
2 เพื่อพัฒนาทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 สำหรับนักศึกษามหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ
3 เพื่อสนับสนุนการดำเนินงานของมหาวิทยาลัยด้านการเกษตรและป่าไม้เพื่อให้ได้รับการจัดอันดับทั้งในระดับชาติและนานาชาติ
4 เพื่อสร้างแหล่งเรียนรู้รองรับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศโลกและการรวบรวมพืชที่มีศักยภาพเป็นพืชเศรษฐกิจอย่างยั่งยืน
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : พัฒนาแหล่งเรียนรู้ความรู้เรื่องพืช นักเรียน นักศึกษาและประชาชน
KPI 1 : ร้อยละความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 2 : พื้นที่ได้รับการพัฒนา
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
5 ไร่ 5
KPI 3 : ร้อยละของโครงการที่แล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 4 : จำนวนผู้เข้าเยี่ยมชม
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
100 คน 100
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : พัฒนาแหล่งเรียนรู้ความรู้เรื่องพืช นักเรียน นักศึกษาและประชาชน
ชื่อกิจกรรม :
การพัฒนาแหล่งเรียนรู้

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 24/02/2568 - 30/09/2568
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.มณฑล  นอแสงศรี (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
หมวดรายจ่าย » รายจ่ายดำเนินงาน
ไม่มีค่าใช้จ่าย
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 0.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
รายวิชา 11200310 พฤกษศาสตร์
ช่วงเวลา : 01/10/2567 - 30/09/2568
ตัวชี้วัด
การบูรณาการ
เอกสารประกอบ
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
การสำรวจรวบรวมพืชวงศ์กลอย
ช่วงเวลา : 01/10/2567 - 30/09/2568
ตัวชี้วัด
การบูรณาการ
เอกสารประกอบ
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล